fbpx
วิกิพีเดีย

ลัทธิไวษณพ

ลัทธิไวษณพ หรือ ไวษณพนิกาย เป็นนิกายในศาสนาฮินดูที่นับถือพระวิษณุเป็นพระเป็นเจ้าผู้ยิ่งใหญ่กว่าเทพใด ๆ รวมทั้งในกลุ่มตรีมูรติ พระองค์ยังมีพระนามอื่น ๆ อีก เช่น พระราม พระกฤษณะ พระนารายณ์ พระวาสุเทพ พระหริ เป็นต้น

พระวิษณุ เทพเจ้าองค์สูงสุดในลัทธิไวษณพ

นิกายนี้มีต้นกำเนิดมาจากลัทธิภควัต (หรือลัทธิบูชาพระกฤษณะ) ในสหัสวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช ต่อมารามานันทะได้พัฒนาลัทธิบูชาพระรามขึ้นจนปัจจุบันกลายเป็นคณะนักพรตที่ใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ลัทธิไวษณพแบ่งเป็นหลายสำนัก เช่น ไทฺวตะ เวทานตะของมัธวาจารย์ วิศิษฏาไทฺวตะ เวทานตะของรามานุชะ สมาคมกฤษณภาวนามฤตนานาชาติของภักติเวทานตสวามี คีตาอาศรมของสวามี หริหระ มหาราช เป็นต้น

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. Pratapaditya Pal (1986). Indian Sculpture: Circa 500 BCE- 700 CE. University of California Press. pp. 24–25. ISBN 978-0-520-05991-7.
  2. Stephan Schuhmacher (1994). The Encyclopedia of Eastern Philosophy and Religion: Buddhism, Hinduism, Taoism, Zen. Shambhala. p. 397. ISBN 978-0-87773-980-7.
  3. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า
  4. Matchett 2001, pp. 3-9.
  5. Anna King 2005, pp. 32–33.
  6. Avinash Patra 2011, pp. 12–16, 25.
บรรณานุกรม

ทธ, ไวษณพ, หร, ไวษณพน, กาย, เป, นน, กายในศาสนาฮ, นด, บถ, อพระว, ษณ, เป, นพระเป, นเจ, งใหญ, กว, าเทพใด, รวมท, งในกล, มตร, รต, พระองค, งม, พระนามอ, เช, พระราม, พระกฤษณะ, พระนารายณ, พระวาส, เทพ, พระหร, เป, นต, พระว, ษณ, เทพเจ, าองค, งส, ดใน, กายน, นกำเน, ดมาจากล,. lththiiwsnph hrux iwsnphnikay epnnikayinsasnahinduthinbthuxphrawisnuepnphraepneca 1 2 phuyingihykwaethphid rwmthnginklumtrimurti 3 phraxngkhyngmiphranamxun xik echn phraram phrakvsna phranarayn phrawasuethph phrahri epntn 4 5 6 phrawisnu ethphecaxngkhsungsudinlththiiwsnph nikaynimitnkaenidmacaklththiphkhwt hruxlththibuchaphrakvsna inshswrrsthi 1 kxnkhristskrach txmaramannthaidphthnalththibuchaphraramkhuncnpccubnklayepnkhnankphrtthiihythisudinthwipexechiy lththiiwsnphaebngepnhlaysank echn ith wta ewthantakhxngmthwacary wisistaith wta ewthantakhxngramanucha smakhmkvsnphawnamvtnanachatikhxngphktiewthantswami khitaxasrmkhxngswami hrihra mharach epntnxangxing aekikhechingxrrth Pratapaditya Pal 1986 Indian Sculpture Circa 500 BCE 700 CE University of California Press pp 24 25 ISBN 978 0 520 05991 7 Stephan Schuhmacher 1994 The Encyclopedia of Eastern Philosophy and Religion Buddhism Hinduism Taoism Zen Shambhala p 397 ISBN 978 0 87773 980 7 phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 hna Matchett 2001 pp 3 9 Anna King 2005 pp 32 33 Avinash Patra 2011 pp 12 16 25 brrnanukrmrachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 phimphkhrngthi 2 krungethph rachbnthitysthan 2556 1 544 hna ISBN 978 616 7073 80 4 rachbnthitysthan phcnankrmsphthsasnasakl chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 3 krungethph rachbnthitysthan 2552 734 hna hna 615 ISBN 978 616 7073 03 3 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title lththiiwsnph amp oldid 9054796, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม