fbpx
วิกิพีเดีย

กรรมฐาน

กรรมฐาน (บาลี :kammaṭṭhāna, กมฺมฏฺาน) (สันสกฤต: karmasthana) หมายถึง ที่ตั้งแห่งการทำงานของจิต สิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา อุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธีเหนี่ยวนำให้เกิดสมาธิ กรรมฐานจึงเป็นสิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด เพื่อให้จิตสงบอยู่ได้ ไม่เที่ยวเตลิดเลื่อนลอยฟุ้งซ่าน ไปอย่างไร้จุดหมาย

อย่างไรในพระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวงแปลคำว่า กมฺมฏฺาน ว่า ฐานะแห่งการงาน มากไปกว่านั้นในพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐพบคำว่า กมฺมฏฺาน เฉพาะในเล่มที่ 13 ข้อที่ 711 ถึง 713 เท่านั้น

เสยฺยถาปิ มาณว กสิกมฺมฏฺาน มหตฺถ มหากิจฺจ

มหาธิกรณ มหาสมารมฺภ วิปชฺชมาน อปฺปปฺผล โหติ เอวเมว โข มาณว ฆราวาสกมฺมฏฺาน มหตฺถ มหากิจฺจ มหาธิกรณ มหาสมารมฺภ วิปชฺชมาน อปฺปปฺผล โหติ ฯ เสยฺยถาปิ มาณว กสิเยว กมฺมฏฺาน มหตฺถ มหากิจฺจ มหาธิกรณ มหาสมารมฺภ สมฺปชฺชมาน มหปฺผล โหติ เอวเมว โข มาณว ฆราวาสกมฺมฏฺาน มหตฺถ มหากิจฺจ มหาธิกรณ มหาสมารมฺภ สมฺปชฺชมาน มหปฺผล โหติ ฯ เสยฺยถาปิ มาณว วนิชฺชากมฺมฏฺาน อปฺปตฺถ อปฺปกิจฺจ อปฺปาธิกรณ อปฺปสมารมฺภ วิปชฺชมาน อปฺปปฺผล โหติ เอวเมว โข มาณว ปพฺพชฺชากมฺมฏฺาน อปฺปตฺถ อปฺปกิจฺจ อปฺปาธิกรณ อปฺปสมารมฺภ วิปชฺชมาน อปฺปปฺผล โหติ ฯ เสยฺยถาปิ มาณว วนิชฺชาเยว กมฺมฏฺาน อปฺปตฺถ อปฺปกิจฺจ อปฺปาธิกรณ อปฺปสมารมฺภ สมฺปชฺชมาน มหปฺผล โหติ เอวเมว โข มาณว ปพฺพชฺชากมฺมฏฺาน อปฺปตฺถ อปฺปกิจฺจ อปฺปาธิกรณ อปฺปสมารมฺภ สมฺปชฺชมาน มหปฺผล โหตีติ ฯ

ดูกรมาณพ เปรียบเหมือนฐานะคือกสิกรรม ที่มีความต้องการมาก มีกิจมาก

มีอธิกรณ์มาก มีความเริ่มมาก เมื่อวิบัติ ย่อมมีผลน้อย ฉันใด ฐานะแห่งการงานของฆราวาส ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ที่มีความต้องการมาก มีกิจมาก มีอธิกรณ์มาก มีการเริ่มมาก เมื่อวิบัติ ย่อมมีผลน้อย. ฐานะคือกสิกรรมนั่นแล ที่มีความต้องการมาก มีกิจมาก มีอธิกรณ์มาก มี การเริ่มมาก เมื่อเป็นสมบัติ ย่อมมีผลมาก ฉันใด ฐานะแห่งการงานของฆราวาสก็ฉันนั้นเหมือน กัน ที่มีความต้องการมาก มีกิจมาก มีอธิกรณ์มาก มีการเริ่มมาก เมื่อเป็นสมบัติ ย่อมมีผล มาก. การงานคือการค้าขาย ที่มีความต้องการน้อย มีกิจน้อย มีอธิกรณ์น้อย มีการเริ่มน้อย เมื่อวิบัติ ย่อมมีผลน้อย ฉันใด ฐานะแห่งการงานฝ่ายบรรพชาก็ฉันนั้นเหมือนกัน ที่มีความ ต้องการน้อย มีกิจน้อย มีอธิกรณ์น้อย มีการเริ่มน้อย เมื่อวิบัติ ย่อมมีผลน้อย. ฐานะแห่ง การงานคือการค้าขายนั่นแล ที่มีความต้องการน้อย มีกิจน้อย มีอธิกรณ์น้อย มีการเริ่มน้อย เมื่อเป็นสมบัติ ย่อมมีผลมาก ฉันใด ฐานะแห่งการงานฝ่ายบรรพชาก็ฉันนั้นเหมือนกัน ที่มี ความต้องการน้อย มีกิจน้อย มีอธิกรณ์น้อย มีการเริ่มน้อย เมื่อเป็นสมบัติ ย่อมมีผลมาก

กรรมฐาน 40

กรรมฐาน 40 เป็นอุบาย 40 วิธีที่ใช้ฝึกจิตให้เกิดสมาธิ ก็คือสิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด เพื่อชักนำให้เกิดสมาธิ พอจิตกำหนดจับสิ่งนี้เข้าแล้ว จะชักนำให้จิตแน่วแน่อยู่กับสิ่งนี้ จนเป็นสมาธิได้มั่นคงและเร็วที่สุด ในคัมภีร์อรรถกถาและปกรณ์ ได้รวบรวมแสดงกรรมฐานไว้ 40 อย่าง คือ

กสิณ 10
ดูบทความหลักที่: กสิณ
แปลว่า วัตถุอันจูงใจ หรือวัตถุสำหรับเพ่ง เพื่อจูงจิตให้เป็นสมาธิ เป็นวิธีใช้วัตถุภายนอกเข้าช่วย โดยวิธีเพ่งเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง มี 10 อย่าง คือ
  1. ภูตกสิณ 4 (กสิณคือมหาภูตรูป) ได้แก่ ปฐวีกสิณ อาโปกสิณ เตโชกสิณ วาโยกสิณ
  2. วรรณกสิณ 4 ได้แก่ นีลกสิณ ปีตกสิณ โลหิตกสิณ โอทาตกสิณ
  3. กสิณอื่นๆ ได้แก่ อาโลกกสิณ อากาสกสิณ
อสุภะ 10
ดูบทความหลักที่: อสุภะ
ได้แก่ การพิจารณาซากศพระยะต่างๆรวมกัน 10 ระยะ ตั้งแต่ศพเริ่มขึ้นอืด ไปจนถึงศพที่เหลือแต่โครงกระดูก
อนุสติ 10
คือ อารมณ์ดีงามที่ควรระลึกถึงเนืองๆ ได้แก่ พุทธานุสติ ธัมมานุสติ สังฆานุสติ สีลานุสติ จาคานุสติ เทวตานุสติ มรณสติ กายคตาสติ อานาปานสติ อุปสมานุสติ
อัปปมัญญา 4
คือ ธรรมที่พึงแผ่ไปในมนุษย์ สัตว์ทั้งหลาย อย่างมีจิตใจสม่ำเสมอทั่วกันไม่มีประมาณ ไม่จำกัดขอบเขต โดยมากเรียกกันว่า พรหมวิหาร 4 คือ
  1. เมตตา คือ ปรารถนาดี มีไมตรีอยากให้มนุษย์ สัตว์ทั้งหลาย มีความสุขทั่วหน้า
  2. กรุณา คือ อยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์
  3. มุทิตา คือ พลอยมีใจแช่มชื่นบาน เมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข และเจริญงอกงาม ประสบความสำเร็จยิ่งขึ้นไป
  4. อุเบกขา คือ วางจิตเรียบสงบ สม่ำเสมอ เที่ยงตรงดุจตาชั่ง มองเห็นมนุษย์ สัตว์ทั้งหลาย ได้รับผลดีร้าย ตามเหตุปัจจัยที่ประกอบ ไม่เอนเอียงไปด้วยชอบหรือชัง
อาหาเร ปฏิกูลสัญญา
กำหนดหมายความเป็นปฏิกูลในอาหาร
จตุธาตุววัฏฐาน
กำหนดพิจารณาธาตุ 4 คือ พิจารณาเห็นร่างกายของตน โดยสักว่าเป็นธาตุ 4 แต่ละอย่างๆ
อรูป 4
กำหนดสภาวะที่เป็นอรูปธรรมเป็นอารมณ์ ใช้ได้เฉพาะผู้ที่เพ่งกสิณ 9 อย่างแรก จนได้จตุตถฌานมาแล้ว กรรมฐานแบบอรูป มี 4 อย่าง คือ อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ


ขีดขั้นความสำเร็จ

กรรมฐาน 2 อย่าง

ในคัมภีร์ทางพระอภิธรรมบรรยายเกี่ยวกับกรรมฐานไว้ว่า การงานที่เป็นเหตุแห่งการบรรลุธรรม และแบ่งกรรมฐานเป็นสองอย่าง คือ

  • สมถะ เป็นอุบาย การยังกิเลส นิวรณ์ทั้งหลายให้สงบ ระงับ
  • วิปัสสนา เป็นปัญญา เห็นโดยอาการต่างๆ มีความไม่เที่ยง เป็นต้น

อ้างอิง

  1. พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง เล่มที่ 13 สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ หน้าที่ 593 ข้อที่ 713
  2. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ เล่มที่ 13 สุตฺตนฺตปิฏเก มชฺฌิมนิกายสฺส มชฺฌิมปณฺณาสกํ หน้าที่ 653 ข้อที่ 713
  3. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ
  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์"
  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม"
  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พุทธธรรม"
  • พระอภิธัมมัตถสังคหะ

ดูเพิ่ม

  • ฌาน
  • เจริญอานาปานสติ บำเพ็ญสติปัฏฐาน๔ ให้บริบูรณ์ในวิกิซอร์ซ

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ทีปสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
  • วัดป่ากรรมฐาน สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
  • สถาบันพลังจิตตานุภาพ
  • กสิณ กรรมฐานที่ทรงพลัง
  • วิชชาธรรมกาย วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
  • มโนมยิทธิ วัดท่าซุง
  • สมาธิเพื่อการผ่อนคลายรักษาสุขภาพกายและจิตโดยองค์รวม

กรรมฐาน, บาล, kammaṭṭhāna, กม, มฏ, าน, นสกฤต, karmasthana, หมายถ, งแห, งการทำงานของจ, งท, ใช, เป, นอารมณ, ในการเจร, ญภาวนา, ปกรณ, ใช, ในการฝ, กอบรมจ, หร, ออ, บายหร, อกลว, เหน, ยวนำให, เก, ดสมาธ, งเป, นส, งท, เอามาให, ตกำหนด, เพ, อให, ตสงบอย, ได, ไม, เท, ยวเตล,. krrmthan bali kammaṭṭhana km mt an snskvt karmasthana hmaythung thitngaehngkarthangankhxngcit singthiichepnxarmninkarecriyphawna xupkrnthiichinkarfukxbrmcit hruxxubayhruxklwithiehniywnaihekidsmathi krrmthancungepnsingthiexamaihcitkahnd ephuxihcitsngbxyuid imethiywetlideluxnlxyfungsan ipxyangircudhmayxyangirinphraitrpidkphasaithychbbhlwngaeplkhawa km mt an wa thanaaehngkarngan 1 2 makipkwanninphraitrpidkchbbsyamrthphbkhawa km mt an echphaainelmthi 13 khxthi 711 thung 713 ethann 3 esy ythapi manw ksikm mt an mht th mhakic c mhathikrn mhasmarm ph wipch chman xp pp phl ohti exwemw okh manw khrawaskm mt an mht th mhakic c mhathikrn mhasmarm ph wipch chman xp pp phl ohti esy ythapi manw ksieyw km mt an mht th mhakic c mhathikrn mhasmarm ph sm pch chman mhp phl ohti exwemw okh manw khrawaskm mt an mht th mhakic c mhathikrn mhasmarm ph sm pch chman mhp phl ohti esy ythapi manw wnich chakm mt an xp pt th xp pkic c xp pathikrn xp psmarm ph wipch chman xp pp phl ohti exwemw okh manw pph phch chakm mt an xp pt th xp pkic c xp pathikrn xp psmarm ph wipch chman xp pp phl ohti esy ythapi manw wnich chaeyw km mt an xp pt th xp pkic c xp pathikrn xp psmarm ph sm pch chman mhp phl ohti exwemw okh manw pph phch chakm mt an xp pt th xp pkic c xp pathikrn xp psmarm ph sm pch chman mhp phl ohtiti dukrmanph epriybehmuxnthanakhuxksikrrm thimikhwamtxngkarmak mikicmakmixthikrnmak mikhwamerimmak emuxwibti yxmmiphlnxy chnid thanaaehngkarngankhxngkhrawas kchnnnehmuxnkn thimikhwamtxngkarmak mikicmak mixthikrnmak mikarerimmak emuxwibti yxmmiphlnxy thanakhuxksikrrmnnael thimikhwamtxngkarmak mikicmak mixthikrnmak mi karerimmak emuxepnsmbti yxmmiphlmak chnid thanaaehngkarngankhxngkhrawaskchnnnehmuxn kn thimikhwamtxngkarmak mikicmak mixthikrnmak mikarerimmak emuxepnsmbti yxmmiphl mak karngankhuxkarkhakhay thimikhwamtxngkarnxy mikicnxy mixthikrnnxy mikarerimnxy emuxwibti yxmmiphlnxy chnid thanaaehngkarnganfaybrrphchakchnnnehmuxnkn thimikhwam txngkarnxy mikicnxy mixthikrnnxy mikarerimnxy emuxwibti yxmmiphlnxy thanaaehng karngankhuxkarkhakhaynnael thimikhwamtxngkarnxy mikicnxy mixthikrnnxy mikarerimnxy emuxepnsmbti yxmmiphlmak chnid thanaaehngkarnganfaybrrphchakchnnnehmuxnkn thimi khwamtxngkarnxy mikicnxy mixthikrnnxy mikarerimnxy emuxepnsmbti yxmmiphlmak enuxha 1 krrmthan 40 2 khidkhnkhwamsaerc 3 krrmthan 2 xyang 4 xangxing 5 duephim 6 aehlngkhxmulxunkrrmthan 40 aekikhkrrmthan 40 epnxubay 40 withithiichfukcitihekidsmathi kkhuxsingthiexamaihcitkahnd ephuxchknaihekidsmathi phxcitkahndcbsingniekhaaelw cachknaihcitaenwaenxyukbsingni cnepnsmathiidmnkhngaelaerwthisud inkhmphirxrrthkthaaelapkrn idrwbrwmaesdngkrrmthaniw 40 xyang khux ksin 10dubthkhwamhlkthi ksin aeplwa wtthuxncungic hruxwtthusahrbephng ephuxcungcitihepnsmathi epnwithiichwtthuphaynxkekhachwy odywithiephngephuxrwmcitihepnhnung mi 10 xyang khuxphutksin 4 ksinkhuxmhaphutrup idaek pthwiksin xaopksin etochksin waoyksin wrrnksin 4 idaek nilksin pitksin olhitksin oxthatksin ksinxun idaek xaolkksin xakasksinxsupha 10dubthkhwamhlkthi xsupha idaek karphicarnasaksphrayatangrwmkn 10 raya tngaetspherimkhunxud ipcnthungsphthiehluxaetokhrngkradukxnusti 10 khux xarmndingamthikhwrralukthungenuxng idaek phuththanusti thmmanusti sngkhanusti silanusti cakhanusti ethwtanusti mrnsti kaykhtasti xanapansti xupsmanustixppmyya 4 khux thrrmthiphungaephipinmnusy stwthnghlay xyangmiciticsmaesmxthwknimmipraman imcakdkhxbekht odymakeriykknwa phrhmwihar 4 khuxemtta khux prarthnadi miimtrixyakihmnusy stwthnghlay mikhwamsukhthwhna kruna khux xyakchwyehluxphuxunihphncakkhwamthukkh muthita khux phlxymiicaechmchunban emuxphuxunxyudimisukh aelaecriyngxkngam prasbkhwamsaercyingkhunip xuebkkha khux wangciteriybsngb smaesmx ethiyngtrngductachng mxngehnmnusy stwthnghlay idrbphldiray tamehtupccythiprakxb imexnexiyngipdwychxbhruxchngxahaer ptikulsyya kahndhmaykhwamepnptikulinxaharctuthatuwwtthan kahndphicarnathatu 4 khux phicarnaehnrangkaykhxngtn odyskwaepnthatu 4 aetlaxyangxrup 4 kahndsphawathiepnxrupthrrmepnxarmn ichidechphaaphuthiephngksin 9 xyangaerk cnidctutthchanmaaelw krrmthanaebbxrup mi 4 xyang khux xakasanycaytna wiyyanycaytna xakiycyyaytna enwsyyanasyyaytna raylaexiyd xrup 4 xakasanycaytna kahndchxngwanghathisudimid sungekidcakkarephikksinxxkip epnxarmnwiyyanycaytna kahndwiyyanhathisudmiid khuxelikkahndthiwang elyipkahndwiyyanaephipsuthiwangaethn epnxarmnxakiycyyaytna elikkahndwiyyanepnxarmn elyip kahndphawaimmixairelyepnxarmnenwsyyanasyyaytna elikkahndaemaetphawathiimmixairely ekhasuphawamisyyakimich immisyyakimichkhidkhnkhwamsaerc aekikhkhidkhnkhwamsaerckhxngkrrmthanaetlapraephth ksin 10 ptiphakhnimit xupcarsmathi pthmchan thutiychan ttiychan ctutthchanxsupha 10 ptiphakhnimit xupcarsmathi pthmchan thutiychan ttiychan ctutthchanxnusti 8khxaerk xupcarsmathikaykhtasti ptiphakhnimit xupcarsmathi pthmchanxanapansti ptiphakhnimit xupcarsmathi pthmchan thutiychan ttiychan ctutthchan xakasanycaytna wiyyanycaytna xakiycyyaytna enwsyyanasyyaytna aela syyaewthyitniorthxppmyya 3khxaerk xupcarsmathi pthmchan thutiychan ttiychanxuebkkhaphrhmwihar xupcarsmathi ctutthchanxahaerptikulsyya xupcarsmathictuthatuwwtthan xupcarsmathixakasanycaytna xupcarsmathi ctutthchan xakasanycaytnawiyyanycaytna xupcarsmathi ctutthchan wiyyanycaytnaxakiycyyaytna xupcarsmathi ctutthchan xakiycycaytnchanenwsyyanasyyaytna xupcarsmathi ctutthchan enwsyyanasyyaytnakrrmthan 2 xyang aekikhinkhmphirthangphraxphithrrmbrryayekiywkbkrrmthaniwwa karnganthiepnehtuaehngkarbrrluthrrm aelaaebngkrrmthanepnsxngxyang khux smtha epnxubay karyngkiels niwrnthnghlayihsngb rangb wipssna epnpyya ehnodyxakartang mikhwamimethiyng epntnxangxing aekikh phraitrpidkphasaithychbbhlwng elmthi 13 suttntpidk mchchimnikay mchchimpnnask hnathi 593 khxthi 713 phraitrpidkchbbsyamrth elmthi 13 sut tn tpitek mch chimnikays s mch chimpn nask hnathi 653 khxthi 713 phraitrpidkchbbsyamrth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phuthththrrm phraxphithmmtthsngkhhaduephim aekikhchan ecriyxanapansti baephystiptthan4 ihbriburninwikisxrsaehlngkhxmulxun aekikhthipsutr phraitrpidk elmthi 19 phrasuttntpidk elmthi 11 sngyuttnikay mhawarwrrkh wdpakrrmthan sayhlwngpumn phurithtot sthabnphlngcittanuphaph ksin krrmthanthithrngphlng wichchathrrmkay wdpakna phasiecriy monmyiththi wdthasung smathiephuxkarphxnkhlayrksasukhphaphkayaelacitodyxngkhrwmekhathungcak https th wikipedia org w index php title krrmthan amp oldid 9442006, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม