fbpx
วิกิพีเดีย

ไดอิเล็กตริก

วัสดุไดอิเล็กตริก (อังกฤษ: dielectric material) (หรือสั้นๆว่าไดอิเล็กตริก) เป็นฉนวนไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่สามารถทำให้มีขั้วไฟฟ้าได้โดยใช้สนามไฟฟ้า เมื่อไดอิเล็กตริกหนึ่งถูกวางอยู่ในสนามไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าจะไม่ไหลผ่านตัววัสดุเหมือนอย่างที่ผ่านตัวนำ เพียงแต่ขยับเพียงเล็กน้อยเท่านั้นจากตำแหน่งสมดุลเฉลี่ยเดิมก่อให้เกิดความเป็นขั้วไดอิเล็กตริก (อังกฤษ: dielectric polarization). ในการนี้ประจุบวกจะถูกผลักไปในทิศทางของสนามและประจุลบจะขยับไปในทิศทางตรงกันข้าม ปรากฏการณ์นี้จะสร้างสนามไฟฟ้าภายในที่ช่วยลดสนามโดยรวมภายในตัวไดอิเล็กตริกมันเอง ถ้าไดอิเล็กตริกหนึ่งประกอบด้วยโมเลกุลที่มีแรงยึดเหนึ่ยวอยู่ด้วยกันที่อ่อน โมเลกุลเหล่านั้นไม่เพียงแต่จะกลายเป็นขั้วเท่านั้น แต่จะยังเรียงตัวเพื่อให้แกนสมมาตรของมันอยู่ในแนวเดียวกันกับสนาม

วัสดุไดอิเล็กตริกที่เป็นขั้ว

การศึกษาด้านคุณสมบัติของไดอิเล็กตริกเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและการแพร่กระจายของพลังงานไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กในวัสดุ ไดอิเล็กตริกมีความสำคัญสำหรับการอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆในสาขาอิเล็กทรอนิกส์, แสง, และฟิสิกส์ของโซลิดเสตท

คำศัพท์

ในขณะที่คำว่าฉนวนหมายถึงการนำไฟฟ้าที่ต่ำ ไดอิเล็กตริกมักจะหมายถึงวัสดุที่มีความสามารถในการเป็นขั้วที่สูง ความสามารถนี้แสดงออกมาจากตัวเลขหนึ่งที่เรียกว่าแรงต้านสนามไฟฟ้าสัมพันธ์ (ที่รู้จักกันในตำราเก่าว่าเป็นค่าไดอิเล็กตริกคงที่) คำว่าฉนวนถูกใช้กันทั่วไปเพื่อจะบ่งบอกถึงการขัดขวางการไหลของไฟฟ้าในขณะที่คำว่าไดอิเล็กทริกถูกใช้เพื่อบ่งชี้ถึงความจุในการจัดเก็บพลังงานของวัสดุ (โดยวิธีของการเป็นขั้ว) ตัวอย่างทั่วไปของไดอิเล็กตริกได้แก่วัสดุฉนวนไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างแผ่นโลหะของตัวเก็บประจุ การเป็นขั้วของไดอิเล็กทริกโดยสนามไฟฟ้าที่จ่ายให้เพิ่มประจุที่พื้นผิวของตัวเก็บประจุสำหรับความแรงของสนามไฟฟ้าที่กำหนด

คำว่า "ไดอิเล็กตริก" ถูกตั้งให้เป็นเกียรติโดยวิลเลียม Whewell (จากคำว่า "ได-อิเล็กตริก") ในการตอบสนองต่อการร้องขอจากไมเคิลฟาราเดย์ ไดอิเล็กตริกที่สมบูรณ์แบบเป็นวัสดุหนึ่งที่มีความสามารถในการนำไฟฟ้าเป็นศูนย์ (อ่านเพิ่มเติม ตัวนำสมบูรณ์แบบ) ดังนั้นมันจึงแสดงเพียงกระแสแทนที่ (อังกฤษ: displacement current) เพราะฉะนั้น มันจึงเก็บและส่งกลับพลังงานไฟฟ้าเหมือนกับว่ามันเป็นเสมือนตัวเก็บประจุตัวหนึ่ง

ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า

บทความหลัก: แรงต้านสนามไฟฟ้า

ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า (อังกฤษ: electric susceptibility) χe ของวัสดุไดอิเล็กตริกเป็นตัวชี้วัดว่ามันง่ายแค่ไหนที่มันจะเป็นขั้วในการตอบสนองต่อสนามไฟฟ้าหนึ่ง นี้จึงเป็นตัวกำหนดค่าแรงต้านสนามไฟฟ้าของวัสดุและสร้างอิทธิพลต่อปรากฏการณ์อื่น ๆ อีกมากมายในตัวกลางนี้น จากความจุของตัวเก็บประจุจนถึงความเร็วของแสง

มันถูกกำหนดให้เป็นค่าคงที่ของสัดส่วน (ซึ่งอาจเป็นเทนเซอร์ตัวหนึ่ง) ที่เกี่ยวข้องกับสนามไฟฟ้า E ต่อความหนาแน่นของการเป็นขั้วของไดอิเล็กตริกที่ถูกเหนี่ยวนำ P ดังเช่น

 

{\ mathbf p} = \ varepsilon_0 \ chi_e {\ mathbf E}

เมื่อ ε0 เป็นแรงต้านสนามไฟฟ้าในพื้นที่ว่าง

ความอ่อนไหวของตัวกลางหนึ่งจะเกี่ยวข้องกับแรงต้านสนามไฟฟ้าสัมพันธ์ εr ของมันโดย

 

ดังนั้นในกรณีของสูญญากาศ

 

ค่า electric displacement D จะเกี่ยวข้องกับความหนาแน่นของความเป็นขั้ว P โดย

 

การเป็นขั้วของไดอิเล็กตริก

แบบจำลองอะตอมพื้นฐาน

 
สนามไฟฟ้ามีปฏิสัมพันธ์กับอะตอมภายใต้แบบจำลองไดอิเล็กตริกแบบคลาสสิก

ในวิธีการแบบคลาสสิกกับแบบจำลองไดอิเล็กตริก วัสดุจะถูกสร้างขึ้นจากอะตอม แต่ละอะตอมประกอบด้วยเมฆของประจุลบ (อิเล็กตรอน) ที่ยึดเหนี่ยวกับและอยู่รอบประจุบวกที่ศูนย์กลางของมัน ในการปรากฏตัวของสนามไฟฟ้า เมฆประจุจะบิดเบี้ยวตามที่แสดงในด้านบนขวาของรูป

ภาพนี้สามารถลดลงไปเป็นไดโพลง่ายๆโดยใช้หลักการของการซ้อนตำแหน่ง (อังกฤษ: superposition principle) ไดโพลจะมีลักษณะเฉพาะตามไดโพลโมเมนท์ของมันซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่แสดงในรูปเป็นลูกศรสีฟ้าที่มีป้ายกำกับ M มันเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้าและไดโพลโมเมนท์ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมของไดอิเล็กตริก (โปรดทราบว่าไดโพลโมเมนท์จะชี้ไปในทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้าในรูป แต่ไม่ได้เป็นอย่างนั้นเสมอไปและเป็นการวาดให้ง่ายที่สำคัญ แต่เป็นจริงสำหรับวัสดุหลายชนิด.)

เมื่อสนามไฟฟ้าถูกถอดออกไป อะตอมจะกลับคืนสู่สภาพเดิม เวลาที่จะต้องทำเช่นนั้นถูกเรียกว่าเวลาผ่อนคลาย ซึ่งเป็นการสลายแบบเอกซ์โปเนนเชียล

นี่คือสาระสำคัญของแบบจำลองในสาขาวิชาฟิสิกส์ พฤติกรรมของไดอิเล็กตริกในขณะนี้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ สถานการณ์ยิ่งซับซ้อนมากขึ้นเท่าไร แบบจำลองยิ่งสมบูรณ์ในการอธิบายพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องมากขึ้นเท่านั้น คำถามที่สำคัญคือ

  • สนามไฟฟ้าคงที่หรือขึ้นอยู่กับเวลา ที่อัตราเท่าไร
  • การตอบสนองขึ้นอยู่กับทิศทางของสนามที่จ่ายให้ (isotropy ของวัสดุ) หรือไม่?
  • การตอบสนองเหมือนกันทุกที่ (ความสม่ำเสมอของวัสดุ) หรือไม่
  • ขอบเขตหรือการเชื่อมต่อใด ๆ จะต้องนำมาพิจารณาหรือไม่
  • การตอบสนองเป็นแบบเชิงเส้นเมื่อเทียบกับสนามหรือเป็นแบบไม่เชิงเส้น

ความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้า E และไดโพลโมเมนท์ M ก่อให้เกิดพฤติกรรมของไดอิเล็กตริกซึ่งสำหรับวัสดุที่กำหนดสามารถกำหนดคุณลักษณะเฉพาะโดยฟังก์ชัน F ตามสมการ:

 .

เมื่อทั้งประเภทของสนามไฟฟ้าและชนิดของวัสดุที่ได้รับการกำหนดเรียบร้อยแล้ว จากนั้นเราต้องเลือกฟังก์ชัน F ที่ง่ายที่สุดที่จะสามารถคาดการณ์ได้อย่างถูกต้องถึงปรากฏการณ์ที่อยู่ในความสนใจ ตัวอย่างของปรากฏการณ์ที่สามารถสร้างแบบจำลองดังกล่าวได้แก่:

  • ดรรชนีหักเห
  • การกระจายความเร็วกลุ่ม (อังกฤษ: Group velocity dispersion)
  • Birefringence
  • การโฟกัสด้วยตนเอง
  • การผลิตฮาร์มอนิค

การเป็นขั้วแบบไดโพล

  1. จากบทความใน Encyclopædia Britannica: "วัสดุที่เป็นฉนวนไดอิเล็กตริกหรือตัวนำกระแสไฟฟ้าที่แย่มากๆ เมื่อไดอิเล็กตริกถูกวางอยู่ในสนามไฟฟ้า ในทางปฏิบัติจะไม่มีกระแสไหลในตัวมัน เพราะว่ามันไม่เหมือนโลหะ มันไม่มีอิเล็กตรอนที่เกาะเกี่ยวกันอย่างหลวมๆหรืออิเล็กตรอนอิสระที่สามารถขยับไปในตัววัสดุนั้น" "Dielectrics (physics)". Britannica. 2009. p. 1. Retrieved 2009-08-12.
  2. จากบทความใน Encyclopædia Britannica: "วัสดุที่เป็นฉนวนไดอิเล็กตริกหรือตัวนำกระแสไฟฟ้าที่แย่มากๆ เมื่อไดอิเล็กตริกถูกวางอยู่ในสนามไฟฟ้า ในทางปฏิบัติจะไม่มีกระแสไหลในตัวมัน เพราะว่ามันไม่เหมือนโลหะ มันไม่มีอิเล็กตรอนที่เกาะเกี่ยวกันอย่างหลวมๆหรืออิเล็กตรอนอิสระที่สามารถขยับไปในตัววัสดุนั้น" "Dielectrics (physics)". Britannica. 2009. p. 1. Retrieved 2009-08-12.
  3. Arthur R. von Hippel, ในงานสัมนาของเขาเรื่อง วัสดุไดอิเล็กตริกและการประยุกต์ใช้ ระบุว่า: "ไดอิเล็กตริก... ไม่ใช้ระดับชั้นแคบๆที่เรียกว่าฉนวน แต่เป็นการขยายอย่างกว้างขวางของวัสดุที่ไม่ใช่โลหะที่มีการพิจารณาจากจุดยืนของการปฏิสัมพันธ์ของมันกับสนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็กและสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ดังนั้นเราจึงเกี่ยวข้องกับก็ซเช่นเดียวกับของแข็งและของเหลว และกับการจัดเก็บพลังงานไฟฟ้าและแม่เหล็กอีกทั้งการแพร่กระจายของมัน" (Technology Press of MIT and John Wiley, NY, 1954).
  4. จากบทความใน Encyclopædia Britannica: "วัสดุที่เป็นฉนวนไดอิเล็กตริกหรือตัวนำกระแสไฟฟ้าที่แย่มากๆ เมื่อไดอิเล็กตริกถูกวางอยู่ในสนามไฟฟ้า ในทางปฏิบัติจะไม่มีกระแสไหลในตัวมัน เพราะว่ามันไม่เหมือนโลหะ มันไม่มีอิเล็กตรอนที่เกาะเกี่ยวกันอย่างหลวมๆหรืออิเล็กตรอนอิสระที่สามารถขยับไปในตัววัสดุนั้น" "Dielectrics (physics)". Britannica. 2009. p. 1. Retrieved 2009-08-12.
  5. J. Daintith (1994). Biographical Encyclopedia of Scientists. CRC Press. p. 943. ISBN 0-7503-0287-9.
  6. James, Frank A.J.L., editor. The Correspondence of Michael Faraday, Volume 3, 1841–1848, "Letter 1798, William Whewell to Faraday, p. 442.". The Institution of Electrical Engineers, London, United Kingdom, 1996. ISBN 0-86341-250-5
  7. Microwave Engineering - R. S. Rao (Prof.). Retrieved 2013-11-08.

ไดอ, เล, กตร, สด, งกฤษ, dielectric, material, หร, อส, นๆว, เป, นฉนวนไฟฟ, าชน, ดหน, งท, สามารถทำให, วไฟฟ, าได, โดยใช, สนามไฟฟ, เม, อหน, งถ, กวางอย, ในสนามไฟฟ, ประจ, ไฟฟ, าจะไม, ไหลผ, านต, วว, สด, เหม, อนอย, างท, านต, วนำ, เพ, ยงแต, ขย, บเพ, ยงเล, กน, อยเท, าน, . wsduidxielktrik xngkvs dielectric material hruxsnwaidxielktrik epnchnwniffachnidhnungthisamarththaihmikhwiffaidodyichsnamiffa emuxidxielktrikhnungthukwangxyuinsnamiffa pracuiffacaimihlphantwwsduehmuxnxyangthiphantwna ephiyngaetkhybephiyngelknxyethanncaktaaehnngsmdulechliyedimkxihekidkhwamepnkhwidxielktrik xngkvs dielectric polarization inkarnipracubwkcathukphlkipinthisthangkhxngsnamaelapraculbcakhybipinthisthangtrngknkham praktkarnnicasrangsnamiffaphayinthichwyldsnamodyrwmphayintwidxielktrikmnexng 1 thaidxielktrikhnungprakxbdwyomelkulthimiaerngyudehnuywxyudwyknthixxn omelkulehlannimephiyngaetcaklayepnkhwethann aetcayngeriyngtwephuxihaeknsmmatrkhxngmnxyuinaenwediywknkbsnam 2 wsduidxielktrikthiepnkhw karsuksadankhunsmbtikhxngidxielktrikekiywkhxngkbkarcdekbaelakaraephrkracaykhxngphlngnganiffaaelasnamaemehlkinwsdu 3 idxielktrikmikhwamsakhysahrbkarxthibaypraktkarntanginsakhaxielkthrxniks aesng aelafisikskhxngoslidestth enuxha 1 khasphth 2 khwamxxnihwthangiffa 3 karepnkhwkhxngidxielktrik 3 1 aebbcalxngxatxmphunthan 3 2 karepnkhwaebbidophlkhasphth aekikhinkhnathikhawachnwnhmaythungkarnaiffathita idxielktrikmkcahmaythungwsduthimikhwamsamarthinkarepnkhwthisung khwamsamarthniaesdngxxkmacaktwelkhhnungthieriykwaaerngtansnamiffasmphnth thiruckknintaraekawaepnkhaidxielktrikkhngthi khawachnwnthukichknthwipephuxcabngbxkthungkarkhdkhwangkarihlkhxngiffainkhnathikhawaidxielkthrikthukichephuxbngchithungkhwamcuinkarcdekbphlngngankhxngwsdu odywithikhxngkarepnkhw twxyangthwipkhxngidxielktrikidaekwsduchnwniffathixyurahwangaephnolhakhxngtwekbpracu karepnkhwkhxngidxielkthrikodysnamiffathicayihephimpracuthiphunphiwkhxngtwekbpracusahrbkhwamaerngkhxngsnamiffathikahnd 4 khawa idxielktrik thuktngihepnekiyrtiodywileliym Whewell cakkhawa id xielktrik inkartxbsnxngtxkarrxngkhxcakimekhilfaraedy 5 6 idxielktrikthismburnaebbepnwsduhnungthimikhwamsamarthinkarnaiffaepnsuny xanephimetim twnasmburnaebb 7 dngnnmncungaesdngephiyngkraaesaethnthi xngkvs displacement current ephraachann mncungekbaelasngklbphlngnganiffaehmuxnkbwamnepnesmuxntwekbpracutwhnungkhwamxxnihwthangiffa aekikhbthkhwamhlk aerngtansnamiffakhwamxxnihwthangiffa xngkvs electric susceptibility xe khxngwsduidxielktrikepntwchiwdwamnngayaekhihnthimncaepnkhwinkartxbsnxngtxsnamiffahnung nicungepntwkahndkhaaerngtansnamiffakhxngwsduaelasrangxiththiphltxpraktkarnxun xikmakmayintwklangnin cakkhwamcukhxngtwekbpracucnthungkhwamerwkhxngaesngmnthukkahndihepnkhakhngthikhxngsdswn sungxacepnethnesxrtwhnung thiekiywkhxngkbsnamiffa E txkhwamhnaaennkhxngkarepnkhwkhxngidxielktrikthithukehniywna P dngechn P e 0 x e E displaystyle mathbf P varepsilon 0 chi e mathbf E mathbf p varepsilon 0 chi e mathbf E emux e0 epnaerngtansnamiffainphunthiwangkhwamxxnihwkhxngtwklanghnungcaekiywkhxngkbaerngtansnamiffasmphnth er khxngmnody x e e r 1 displaystyle chi e varepsilon r 1 dngnninkrnikhxngsuyyakas x e 0 displaystyle chi e 0 kha electric displacement D caekiywkhxngkbkhwamhnaaennkhxngkhwamepnkhw P ody D e 0 E P e 0 1 x e E e r e 0 E displaystyle mathbf D varepsilon 0 mathbf E mathbf P varepsilon 0 1 chi e mathbf E varepsilon r varepsilon 0 mathbf E karepnkhwkhxngidxielktrik aekikhaebbcalxngxatxmphunthan aekikh snamiffamiptismphnthkbxatxmphayitaebbcalxngidxielktrikaebbkhlassik inwithikaraebbkhlassikkbaebbcalxngidxielktrik wsducathuksrangkhuncakxatxm aetlaxatxmprakxbdwyemkhkhxngpraculb xielktrxn thiyudehniywkbaelaxyurxbpracubwkthisunyklangkhxngmn inkarprakttwkhxngsnamiffa emkhpracucabidebiywtamthiaesdngindanbnkhwakhxngrupphaphnisamarthldlngipepnidophlngayodyichhlkkarkhxngkarsxntaaehnng xngkvs superposition principle idophlcamilksnaechphaatamidophlomemnthkhxngmnsungepnprimanewketxrthiaesdnginrupepnluksrsifathimipaykakb M mnepnkhwamsmphnthrahwangsnamiffaaelaidophlomemnththikxihekidphvtikrrmkhxngidxielktrik oprdthrabwaidophlomemnthcachiipinthisthangediywkbsnamiffainrup aetimidepnxyangnnesmxipaelaepnkarwadihngaythisakhy aetepncringsahrbwsduhlaychnid emuxsnamiffathukthxdxxkip xatxmcaklbkhunsusphaphedim ewlathicatxngthaechnnnthukeriykwaewlaphxnkhlay sungepnkarslayaebbexksopennechiylnikhuxsarasakhykhxngaebbcalxnginsakhawichafisiks phvtikrrmkhxngidxielktrikinkhnanikhunxyukbsthankarn sthankarnyingsbsxnmakkhunethair aebbcalxngyingsmburninkarxthibayphvtikrrmidxyangthuktxngmakkhunethann khathamthisakhykhux snamiffakhngthihruxkhunxyukbewla thixtraethair kartxbsnxngkhunxyukbthisthangkhxngsnamthicayih isotropy khxngwsdu hruxim kartxbsnxngehmuxnknthukthi khwamsmaesmxkhxngwsdu hruxim khxbekhthruxkarechuxmtxid catxngnamaphicarnahruxim kartxbsnxngepnaebbechingesnemuxethiybkbsnamhruxepnaebbimechingesnkhwamsmphnthrahwangsnamiffa E aelaidophlomemnth M kxihekidphvtikrrmkhxngidxielktriksungsahrbwsduthikahndsamarthkahndkhunlksnaechphaaodyfngkchn F tamsmkar M F E displaystyle mathbf M mathbf F mathbf E emuxthngpraephthkhxngsnamiffaaelachnidkhxngwsduthiidrbkarkahnderiybrxyaelw caknneratxngeluxkfngkchn F thingaythisudthicasamarthkhadkarnidxyangthuktxngthungpraktkarnthixyuinkhwamsnic twxyangkhxngpraktkarnthisamarthsrangaebbcalxngdngklawidaek drrchnihkeh karkracaykhwamerwklum xngkvs Group velocity dispersion Birefringence karofksdwytnexng karphlitharmxnikhkarepnkhwaebbidophl aekikh cakbthkhwamin Encyclopaedia Britannica wsduthiepnchnwnidxielktrikhruxtwnakraaesiffathiaeymak emuxidxielktrikthukwangxyuinsnamiffa inthangptibticaimmikraaesihlintwmn ephraawamnimehmuxnolha mnimmixielktrxnthiekaaekiywknxyanghlwmhruxxielktrxnxisrathisamarthkhybipintwwsdunn Dielectrics physics Britannica 2009 p 1 Retrieved 2009 08 12 cakbthkhwamin Encyclopaedia Britannica wsduthiepnchnwnidxielktrikhruxtwnakraaesiffathiaeymak emuxidxielktrikthukwangxyuinsnamiffa inthangptibticaimmikraaesihlintwmn ephraawamnimehmuxnolha mnimmixielktrxnthiekaaekiywknxyanghlwmhruxxielktrxnxisrathisamarthkhybipintwwsdunn Dielectrics physics Britannica 2009 p 1 Retrieved 2009 08 12 Arthur R von Hippel inngansmnakhxngekhaeruxng wsduidxielktrikaelakarprayuktich rabuwa idxielktrik imichradbchnaekhbthieriykwachnwn aetepnkarkhyayxyangkwangkhwangkhxngwsduthiimicholhathimikarphicarnacakcudyunkhxngkarptismphnthkhxngmnkbsnamiffa snamaemehlkaelasnamaemehlkiffa dngnneracungekiywkhxngkbksechnediywkbkhxngaekhngaelakhxngehlw aelakbkarcdekbphlngnganiffaaelaaemehlkxikthngkaraephrkracaykhxngmn Technology Press of MIT and John Wiley NY 1954 cakbthkhwamin Encyclopaedia Britannica wsduthiepnchnwnidxielktrikhruxtwnakraaesiffathiaeymak emuxidxielktrikthukwangxyuinsnamiffa inthangptibticaimmikraaesihlintwmn ephraawamnimehmuxnolha mnimmixielktrxnthiekaaekiywknxyanghlwmhruxxielktrxnxisrathisamarthkhybipintwwsdunn Dielectrics physics Britannica 2009 p 1 Retrieved 2009 08 12 J Daintith 1994 Biographical Encyclopedia of Scientists CRC Press p 943 ISBN 0 7503 0287 9 James Frank A J L editor The Correspondence of Michael Faraday Volume 3 1841 1848 Letter 1798 William Whewell to Faraday p 442 The Institution of Electrical Engineers London United Kingdom 1996 ISBN 0 86341 250 5 Microwave Engineering R S Rao Prof Retrieved 2013 11 08 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title idxielktrik amp oldid 6925520, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม