fbpx
วิกิพีเดีย

อรรถกถา

อรรถกถา (บาลี: อตฺถกถา; อ่านว่า อัดถะกะถา) คือคัมภีร์ที่รวบรวมคำอธิบายความในพระไตรปิฎกภาษาบาลี เรียกว่า คัมภีร์อรรถกถา บ้าง ปกรณ์อรรถกถา บ้าง อรรถกถา จัดเป็นแหล่งความรู้ทางพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญรองลงมาจากพระไตรปิฎก และใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงอย่างแพร่หลายในวงการศึกษาพระพุทธศาสนา

คัมภีร์อรรถกถาบาลีในปัจจุบันเป็นผลงานการแปลของพระพุทธโฆสะ ที่แปลยกจากภาษาสิงหลขึ้นสู่ภาษาบาลี

คัมภีร์อรรถกถา ไม่ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้า แต่เป็นคัมภีร์ที่อธิบายความหรือคำที่ยากในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้น โดยยกศัพท์ออกมาอธิบายเป็นศัพท์ ๆ บ้าง ยกข้อความหรือประโยคยาวๆ มาขยายความให้ชัดเจนขึ้นบ้าง แสดงทัศนะและวินิจฉัยของผู้แต่งสอดแทรกเข้าไว้บ้าง

ลักษณะการอธิบายความในพระไตรปิฎกของอรรถกถานั้น ไม่ได้นำทุกเรื่องในพระไตรปิฎกมาอธิบาย แต่นำเฉพาะบางศัพท์ วลี ประโยค หรือบางเรื่องที่อรรถกถาจารย์เห็นว่าควรอธิบายเพิ่มเติมเท่านั้น ดังนั้นบางเรื่องในพระไตรปิฎกจึงไม่มีอรรถกถาขยายความ เพราะอรรถกถาจารย์เห็นว่าเนื้อหาในพระไตรปิฎกส่วนนั้นเข้าใจได้ง่ายนั่นเอง

ความเป็นมาของคัมภีร์อรรถกถาในทางประวัติศาสตร์

ความเป็นมาของคัมภีร์อรรถกถาในเชิงประวัติศาสตร์ แบ่งได้เป็น 2 อย่าง คือ

  1. อรรถกถามีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล
  2. อรรถกถาเริ่มมีในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 ในรัชสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พ.ศ. 236

แต่อย่างไรก็ตามในช่วงหลัง คัมภีร์อรรถกถาภาษาบาลีดั้งเดิมได้สูญหายจากประเทศอินเดียไป เหลือเพียงคัมภีร์อรรถกถาภาษาสิงหล ซึ่งพระมหินทเถระได้นำอรรถกถาในภาษาบาลีมาเผยแพร่ในเกาะลังกาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ. 236)"

ดังนั้นในปี พ.ศ. 945 พระพุทธโฆสะ พระภิกษุชาวอินเดีย จึงได้รับอาราธนามาที่เกาะลังกาเพื่อแปลคัมภีร์อรรถกถากลับคืนสู่ภาษาบาลี ซึ่งคัมภีร์อรรถกถาที่มีอยู่ในปัจจุบันจึงเป็นผลงานการแปลของท่านพระพุทธโฆสะ

ทั้งนี้ อรรถกถาภาษาสิงหลโบราณที่พระอรรถกถาจารย์รุ่นต่อมา เช่น พระพุทธโฆสะและพระธัมมปาละ ได้ทำการเรียบเรียงขึ้นเป็นภาษามคธนั้น ต้นฉบับได้สูญหายไปหมดแล้ว แต่จากข้อมูลที่หลงเหลืออยู่ สามารถจำแนกแยกอรรถกถาโบราณเหล่านี้ออกเป็น 3 หมวด คือ

อรรถกถาวินัยปิฎก

  1. มหาอรรถกถา หรือมูลอรรถกถา เป็นผลงานของพระสงฆ์คณะมหาวิหารเมืองอนุราธปุระ ประเทศศรีลังกา แก้ครบทั้ง 3 ปิฎก ซึ่งมหาอรรถกถานี้ นำมาจากชมพูทวีปสู่เกาะสิงหล โดยพระมหามหินทเถระ แล้วแปลเรียบเรียงเป็นภาษาสิงหลไว้โดยพระเถระผู้แตกฉานในพระไตรปิฎกชาวสิงหล เพื่อหลีกเลี่ยงความเลอะเลือนแห่งคำวินิจฉัยที่มาจากต่างลัทธิต่างนิกาย และที่มาจากศาสนาอื่นๆ รวมถึงเพื่อความสะดวกแก่การศึกษาของพระสงฆ์ชาวสิงหล อรรถกถานี้เป็นความเป็นมาแต่เริ่มที่พระพุทธโฆสาจารย์ยึดถือเป็นต้นแบบในการแต่งอภินวอรรถกถา ซึ่งปรากฏเป็นผลงานของพระโปราณาจารย์ เรียกชื่อ ว่า สมันตปาสาทิกา และมหาปัจจรี เป็นต้น
  2. มหาปัจจรีอรรถกถา คือ อรรถกถาแพใหญ่ แต่งขณะที่นั่งบนแพ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
  3. กุรุนทีอรรถกถา แต่งที่กุรุนทีมหาวิหารในศรีลังกา ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
  4. อันธกัฏฐกถา แต่งเป็นภาษาอันธกะ แล้วสืบต่อกันมาขยายไปยังเมืองกัฏฐิปุระ หรือเมืองคอนเจวารามในอินเดียภาคใต้ ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
  5. สังเขปัฏฐกถา คือ อรรถกถาย่อ สันนิษฐานว่าน่าจะแต่งในอินเดียภาคใต้ ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
  6. วินัยอัฏฐกถา ไม่ปรากฏสถานที่แต่งและชื่อผู้แต่ง

อรรถกถาสุตตันตปิฎก

  1. มหาอรรถกถา หรือ มูลอรรถกถา
  2. สุตตันตอรรถกถา หรือ อรรถกถาพระสูตร
  3. อาคมัฏฐกกถา อรรถกถานิกาย 4
  4. ทีมัฏฐกถา อรรถกถาทีฆนิกาย
  5. มัชฌิมัฏฐกถา คืออรรถกถามัชฌิมนิกาย
  6. สังยุตตัฏฐกถา คืออรรถกถาสังยุตตนิกาย
  7. อังคุตตรัฏฐกถา คืออรรถกถาอังคุตตรนิกาย

อรรถกถาอภิธรรมปิฎก

  1. มหาอรรถกถา หรือมูลอรรถกถา
  2. อภิธัมมัฏฐกถา คืออรรถกถาอภิธรรม

นอกจากนี้ ยังมีอรรถกถาอื่นๆ อีก คือ

  1. จูฬปัจจรีย์อรรถกถา คือ สังเขปอรรถกถานั่นเอง
  2. อริยอรรถกถา คือ อรรถกถาภาษาอริยะ ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
  3. ปันนวาร (อรรถกถา) คือ อรรกถาที่ประมวลข้อวินิจฉัยจากมูลอรรถกถาหรือมหาอรรถกถา

อรรถกถาเหล่านี้เรียกว่า โปราณอรรถกถา หรือ อรรถกถาเก่า ซึ่งพระสังคีติกาจารย์ได้ยกขึ้นสู่สังคายนาถึง 3 ครั้งและนำเผยแพร่ยังเกาะสิงหลโดยพระมหามหินทเถระชาวชมพูทวีปภายหลังสังคายนาครั้งที่ 3 แล้วได้รับการแปลเรียบเรียงเป็นภาษาสิงหลเพื่อหลีกเลี่ยงความเลอะเลือนแห่งคำวินิจฉัยที่มาจากต่างลัทธิต่างนิกาย และที่มาจากศาสนาอื่นๆ

คัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎก (บางส่วน)

อรรถกถาที่พระพุทธโฆสะ พระพุทธทัตตะ พระธรรมปาละ พระอุปเสน และพระมหานามะ เป็นต้น แต่งและแปลเรียบเรียงจากมูลอรรถกถาหรือมหาอรรถกถาภาษาสิงหล เรียกว่า อภินวอรรถกถา หรืออรรถกถาใหม่ ซึ่งอรรถกถาของยุคอภินวอรรถกถาเริ่มจากคัมภีร์วิสุทธิมรรคเป็นต้นมาจัดว่าเป็นยุคที่วงการศึกษาคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาแสดงมติว่าเป็น“ยุคทองของอรรถกถา”เพราะมีอรรถกถาเกิดขึ้นมากมาย โดยเนื้อหาของอรรถกถาเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันในลักษณะอธิบายความที่สื่อต่อกันเป็นลำดับตามกระแสความ ซึ่งมีทั้งอรรถกถาพระวินัยปิฎก อรรถกถาพระสุตตันตปิฎกและอรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก

ต่อไปนี้คัมภีร์อรรถกถาอธิบายความในพระไตรปิฎก 45 เล่ม มีทั้งหมด 23 คัมภีร์ โดยอาจมีชื่อคัมภีร์ซ้ำกันบ้าง

คัมภีร์อรรถกถาพระวินัยปิฎก

  1. มหาวิภังค์ ภาค 1 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สมันตปาสาทิกา
  2. มหาวิภังค์ ภาค 2 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สมันตปาสาทิกา
  3. ภิกขุนีวิภังค์ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สมันตปาสาทิกา
  4. มหาวรรค ภาค 1 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สมันตปาสาทิกา
  5. มหาวรรค ภาค 2 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สมันตปาสาทิกา
  6. จุลวรรค ภาค 1 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สมันตปาสาทิกา
  7. จุลวรรค ภาค 2 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สมันตปาสาทิกา
  8. ปริวาร มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สมันตปาสาทิกา
  • นอกจากนี้ ยังมีคัมภีร์กังขาวิตรณี อรรถกถาพระปาติโมกข์ 

คัมภีร์อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก

คัมภีร์หลักในพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎก
๔๕ เล่ม

    พระวินัยปิฎก    
   
                                       
สุตฺ คัมภีร์
ขันธกะ
ปริ
               
   
    พระสุตตันตปิฎก    
   
                                                 
ที สํ องฺ ขุ
                                                 
   
    พระอภิธรรมปิฎก    
   
                                                           
สงฺ วิภงฺ ธา
ปุ.
กถา ย. ปัฏฐานปกรณ์
                       
   


  1. ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สุมังคลวิลาสินี
  2. ทีฆนิกาย มหาวรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สุมังคลวิลาสินี
  3. ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สุมังคลวิลาสินี
  4. มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปปัญจสูทนี
  5. มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปปัญจสูทนี
  6. มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปปัญจสูทนี
  7. สังยุตตนิกาย สคาถวรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สารัตถปกาสินี
  8. สังยุตตนิกาย นิทานวรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สารัตถปกาสินี
  9. สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สารัตถปกาสินี
  10. สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สารัตถปกาสินี
  11. สังยุตตนิกาย มหาวรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สารัตถปกาสินี
  12. อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ มโนรถปูรณี
  13. อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ มโนรถปูรณี
  14. อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ มโนรถปูรณี
  15. อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ มโนรถปูรณี
  16. อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ มโนรถปูรณี
  17. ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปรมัตถโชติกา
  18. ขุททกนิกาย ธรรมบท มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ธัมมปทัฏฐกถา
  19. ขุททกนิกาย อุทาน-อิติวุตตกะ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปรมัตถทีปนี
  20. ขุททกนิกาย สุตตนิบาต มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปรมัตถโชติกา
  21. ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ-เปตวัตถุ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปรมัตถทีปนี
  22. ขุททกนิกาย เถรคาถา-เถรีคาถา มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปรมัตถทีปนี
  23. ขุททกนิกาย ชาดก ภาค 1 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ชาตกัฏฐกถา
  24. ขุททกนิกาย ชาดก ภาค 2 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ชาตกัฏฐกถา
  25. ขุททกนิกาย มหานิทเทส มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สัทธัมมปัชโชติกา
  26. ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สัทธัมมปัชโชติกา
  27. ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สัทธัมมปกาสินี
  28. ขุททกนิกาย อปทาน ภาค 1 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ วิสุทธชนวิลาสินี
  29. ขุททกนิกาย อปทาน ภาค 2 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ วิสุทธชนวิลาสินี
  30. ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ มธุรัตถวิลาสินี
  31. ขุททกนิกาย จริยาปิฎก มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปรมัตถทีปนี
  • นอกจากนี้ ยังมีคัมภีร์สารัตถสมุจจัย อรรถกถาภาณวาร อธิบายเนื้อหาของพระสูตรและปาฐะต่างๆ จากพระสูตรและข้อควาจากพระวินัยหลากหลายที่มา ที่ปรากฏในภาณวาร หรือหนังสือสวดมนต์หลวง

คัมภีร์อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก

  1. ธัมมสังคณี มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ อัฏฐสาลินี
  2. วิภังค์ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ สัมโมหวิโนทนี
  3. ธาตุกถา มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ธาตุกถาปกรณ์อรรถกถา หรือปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  4. ปุคคลบัญญัติ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปุคคลบัญญัติปกรณ์อรรถกถา หรือปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  5. กถาวัตถุ มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ กถาวัตถุอรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  6. ยมก ภาค 1 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ยมกปกรณ์อรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  7. ยมก ภาค 2 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ยมกปกรณ์อรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  8. ปัฏฐาน ภาค 1 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปัฏฐานปกรณ์อรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  9. ปัฏฐาน ภาค 2 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปัฏฐานปกรณ์อรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  10. ปัฏฐาน ภาค 3 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปัฏฐานปกรณ์อรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  11. ปัฏฐาน ภาค 4 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปัฏฐานปกรณ์อรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  12. ปัฏฐาน ภาค 5 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปัฏฐานปกรณ์อรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)
  13. ปัฏฐาน ภาค 6 มีคัมภีร์อรรถกถาชื่อ ปัฏฐานปกรณ์อรรถกถา หรือ ปรมัตถทีปนีฉบับพระพุทธโฆสะ (ปัญจปกรณัฏฐกถา)

ดูเพิ่ม

  • พระไตรปิฎกภาษาบาลี คัมภีร์หลักทางพระพุทธศาสนา (คัมภีร์ชั้นต้น หรือชั้น 1)
  • ฎีกา คัมภีร์อธิบายความในอรรถกถาหรือฎีกา (คัมภีร์ชั้น 3)
  • อนุฎีกา คัมภีร์ที่พระอาจารย์ทั้งหลายแต่งแก้หรืออธิบายเพิ่มเติมฎีกา
  • โยชนา คัมภีร์ที่อธิบายความหมายของศัพท์และความสัมพันธ์ในประโยคของภาษาช่วยให้การแปลคัมภีร์อรรถกถาและฎีกา
  • คัณฐี คัมภีร์ที่พรรณาไปตามลำดับบท เลือกพรรณนาเฉพาะบทปาฐะ
  • ทีปนี คัมภีร์ที่พรรณนาความหมายคำอธิบายอย่างชัดเจน
  • มธุ คัมภีร์ที่รจนาขึ้นรวมกับมูลฎีกา โดยพรรณนาขอความของมูลฎีกา
  • ละตัน(ละตันอัฎฐกถา) คัมภีร์ชนิดเล็กๆ สั้นๆ เขียนโดยสังเขป ให้จำง่าย
  • นิสสยะ หรือ นิสสัย คัมภีร์แปลพระไตรปิฎกเป็นต้น เช่นแปลมาสู่ภาษาพม่า โดยวิธีการยกศัพท์
  • ปกรณ์วิเสส คัมภีร์หรือหนังสือที่พิเศษ ที่ไม่ได้แต่งอธิบายธรรมะตามคัมภีร์ใดคัมภีร์หนึ่งโดยเฉพาะ
  • สัททาวิเสส กลุ่มคัมภีร์ไวยกรณ์บาลีที่ว่าด้วยหลักภาษาในพระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์พื้นฐาน แห่งความเข้าใจในภาษาบาลีตลอดจนการเรียนรู้และวินิจฉัยข้ออรรถข้อธรรมในพระ ไตรปิฎก
  • คัมภีร์ทางศาสนาพุทธในประเทศไทย

อ้างอิง

  1. ณรงค์ จิตฺตโสภโณ, พระมหา. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2527
  2. เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธ์ปริญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2524. 184 หน้า. (อัดสำเนา)
  3. วรรณคดีบาลี. หน้า 68
  4. ธีรวัส บำเพ็ญบุญบารมี. ประวัติพระพุทธโฆษาจารย์.

บรรณานุกรม

  • พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
  • E.W.Adikaram,Early History of Buddhism in Ceylon (Columbo:M.D.Gunasena Co.,Ltd.,1953),p. 1.
  • คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2550). วรรณคดีบาลี. กรุงเทพฯ. กองวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ลำดับคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา [1]
  • ฝ่ายคัมภีร์พุทธศาสน์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย [2]
  • สุมังคลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกาย
  • ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย
  • สารัตถปกาสินี อรรถกถาสังยุตตนิกาย
  • มธุรัตถวิลาสินี อรรถกถาขุททกนิกาย พุทธวงศ์

อรรถกถา, บาล, อต, ถกถา, านว, ดถะกะถา, อค, มภ, รวบรวมคำอธ, บายความในพระไตรป, ฎกภาษาบาล, เร, ยกว, มภ, าง, ปกรณ, าง, ดเป, นแหล, งความร, ทางพระพ, ทธศาสนาท, ความสำค, ญรองลงมาจากพระไตรป, ฎก, และใช, เป, นหล, กฐานอ, างอ, งอย, างแพร, หลายในวงการศ, กษาพระพ, ทธศาสนาค, มภ. xrrthktha bali xt thktha xanwa xdthakatha khuxkhmphirthirwbrwmkhaxthibaykhwaminphraitrpidkphasabali eriykwa khmphirxrrthktha bang pkrnxrrthktha bang xrrthktha cdepnaehlngkhwamruthangphraphuththsasnathimikhwamsakhyrxnglngmacakphraitrpidk aelaichepnhlkthanxangxingxyangaephrhlayinwngkarsuksaphraphuththsasnakhmphirxrrthkthabaliinpccubnepnphlngankaraeplkhxngphraphuththokhsa thiaeplykcakphasasinghlkhunsuphasabali khmphirxrrthktha imichkhasxnkhxngphraphuththeca aetepnkhmphirthixthibaykhwamhruxkhathiyakinphraitrpidkihekhaicngaykhun odyyksphthxxkmaxthibayepnsphth bang ykkhxkhwamhruxpraoykhyaw makhyaykhwamihchdecnkhunbang aesdngthsnaaelawinicchykhxngphuaetngsxdaethrkekhaiwbanglksnakarxthibaykhwaminphraitrpidkkhxngxrrthkthann imidnathukeruxnginphraitrpidkmaxthibay aetnaechphaabangsphth wli praoykh hruxbangeruxngthixrrthkthacaryehnwakhwrxthibayephimetimethann dngnnbangeruxnginphraitrpidkcungimmixrrthkthakhyaykhwam ephraaxrrthkthacaryehnwaenuxhainphraitrpidkswnnnekhaicidngaynnexng 1 enuxha 1 khwamepnmakhxngkhmphirxrrthkthainthangprawtisastr 1 1 xrrthkthawinypidk 1 2 xrrthkthasuttntpidk 1 3 xrrthkthaxphithrrmpidk 2 khmphirxrrthkthaphraitrpidk bangswn 2 1 khmphirxrrthkthaphrawinypidk 2 2 khmphirxrrthkthaphrasuttntpidk 2 3 khmphirxrrthkthaphraxphithrrmpidk 3 duephim 4 xangxing 5 brrnanukrm 6 aehlngkhxmulxunkhwamepnmakhxngkhmphirxrrthkthainthangprawtisastr aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkhwamepnmakhxngkhmphirxrrthkthainechingprawtisastr aebngidepn 2 xyang khux xrrthkthamimatngaetsmyphuththkal xrrthkthaerimmiinsmysngkhaynakhrngthi 3 inrchsmyphraecaxoskmharach ph s 236aetxyangirktaminchwnghlng khmphirxrrthkthaphasabalidngedimidsuyhaycakpraethsxinediyip ehluxephiyngkhmphirxrrthkthaphasasinghl sungphramhinthethraidnaxrrthkthainphasabalimaephyaephrinekaalngkatngaetsmyphraecaxoskmharach ph s 236 dngnninpi ph s 945 phraphuththokhsa phraphiksuchawxinediy cungidrbxarathnamathiekaalngkaephuxaeplkhmphirxrrthkthaklbkhunsuphasabali sungkhmphirxrrthkthathimixyuinpccubncungepnphlngankaraeplkhxngthanphraphuththokhsa 2 thngni xrrthkthaphasasinghlobranthiphraxrrthkthacaryruntxma echn phraphuththokhsaaelaphrathmmpala idthakareriyberiyngkhunepnphasamkhthnn tnchbbidsuyhayiphmdaelw aetcakkhxmulthihlngehluxxyu samarthcaaenkaeykxrrthkthaobranehlanixxkepn 3 hmwd khux xrrthkthawinypidk aekikh mhaxrrthktha hruxmulxrrthktha epnphlngankhxngphrasngkhkhnamhawiharemuxngxnurathpura praethssrilngka aekkhrbthng 3 pidk sungmhaxrrthkthani namacakchmphuthwipsuekaasinghl odyphramhamhinthethra aelwaepleriyberiyngepnphasasinghliwodyphraethraphuaetkchaninphraitrpidkchawsinghl ephuxhlikeliyngkhwamelxaeluxnaehngkhawinicchythimacaktanglththitangnikay aelathimacaksasnaxun rwmthungephuxkhwamsadwkaekkarsuksakhxngphrasngkhchawsinghl xrrthkthaniepnkhwamepnmaaeterimthiphraphuththokhsacaryyudthuxepntnaebbinkaraetngxphinwxrrthktha sungpraktepnphlngankhxngphraopranacary eriykchux wa smntpasathika aelamhapccri epntn 3 mhapccrixrrthktha khux xrrthkthaaephihy aetngkhnathinngbnaeph n thiidthihnung impraktchuxphuaetng kurunthixrrthktha aetngthikurunthimhawiharinsrilngka impraktchuxphuaetng xnthktthktha aetngepnphasaxnthka aelwsubtxknmakhyayipyngemuxngktthipura hruxemuxngkhxnecwaraminxinediyphakhit impraktchuxphuaetng sngekhptthktha khux xrrthkthayx snnisthanwanacaaetnginxinediyphakhit impraktchuxphuaetng winyxtthktha impraktsthanthiaetngaelachuxphuaetng 4 xrrthkthasuttntpidk aekikh mhaxrrthktha hrux mulxrrthktha suttntxrrthktha hrux xrrthkthaphrasutr xakhmtthkktha xrrthkthanikay 4 thimtthktha xrrthkthathikhnikay mchchimtthktha khuxxrrthkthamchchimnikay sngyutttthktha khuxxrrthkthasngyuttnikay xngkhuttrtthktha khuxxrrthkthaxngkhuttrnikay 4 xrrthkthaxphithrrmpidk aekikh mhaxrrthktha hruxmulxrrthktha xphithmmtthktha khuxxrrthkthaxphithrrm 4 nxkcakni yngmixrrthkthaxun xik khux culpccriyxrrthktha khux sngekhpxrrthkthannexng xriyxrrthktha khux xrrthkthaphasaxriya impraktchuxphuaetng pnnwar xrrthktha khux xrrkthathipramwlkhxwinicchycakmulxrrthkthahruxmhaxrrthkthaxrrthkthaehlanieriykwa opranxrrthktha hrux xrrthkthaeka sungphrasngkhitikacaryidykkhunsusngkhaynathung 3 khrngaelanaephyaephryngekaasinghlodyphramhamhinthethrachawchmphuthwipphayhlngsngkhaynakhrngthi 3 aelwidrbkaraepleriyberiyngepnphasasinghlephuxhlikeliyngkhwamelxaeluxnaehngkhawinicchythimacaktanglththitangnikay aelathimacaksasnaxun 3 khmphirxrrthkthaphraitrpidk bangswn aekikhxrrthkthathiphraphuththokhsa phraphuthththtta phrathrrmpala phraxupesn aelaphramhanama epntn aetngaelaaepleriyberiyngcakmulxrrthkthahruxmhaxrrthkthaphasasinghl eriykwa xphinwxrrthktha hruxxrrthkthaihm sungxrrthkthakhxngyukhxphinwxrrthkthaerimcakkhmphirwisuththimrrkhepntnmacdwaepnyukhthiwngkarsuksakhmphirthangphraphuththsasnaaesdngmtiwaepn yukhthxngkhxngxrrthktha ephraamixrrthkthaekidkhunmakmay odyenuxhakhxngxrrthkthaehlannmikhwamsmphnthkninlksnaxthibaykhwamthisuxtxknepnladbtamkraaeskhwam sungmithngxrrthkthaphrawinypidk xrrthkthaphrasuttntpidkaelaxrrthkthaphraxphithrrmpidk 3 txipnikhmphirxrrthkthaxthibaykhwaminphraitrpidk 45 elm mithnghmd 23 khmphir odyxacmichuxkhmphirsaknbang khmphirxrrthkthaphrawinypidk aekikh mhawiphngkh phakh 1 mikhmphirxrrthkthachux smntpasathika mhawiphngkh phakh 2 mikhmphirxrrthkthachux smntpasathika phikkhuniwiphngkh mikhmphirxrrthkthachux smntpasathika mhawrrkh phakh 1 mikhmphirxrrthkthachux smntpasathika mhawrrkh phakh 2 mikhmphirxrrthkthachux smntpasathika culwrrkh phakh 1 mikhmphirxrrthkthachux smntpasathika culwrrkh phakh 2 mikhmphirxrrthkthachux smntpasathika priwar mikhmphirxrrthkthachux smntpasathikanxkcakni yngmikhmphirkngkhawitrni xrrthkthaphrapatiomkkh khmphirxrrthkthaphrasuttntpidk aekikh khmphirhlkinphraphuththsasnaphraitrpidk45 elm phrawinypidk sut khmphirkhnthkapri phrasuttntpidk thimsxng khu phraxphithrrmpidk sng wiphng thapu kthay ptthanpkrn thikhnikay silkhnthwrrkh mikhmphirxrrthkthachux sumngkhlwilasini thikhnikay mhawrrkh mikhmphirxrrthkthachux sumngkhlwilasini thikhnikay patikwrrkh mikhmphirxrrthkthachux sumngkhlwilasini mchchimnikay mulpnnask mikhmphirxrrthkthachux ppycsuthni mchchimnikay mchchimpnnask mikhmphirxrrthkthachux ppycsuthni mchchimnikay xupripnnask mikhmphirxrrthkthachux ppycsuthni sngyuttnikay skhathwrrkh mikhmphirxrrthkthachux sartthpkasini sngyuttnikay nithanwrrkh mikhmphirxrrthkthachux sartthpkasini sngyuttnikay khnthwarwrrkh mikhmphirxrrthkthachux sartthpkasini sngyuttnikay slaytnwrrkh mikhmphirxrrthkthachux sartthpkasini sngyuttnikay mhawrrkh mikhmphirxrrthkthachux sartthpkasini xngkhuttrnikay exk thuk tiknibat mikhmphirxrrthkthachux monrthpurni xngkhuttrnikay ctukknibat mikhmphirxrrthkthachux monrthpurni xngkhuttrnikay pyck chkknibat mikhmphirxrrthkthachux monrthpurni xngkhuttrnikay sttk xtthk nwknibat mikhmphirxrrthkthachux monrthpurni xngkhuttrnikay thsk exkathsknibat mikhmphirxrrthkthachux monrthpurni khuththknikay khuththkpatha mikhmphirxrrthkthachux prmtthochtika khuththknikay thrrmbth mikhmphirxrrthkthachux thmmpthtthktha khuththknikay xuthan xitiwuttka mikhmphirxrrthkthachux prmtththipni khuththknikay suttnibat mikhmphirxrrthkthachux prmtthochtika khuththknikay wimanwtthu eptwtthu mikhmphirxrrthkthachux prmtththipni khuththknikay ethrkhatha ethrikhatha mikhmphirxrrthkthachux prmtththipni khuththknikay chadk phakh 1 mikhmphirxrrthkthachux chatktthktha khuththknikay chadk phakh 2 mikhmphirxrrthkthachux chatktthktha khuththknikay mhanitheths mikhmphirxrrthkthachux sththmmpchochtika khuththknikay culnitheths mikhmphirxrrthkthachux sththmmpchochtika khuththknikay ptismphithamrrkh mikhmphirxrrthkthachux sththmmpkasini khuththknikay xpthan phakh 1 mikhmphirxrrthkthachux wisuththchnwilasini khuththknikay xpthan phakh 2 mikhmphirxrrthkthachux wisuththchnwilasini khuththknikay phuththwngs mikhmphirxrrthkthachux mthurtthwilasini khuththknikay criyapidk mikhmphirxrrthkthachux prmtththipninxkcakni yngmikhmphirsartthsmuccy xrrthkthaphanwar xthibayenuxhakhxngphrasutraelapathatang cakphrasutraelakhxkhwacakphrawinyhlakhlaythima thipraktinphanwar hruxhnngsuxswdmnthlwngkhmphirxrrthkthaphraxphithrrmpidk aekikh thmmsngkhni mikhmphirxrrthkthachux xtthsalini wiphngkh mikhmphirxrrthkthachux smomhwionthni thatuktha mikhmphirxrrthkthachux thatukthapkrnxrrthktha hruxprmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha pukhkhlbyyti mikhmphirxrrthkthachux pukhkhlbyytipkrnxrrthktha hruxprmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha kthawtthu mikhmphirxrrthkthachux kthawtthuxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha ymk phakh 1 mikhmphirxrrthkthachux ymkpkrnxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha ymk phakh 2 mikhmphirxrrthkthachux ymkpkrnxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha ptthan phakh 1 mikhmphirxrrthkthachux ptthanpkrnxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha ptthan phakh 2 mikhmphirxrrthkthachux ptthanpkrnxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha ptthan phakh 3 mikhmphirxrrthkthachux ptthanpkrnxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha ptthan phakh 4 mikhmphirxrrthkthachux ptthanpkrnxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha ptthan phakh 5 mikhmphirxrrthkthachux ptthanpkrnxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha ptthan phakh 6 mikhmphirxrrthkthachux ptthanpkrnxrrthktha hrux prmtththipnichbbphraphuththokhsa pycpkrntthktha duephim aekikhphraitrpidkphasabali khmphirhlkthangphraphuththsasna khmphirchntn hruxchn 1 dika khmphirxthibaykhwaminxrrthkthahruxdika khmphirchn 3 xnudika khmphirthiphraxacarythnghlayaetngaekhruxxthibayephimetimdika oychna khmphirthixthibaykhwamhmaykhxngsphthaelakhwamsmphnthinpraoykhkhxngphasachwyihkaraeplkhmphirxrrthkthaaeladika khnthi khmphirthiphrrnaiptamladbbth eluxkphrrnnaechphaabthpatha thipni khmphirthiphrrnnakhwamhmaykhaxthibayxyangchdecn mthu khmphirthircnakhunrwmkbmuldika odyphrrnnakhxkhwamkhxngmuldika latn latnxdthktha khmphirchnidelk sn ekhiynodysngekhp ihcangay nissya hrux nissy khmphiraeplphraitrpidkepntn echnaeplmasuphasaphma odywithikaryksphth pkrnwiess khmphirhruxhnngsuxthiphiess thiimidaetngxthibaythrrmatamkhmphiridkhmphirhnungodyechphaa sththawiess klumkhmphiriwykrnbalithiwadwyhlkphasainphraitrpidkepnkhmphirphunthan aehngkhwamekhaicinphasabalitlxdcnkareriynruaelawinicchykhxxrrthkhxthrrminphra itrpidk khmphirthangsasnaphuththinpraethsithyxangxing aekikh nrngkh cit tosphon phramha khwamruebuxngtnekiywkbphraitrpidk krungethph sankphimphmhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly 2527 ethphrtnrachsuda syambrmrachkumari smedcphra thsbarmiinphuththsasnaethrwath withyaniphnthpriyaxksrsastrmhabnthit phakhwichaphasatawnxxk bnthitwithyaly culalngkrnmhawithyaly 2524 184 hna xdsaena 3 0 3 1 3 2 wrrnkhdibali hna 68 4 0 4 1 4 2 thirws baephybuybarmi prawtiphraphuththokhsacary brrnanukrm aekikhphrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548 E W Adikaram Early History of Buddhism in Ceylon Columbo M D Gunasena Co Ltd 1953 p 1 khnacarymhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly 2550 wrrnkhdibali krungethph kxngwichakar mhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly aehlngkhxmulxun aekikhladbkhmphirthangphraphuththsasna 1 faykhmphirphuththsasn mhaculalngkrnrachwithyaly 2 sumngkhlwilasini xrrthkthathikhnikay ppycsuthni xrrthkthamchchimnikay sartthpkasini xrrthkthasngyuttnikay mthurtthwilasini xrrthkthakhuththknikay phuththwngsekhathungcak https th wikipedia org w index php title xrrthktha amp oldid 9365757, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม