fbpx
วิกิพีเดีย

ไผ่ตง

Dendrocalamus
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Monocots
ไม่ได้จัดลำดับ: Commelinids
อันดับ: Poales
วงศ์: Poaceae
วงศ์ย่อย: Bambusoideae
เผ่าใหญ่: Bambusodae
เผ่า: Bambuseae
เผ่าย่อย: Bambusinae
สกุล: Dendrocalamus
Nees
ชนิดต้นแบบ
Dendrocalamus strictus
(Roxb.) Nees
ชื่อพ้อง
  • Klemachloa R.Parker
  • Sinocalamus McClure
  • Sellulocalamus W.T.Lin

ไผ่ตง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus) เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์

ลักษณะทั่วไป

ไผ่ตงมีชื่อสามัญว่า Rough Giant Bamboo เป็นไผ่ประเภทเหง้ามีกอขนาดใหญ่ สูง 20–30 เมตร ลำตรงอัดกันเป็นกอค่อนข้างแน่น ปลายลำโค้งถึงห้อยลง เส้นผ่านศูนย์กลางลำ 10–20 เซนติเมตร ปล้องยาว 20–50 เซนติเมตร เนื้อลำหนา 1–3.5 เซนติเมตร ลำอ่อนปล้องล่างมีขนสีน้ำตาลปกคลุมหนาแน่น ปล้องบนมีขนสีขาวหรือสีเทาปกคลุม ลำแก่สีเขียวเข้มหรือสีเขียวอมเทา ปล้องล่างยังมีขนปกคลุมหนาแน่นและมักมีรากอากาศจำนวนมากออกตามข้อ แตกกิ่งต่ำหรือตั้งแต่กลางลำต้นขึ้นไป มีข้อลำ 3–5 กิ่ง กิ่งเด่นหนึ่งกิ่งอยู่ตรงกลาง กิ่งที่เหลือขนาดไล่เลี่ยกันมักมีรากอากาศที่กิ่ง

 
ลักษณะใบ

ใบ

ใบเป็นรูปแถบแกมรูปใบหอกมีขนาด กว้าง 1.5–4.5 เซนติเมตร ยาว 15–30 เซนติเมตร กาบหุ้มลำมีสีน้ำตาลอมม่วงหรือสีน้ำตาลจนถึงสีเขียวอ่อน กาบของหน่ออ่อนหรือกาบล่างๆของลำปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาลเข้ม ส่วนกาบของหน่อบินหรือปล้องบน ๆ ของลำมักมีขนสีน้ำตาลอ่อนจนถึงสีเทา ใบยอดกาบรูปใบหอก สีน้ำตาลอมม่วงจนถึงสีเขียวอมม่วง กางออกถึงพับลง หูกาบเป็นพูเด่น ขอบและด้านในมีขนแข็งและยาวปกคลุม ลิ้นกาบเป็นแถบสูงประมาณ 1 เซนติเมตร ขอบจักไม่สม่ำเสมอและมีขน

ดอก

ช่อดอกย่อยเทียมยาว 5–9 มิลลิเมตร กลูม 1–2 อัน ดอกย่อยสมบูรณ์ 4–5 ดอก ปลายช่อดอกย่อยมีดอกที่พัฒนาไม่เต็มที่ 1 ดอก เกสรตัวผู้ 6 อัน ก้านเกสรเพศผู้แยกอิสระ ยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน

 
ลักษณะช่อดอก

นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์

กล่าวกันว่าไผ่ตงนำมาจากจีน บางครั้งมีรายงานว่ามีถิ่นกำเนิดมาจากอินโดเนเซีย แต่ยังไม่มีการยืนยันแน่ชัดว่ามีถิ่นกำเนิดมาจากที่ใด ในไทยนิยมปลูกทั่วทุกภาค ไม่พบในป่าธรรมชาติ บางครั้งอาจพบขึ้นเป็นบริเวณกว้างในพื้นที่ป่าที่เคยมีการทำสัมปทานไม้ในอดีต เช่น พื้นที่ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติคลองพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี สันนิษฐานว่าหลงเหลือจากการนำไผ่ตงไปปลูกเพื่อใช้สอยในค่ายที่พักของคนงานที่เข้าไปทำไม้ในอดีต

ประโยชน์

 
หน่อไผ่ตงเขียว

ชนิด

ชนิดพืชในสกุลไผ่ตงและแหล่งที่พบมีดังนี้

2
The unnamed parameter 2= is no longer supported. Please see the documentation for {{columns-list}}.
  1. Dendrocalamus asper - จีนใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อนุทวีปอินเดีย
  2. Dendrocalamus bambusoides - ยูนนาน
  3. Dendrocalamus barbatus - ยูนนาน
  4. Dendrocalamus bengkalisensis - หมู่เกาะเรียว
  5. Dendrocalamus birmanicus - ยูนนาน, พม่า
  6. Dendrocalamus brandisii - ยูนนาน , อินโดจีน, หมู่เกาะอันดามัน
  7. Dendrocalamus buar - เกาะสุมาตรา
  8. Dendrocalamus calostachyus - รัฐอรุณาจัลประเทศ, ภูฏาน, ยูนนาน, พม่า
  9. Dendrocalamus cinctus - ศรีลังกา
  10. Dendrocalamus collettianus - พม่า
  11. Dendrocalamus detinens - พม่า
  12. Dendrocalamus dumosus - ไทย, มาเลเซียแผ่นดินใหญ่
  13. Dendrocalamus elegans - ไทย, มาเลเซียแผ่นดินใหญ่
  14. Dendrocalamus exauritus - กวางสี
  15. Dendrocalamus farinosus - กวางสี, กุ้ยโจว, เสฉวน, ยูนนาน, เวียดนาม
  16. Dendrocalamus fugongensis - ยูนนาน
  17. Dendrocalamus giganteus - ยูนนาน, อัสสัม, เบงกอลตะวันตก, ลาว, พม่า; มาดากัสการ์, มอริเชียส, เซเชลส์, ศรีลังกา, บังกลาเทศ, เนปาล, กัมพูชา, ไทย, เอกวาดอร์, เกาะตรินิแดด, เปอร์โตริโก
  18. Dendrocalamus hait - สุมาตรา
  19. Dendrocalamus hamiltonii - ยูนนาน, เนปาล, หิมาลัยตะวันออก, อินโดจีนเหนือ
  20. Dendrocalamus hirtellus - มาเลเซียแผ่นดินใหญ่
  21. Dendrocalamus hookeri - หิมาลัยตะวันออก, พม่า
  22. Dendrocalamus jianshuiensis - ยูนนาน
  23. Dendrocalamus khoonmengii - ไทย
  24. Dendrocalamus latiflorus - จีนใต้, อินโดจีนเหนือ; หมู่เกาะรีวกีว, หมู่เกาะโอะงะซะวะระ, คิวบา, บราซิล
  25. Dendrocalamus liboensis - กุ้ยโจว
  26. Dendrocalamus longispathus - อินโดจีน, รัฐอัสสัม, บังกลาเทศ
  27. Dendrocalamus macroculmis - เวียดนาม
  28. Dendrocalamus manipureanus - มณีปุระ
  29. Dendrocalamus membranaceus - อินโดจีน, ยูนนาน, บังกลาเทศ
  30. Dendrocalamus menglongensis - กวางตุ้ง
  31. Dendrocalamus merrillianus - ฟิลิปปินส์
  32. Dendrocalamus messeri - พม่า
  33. Dendrocalamus minor - กวางตุ้ง, กวางสี, กุ้ยโจว
  34. Dendrocalamus nudus - ไทย
  35. Dendrocalamus pachystachys - ยูนนาน
  36. Dendrocalamus parishii - หิมาลัยตะวันตก
  37. Dendrocalamus parvigemma - เวียดนาม
  38. Dendrocalamus peculiaris - ยูนนาน
  39. Dendrocalamus pendulus - มาเลเซียแผ่นดินใหญ่
  40. Dendrocalamus poilanei - เวียดนาม
  41. Dendrocalamus pulverulentus - กวางตุ้ง
  42. Dendrocalamus sahnii - อรุณาจัลประเทศ
  43. Dendrocalamus semiscandens - ยูนนาน
  44. Dendrocalamus sericeus - รัฐพิหาร, ลาว, เวียดนาม
  45. Dendrocalamus sikkimensis - รัฐสิกขิม, ภูฏาน, อรุณาจัลประเทศ, ยูนนาน
  46. Dendrocalamus sinicus - ยูนนาน, ลาว
  47. Dendrocalamus sinuatus - มาเลเซียแผ่นดินใหญ่, ลาว, เวียดนาม
  48. Dendrocalamus somdevae - รัฐอุตตราขัณฑ์
  49. Dendrocalamus strictus - อินเดีย, อินโดจีน; แคริบเบียน, เกาะชวา, มาเลเซีย, เกาะบางแห่งในมหาสมุทรอินเดีย
  50. Dendrocalamus suberosus - กวางตุ้ง
  51. Dendrocalamus tibeticus - Tibet, ยูนนาน
  52. Dendrocalamus tomentosus - ยูนนาน
  53. Dendrocalamus triamus - กวางตุ้ง
  54. Dendrocalamus tsiangii - เสฉวน, กวางสี, กุ้ยโจว
  55. Dendrocalamus wabo - พม่า
  56. Dendrocalamus xishuangbannaensis - ยูนนาน, เวียดนาม
  57. Dendrocalamus yunnanicus

ประเทศไทย

ในประเทศไทยพบไผ่ตง 4 ชนิด ดังนี้

  1. ไผ่ตงหนู บางครั้งเรียกไผ่ตงเล็ก เนื่องจากเป็นสายพันธุ์ที่มีขนาดเล็กกว่าสายพันธุ์อื่นๆ เส้นผ่านศูนย์กลางลำประมาณ 3-6 เซนติเมตร ส่วนใหญ่แล้วมีความนิยมในการปลูกน้อยเนื่องจากให้ผลผลิตที่ต่ำกว่าสายพันธุ์อื่น แต่ในบางพื้นที่ เช่น จังหวัดลำปางและเชียงใหม่ จะให้ผลผลิตค่อนข้างดี
  2. ไผ่ตงเขียว เป็นไผ่ตงที่มีลำต้นขนาดเล็กและสั้น ลำต้นมีสีเขียวตามชื่อแต่มีเนื้อไม้ที่บาง เส้นผ่านศูนย์กลางลำประมาณ 5-12 เซนติเมตร ใบบางสีเขียวเข้ม มีขนาดปานกลางไม่สากมือ ส่วนหน่อของสายพันธุ์นี้จะมีเนื้อสีขาวแกมเหลือง รสชาติหวานอมขมเล็กน้อย สายพันธุ์นี้เป็นสายพันธุ์ที่ทนต่อความแห้งแล้งได้ดีจึงเป็นที่นิยมปลูกกันมากในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  3. ไผ่ตงดำ หรือตงหวาน มีลำต้นสีเขียวอมดำตามชื่อเรียก สายพันธุ์นี้มีขนาดใหญ่รองลงมาจากไผ่ตงหม้อแต่มีลำต้นที่เตี้ยและสั้นกว่า เส้นผ่านศูนย์กลางลำประมาณ 9-12 เซนติเมตร ใบมีสีเขียวเข้มหนาและมีขนาดใหญ่สังเกตเห็นร่องใบได้ชัดเจน ไผ่ตงดำได้ชื่อว่าเป็นไผ่ตงที่เป็นหนึ่งในเรื่องหน่อไม้เพราะหน่อของสายพันธุ์นี้มีขนาดใหญ่ไม่มีเสี้ยน รสชาติหวาน เนื้อกรอบและขาวละเอียด ดังนั้นหน่อไม้ของสายพันธุ์นี้จึงเป็นที่นิยมในการปลูกและนำมาบริโภคหรือค้าขายค่อนข้างมาก
  4. ไผ่ตงหม้อ หรือตงใหญ่ ไผ่ตงสายพันธุ์นี้มีขนาดใหญ่ที่สุดจากทั้งหมด 4 สายพันธุ์ มีลำต้นที่ยาวและสูง เส้นผ่านศูนย์กลางลำประมาณ 12-18 เซนติเมตร ส่วนใบมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับสายพันธุ์อื่น ลำต้นสูงโปร่งเนื่องแตกกิ่งน้อย หน่อมีขนาดใหญ่มากมีสีน้ำตาลอมดำหรือน้ำตาลอมม่วง น้ำหนักหน่อประมาณ 5 กิโลกรัมขี้นไป เนื้อหน่อจะหยาบ แข็ง และมีสีขาว หน่อจะออกมากในช่วงฤดูฝน

การขยายพันธุ์

การเพาะเมล็ด

ไผ่ตงที่เจริญเติบโตเต็มที่จะออกดอกและตายในที่สุด ตามปกติแล้วไผ่ตงจะออกดอกในช่วงประมาณเดือน พฤศจิกายน-มกราคม และเมล็ดจะร่วงหล่นประมาณเดือน มีนาคม-เมษายน เราสามารถใช้เมล็ดที่หล่นนี้มาเพาะเป็นต้นกล้าใหม่ได้โดยมีวิธีการคือ

  1. เก็บเมล็ดพันธุ์ไผ่ตงที่ร่วงหล่นตามพื้นมาทำความสะอาดและทำการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์โดยการใช้กระด้งฝัด จากนั้นเอาเปลือกนอกของเมล็ดพันธุ์ออกโดยใช้รองเท้าแตะที่เป็นยางนวดขัดเมล็ดพันธุ์กับกระด้งเพื่อให้เปลือกหลุดออก จากนั้นฝัดด้วยกระด้งอีกครั้งเพื่อให้เปลือกที่หลุดปลิวหล่นไป นำเมล็ดที่ได้ไปพึ่งแดดประมาณ 1 แดด เพื่อช่วยป้องกันแมลง
  2. เพาะกล้าไผ่ตง โดยนำเมล็ดที่ได้จากการพึ่งแดดมาแช่น้ำประมาณ 2 คืน หรืออาจใช้วิธีแช่ในน้ำอุ่น 2 ชั่วโมง แล้วแช่ในน้ำปกติอีก 1 วันก็ได้เช่นกัน เมื่อครบกำหนดนำเมล็กขึ้นจากน้ำแล้วห่อหุ้มด้วยผ้าที่เปียกชื้นอีกประมาณ 2 คืน เพื่อเร่งการงอกของราก
  3. นำเมล็ดที่งอกแล้วไปเพาะปลูกลงแปลงขี้เถ้าแกลบผสมดินเล็กน้อยตามสัดส่วนที่เหมาะสม อาจใช้หญ้าหรือฟางที่แห้งคลุมหน้าดินเพื่อไม่ให้โดดแดดมากเกินไป รดน้ำให้ชุ่มพอเหมาะ
  4. ภายหลังการเพาะลงแปลง 15 วัน หรือประมาณ 2 สัปดาห์ จะได้ต้นกล้าไผ่ตงที่สูงประมาณ 2-3 นิ้ว ให้ทำการย้ายต้นกล้าไปปลูกลงถุงเพาะชำเพื่อนำไปปลูกเป็นต้นขนาดใหญ่ตามความต้องการ
 
ลำอ่อนและกาบหุ้มลำของหน่อบิน

การแยกเหง้า

  1. เลือกก่อไผ่ที่มีอายุ 1-2 ปี เพื่อใช้ในการขุดเหง้า จากนั้นตัดลำที่ต้องการขุดให้สูงประมาณ 1 เมตร
  2. ขุดเหง้าตรงลำที่ตัดไว้โดยให้ลึกลงไปประมาณ 20-50 เซนติเมตรหรือตามความลึกของเหง้า
  3. ระวังอย่าให้ส่วนเหง้าที่ขุดขาดหรือลำไผ่ฉีกโดยเฉพาะส่วนที่เป็นตาเหง้าเพราะอาจทำให้ไผ่ฟื้นตัวหรือแตกกิ่งไม่ได้
  4. นำเหง้าที่ขุดได้ไปปลูกลงดินและลดน้ำให้ชุ่มพอเหมาะ การขยายพันธุ์โดยวิธีนี้จะมีโอกาสรอดตายค่อนข้างสูงแต่ต้องใช้แรงและเวลามากในการขุด

เกร็ด

ปัจจุบันมีหลายพันธุ์ปลูก (cultivar) เช่น ไผ่ตงดำ ไผ่ตงหม้อ สองพันธุ์นี้ส่วนมากปลูกเพื่อตัดลำต้นไปใช้ประโยชน์เนื่องจากมีลำสูง ส่วนไผ่ตงเขียวและไผ่ตงหนูเป็นพันธุ์ปลูกที่ให้หน่อดก ขนาดกอไม่สูงมาก นิยมปลูกเพื่อตัดหน่อขาย กล่าวกันว่าไผ่ตงเขียวแท้ๆสูญพันธุ์ไปจากเมืองไทยแล้ว จาก เอกสารการปลูกสร้างและบำรุงรักษาสวนไผ่ (รุ่งนภา พัฒนพิบูลย์ และคณะ,2545) รายงานว่าราวปี พ.ศ. 2477 มีการนำท่อนพันธุ์ไผ่ตงเขียวจากประเทศจีนมาปลูกในไทยครั้งแรกบริเวณพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาไผ่ตงเขียวได้รับความนิยมและปลูกกันทั่วประเทศโดยขยายพันธุ์จากต้นตอต้นแม่เดียวกัน จนในปี พ.ศ. 2537–2539 ไผ่ตงเขียวออกดอกและตายพร้อมกันเกือบทั่วประเทศ ต้นลูกที่ได้จากเมล็ดไผ่ตงเขียวที่ออกดอกส่วนใหญ่เป็นต้นลูกที่ลักษณะไม่สมบูรณ์ แต่หลังจากการคัดเลือกต้นและปรับปรุงพันธุ์ปลูกของต้นลูกไผ่ตงเขียว จนในที่สุดได้พันธุ์ปลูกที่มีลักษณะดีเท่าไผ่ตงเขียวเดิม ไผ่ที่เกิดจากการปรับปรุงต้นรุ่นลูกไผ่ตงเขียวนี้เดิมมีชื่อว่า "เพชรประจันตคาม" ซึ่งต่อมาภายหลังมีชื่อใหม่ว่า "ศรีปราจีน" นิยมปลูกเพื่อบริโภคหน่อกันทั่วประเทศ

อ้างอิง

  1. Kew World Checklist of Selected Plant Families
  2. สราวุธ สังข์แก้วและคณะ ไผ่ในเมืองไทย กรุงเทพฯ:บ้านและสวน,2554[1]
  3. The Plant List search for Dendrocalamus
  4. สายพันธุ์ไผ่ตง[2]
  5. ไผ่ตงที่นิยม[3]
  6. การขยายพันธุ์[4]

ไผ, ตง, dendrocalamusการจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, plantaeไม, ได, ดลำด, angiospermsไม, ได, ดลำด, monocotsไม, ได, ดลำด, commelinidsอ, นด, poalesวงศ, poaceaeวงศ, อย, bambusoideaeเผ, าใหญ, bambusodaeเผ, bambuseaeเผ, าย, อย, bambusinaeสก, dendrocalamus, n. Dendrocalamuskarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeimidcdladb Angiospermsimidcdladb Monocotsimidcdladb Commelinidsxndb Poaleswngs Poaceaewngsyxy Bambusoideaeephaihy Bambusodaeepha Bambuseaeephayxy Bambusinaeskul Dendrocalamus NeeschnidtnaebbDendrocalamus strictus Roxb Neeschuxphxng 1 Klemachloa R Parker Sinocalamus McClure Sellulocalamus W T Lin iphtng chuxwithyasastr Dendrocalamus epniphskulhnunginwngshya Poaceae chuxskulmithimacakphasakrikwa dendron dendron aeplwa tnim aela kalamos aeplwa phuchcaphwkkkhruxxxy rwmhmaythung xxythiepnkxkhlaytnim cungsuxthunglksnakhxngiphskulnithimikhnadihyaelaniymplukephuxkarbriophkhhnx iphskulnimipraman 50 chnid incanwnniphbinithy 4 chnid kracayphnthuinekhtrxnaelakungrxnkhxngthwipexechiy odyechphaainekhtxinediy cin xinodniesiy phma ithy maelesiy aelafilippins enuxha 1 lksnathwip 1 1 ib 1 2 dxk 2 niewswithyaaelakarkracayphnthu 3 praoychn 4 chnid 4 1 praethsithy 5 karkhyayphnthu 5 1 karephaaemld 5 2 karaeykehnga 6 ekrd 7 xangxinglksnathwip aekikhiphtngmichuxsamywa Rough Giant Bamboo 2 epniphpraephthehngamikxkhnadihy sung 20 30 emtr latrngxdknepnkxkhxnkhangaenn playlaokhngthunghxylng esnphansunyklangla 10 20 esntiemtr plxngyaw 20 50 esntiemtr enuxlahna 1 3 5 esntiemtr laxxnplxnglangmikhnsinatalpkkhlumhnaaenn plxngbnmikhnsikhawhruxsiethapkkhlum laaeksiekhiywekhmhruxsiekhiywxmetha plxnglangyngmikhnpkkhlumhnaaennaelamkmirakxakascanwnmakxxktamkhx aetkkingtahruxtngaetklanglatnkhunip mikhxla 3 5 king kingednhnungkingxyutrngklang kingthiehluxkhnadileliyknmkmirakxakasthiking lksnaib ib aekikh ibepnrupaethbaekmrupibhxkmikhnad kwang 1 5 4 5 esntiemtr yaw 15 30 esntiemtr kabhumlamisinatalxmmwnghruxsinatalcnthungsiekhiywxxn kabkhxnghnxxxnhruxkablangkhxnglapkkhlumdwykhnsinatalekhm swnkabkhxnghnxbinhruxplxngbn khxnglamkmikhnsinatalxxncnthungsietha ibyxdkabrupibhxk sinatalxmmwngcnthungsiekhiywxmmwng kangxxkthungphblng hukabepnphuedn khxbaeladaninmikhnaekhngaelayawpkkhlum linkabepnaethbsungpraman 1 esntiemtr khxbckimsmaesmxaelamikhn dxk aekikh chxdxkyxyethiymyaw 5 9 milliemtr klum 1 2 xn dxkyxysmburn 4 5 dxk playchxdxkyxymidxkthiphthnaimetmthi 1 dxk eksrtwphu 6 xn kaneksrephsphuaeykxisra yxdeksrephsemiy 1 xn lksnachxdxkniewswithyaaelakarkracayphnthu aekikhklawknwaiphtngnamacakcin bangkhrngmiraynganwamithinkaenidmacakxinodenesiy aetyngimmikaryunynaenchdwamithinkaenidmacakthiid inithyniymplukthwthukphakh imphbinpathrrmchati bangkhrngxacphbkhunepnbriewnkwanginphunthipathiekhymikarthasmpthaniminxdit echn phunthipainekhtxuthyanaehngchatikhlxngphnm cnghwdsurasdrthani snnisthanwahlngehluxcakkarnaiphtngipplukephuxichsxyinkhaythiphkkhxngkhnnganthiekhaipthaiminxditpraoychn aekikh hnxiphtngekhiyw la ichinkarkxsrang epnwsduinkarthaefxrniecxraelaekhruxngcksan latnkhxngiphtngthiaekcdsamarthnamaehlathaphunranadexk ranadthumid hnx niymnamabriophkhepnxaharchnid aekikhchnidphuchinskuliphtngaelaaehlngthiphbmidngni 1 3 2The unnamed parameter 2 is no longer supported Please see the documentation for columns list Dendrocalamus asper cinit exechiytawnxxkechiyngit xnuthwipxinediy Dendrocalamus bambusoides yunnan Dendrocalamus barbatus yunnan Dendrocalamus bengkalisensis hmuekaaeriyw Dendrocalamus birmanicus yunnan phma Dendrocalamus brandisii yunnan xinodcin hmuekaaxndamn Dendrocalamus buar ekaasumatra Dendrocalamus calostachyus rthxrunaclpraeths phutan yunnan phma Dendrocalamus cinctus srilngka Dendrocalamus collettianus phma Dendrocalamus detinens phma Dendrocalamus dumosus ithy maelesiyaephndinihy Dendrocalamus elegans ithy maelesiyaephndinihy Dendrocalamus exauritus kwangsi Dendrocalamus farinosus kwangsi kuyocw eschwn yunnan ewiydnam Dendrocalamus fugongensis yunnan Dendrocalamus giganteus yunnan xssm ebngkxltawntk law phma madakskar mxriechiys esechls srilngka bngklaeths enpal kmphucha ithy exkwadxr ekaatriniaedd epxrotriok Dendrocalamus hait sumatra Dendrocalamus hamiltonii yunnan enpal himalytawnxxk xinodcinehnux Dendrocalamus hirtellus maelesiyaephndinihy Dendrocalamus hookeri himalytawnxxk phma Dendrocalamus jianshuiensis yunnan Dendrocalamus khoonmengii ithy Dendrocalamus latiflorus cinit xinodcinehnux hmuekaariwkiw hmuekaaoxangasawara khiwba brasil Dendrocalamus liboensis kuyocw Dendrocalamus longispathus xinodcin rthxssm bngklaeths Dendrocalamus macroculmis ewiydnam Dendrocalamus manipureanus mnipura Dendrocalamus membranaceus xinodcin yunnan bngklaeths Dendrocalamus menglongensis kwangtung Dendrocalamus merrillianus filippins Dendrocalamus messeri phma Dendrocalamus minor kwangtung kwangsi kuyocw Dendrocalamus nudus ithy Dendrocalamus pachystachys yunnan Dendrocalamus parishii himalytawntk Dendrocalamus parvigemma ewiydnam Dendrocalamus peculiaris yunnan Dendrocalamus pendulus maelesiyaephndinihy Dendrocalamus poilanei ewiydnam Dendrocalamus pulverulentus kwangtung Dendrocalamus sahnii xrunaclpraeths Dendrocalamus semiscandens yunnan Dendrocalamus sericeus rthphihar law ewiydnam Dendrocalamus sikkimensis rthsikkhim phutan xrunaclpraeths yunnan Dendrocalamus sinicus yunnan law Dendrocalamus sinuatus maelesiyaephndinihy law ewiydnam Dendrocalamus somdevae rthxuttrakhnth Dendrocalamus strictus xinediy xinodcin aekhribebiyn ekaachwa maelesiy ekaabangaehnginmhasmuthrxinediy Dendrocalamus suberosus kwangtung Dendrocalamus tibeticus Tibet yunnan Dendrocalamus tomentosus yunnan Dendrocalamus triamus kwangtung Dendrocalamus tsiangii eschwn kwangsi kuyocw Dendrocalamus wabo phma Dendrocalamus xishuangbannaensis yunnan ewiydnam Dendrocalamus yunnanicus praethsithy aekikh inpraethsithyphbiphtng 4 chnid 4 dngni iphtnghnu bangkhrngeriykiphtngelk enuxngcakepnsayphnthuthimikhnadelkkwasayphnthuxun esnphansunyklanglapraman 3 6 esntiemtr swnihyaelwmikhwamniyminkarpluknxyenuxngcakihphlphlitthitakwasayphnthuxun aetinbangphunthi echn cnghwdlapangaelaechiyngihm caihphlphlitkhxnkhangdi iphtngekhiyw epniphtngthimilatnkhnadelkaelasn latnmisiekhiywtamchuxaetmienuximthibang esnphansunyklanglapraman 5 12 esntiemtr ibbangsiekhiywekhm mikhnadpanklangimsakmux swnhnxkhxngsayphnthunicamienuxsikhawaekmehluxng rschatihwanxmkhmelknxy sayphnthuniepnsayphnthuthithntxkhwamaehngaelngiddicungepnthiniymplukknmak 5 inaethbphakhtawnxxkechiyngehnux iphtngda hruxtnghwan milatnsiekhiywxmdatamchuxeriyk sayphnthunimikhnadihyrxnglngmacakiphtnghmxaetmilatnthietiyaelasnkwa esnphansunyklanglapraman 9 12 esntiemtr ibmisiekhiywekhmhnaaelamikhnadihysngektehnrxngibidchdecn iphtngdaidchuxwaepniphtngthiepnhnungineruxnghnximephraahnxkhxngsayphnthunimikhnadihyimmiesiyn rschatihwan enuxkrxbaelakhawlaexiyd dngnnhnximkhxngsayphnthunicungepnthiniyminkarplukaelanamabriophkhhruxkhakhaykhxnkhangmak iphtnghmx hruxtngihy iphtngsayphnthunimikhnadihythisudcakthnghmd 4 sayphnthu milatnthiyawaelasung esnphansunyklanglapraman 12 18 esntiemtr swnibmikhnadelkemuxethiybkbsayphnthuxun latnsungoprngenuxngaetkkingnxy hnxmikhnadihymakmisinatalxmdahruxnatalxmmwng nahnkhnxpraman 5 kiolkrmkhinip enuxhnxcahyab aekhng aelamisikhaw hnxcaxxkmakinchwngvdufnkarkhyayphnthu aekikhkarephaaemld aekikh iphtngthiecriyetibotetmthicaxxkdxkaelatayinthisud tampktiaelwiphtngcaxxkdxkinchwngpramaneduxn phvscikayn mkrakhm aelaemldcarwnghlnpramaneduxn minakhm emsayn erasamarthichemldthihlnnimaephaaepntnklaihmidodymiwithikarkhux 6 ekbemldphnthuiphtngthirwnghlntamphunmathakhwamsaxadaelathakarkhdeluxkemldphnthuthismburnodykarichkradngfd caknnexaepluxknxkkhxngemldphnthuxxkodyichrxngethaaetathiepnyangnwdkhdemldphnthukbkradngephuxihepluxkhludxxk caknnfddwykradngxikkhrngephuxihepluxkthihludpliwhlnip naemldthiidipphungaeddpraman 1 aedd ephuxchwypxngknaemlng ephaaklaiphtng odynaemldthiidcakkarphungaeddmaaechnapraman 2 khun hruxxacichwithiaechinnaxun 2 chwomng aelwaechinnapktixik 1 wnkidechnkn emuxkhrbkahndnaemlkkhuncaknaaelwhxhumdwyphathiepiykchunxikpraman 2 khun ephuxerngkarngxkkhxngrak naemldthingxkaelwipephaapluklngaeplngkhiethaaeklbphsmdinelknxytamsdswnthiehmaasm xacichhyahruxfangthiaehngkhlumhnadinephuximihoddaeddmakekinip rdnaihchumphxehmaa phayhlngkarephaalngaeplng 15 wn hruxpraman 2 spdah caidtnklaiphtngthisungpraman 2 3 niw ihthakaryaytnklaippluklngthungephaachaephuxnaipplukepntnkhnadihytamkhwamtxngkar laxxnaelakabhumlakhxnghnxbin karaeykehnga aekikh eluxkkxiphthimixayu 1 2 pi ephuxichinkarkhudehnga caknntdlathitxngkarkhudihsungpraman 1 emtr khudehngatrnglathitdiwodyihluklngippraman 20 50 esntiemtrhruxtamkhwamlukkhxngehnga rawngxyaihswnehngathikhudkhadhruxlaiphchikodyechphaaswnthiepntaehngaephraaxacthaihiphfuntwhruxaetkkingimid naehngathikhudidippluklngdinaelaldnaihchumphxehmaa karkhyayphnthuodywithinicamioxkasrxdtaykhxnkhangsungaettxngichaerngaelaewlamakinkarkhudekrd aekikhpccubnmihlayphnthupluk cultivar echn iphtngda iphtnghmx sxngphnthuniswnmakplukephuxtdlatnipichpraoychnenuxngcakmilasung swniphtngekhiywaelaiphtnghnuepnphnthuplukthiihhnxdk khnadkximsungmak niymplukephuxtdhnxkhay klawknwaiphtngekhiywaethsuyphnthuipcakemuxngithyaelw cak exksarkarpluksrangaelabarungrksaswniph rungnpha phthnphibuly aelakhna 2545 raynganwarawpi ph s 2477 mikarnathxnphnthuiphtngekhiywcakpraethscinmaplukinithykhrngaerkbriewnphunthixaephxemuxng cnghwdpracinburi txmaiphtngekhiywidrbkhwamniymaelaplukknthwpraethsodykhyayphnthucaktntxtnaemediywkn cninpi ph s 2537 2539 iphtngekhiywxxkdxkaelatayphrxmknekuxbthwpraeths tnlukthiidcakemldiphtngekhiywthixxkdxkswnihyepntnlukthilksnaimsmburn aethlngcakkarkhdeluxktnaelaprbprungphnthuplukkhxngtnlukiphtngekhiyw cninthisudidphnthuplukthimilksnadiethaiphtngekhiywedim iphthiekidcakkarprbprungtnrunlukiphtngekhiywniedimmichuxwa ephchrpracntkham sungtxmaphayhlngmichuxihmwa sripracin niymplukephuxbriophkhhnxknthwpraethsxangxing aekikh 1 0 1 1 Kew World Checklist of Selected Plant Families srawuth sngkhaekwaelakhna iphinemuxngithy krungethph banaelaswn 2554 1 The Plant List search for Dendrocalamus sayphnthuiphtng 2 iphtngthiniym 3 karkhyayphnthu 4 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title iphtng amp oldid 9305916, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม