fbpx
วิกิพีเดีย

กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี

กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี (Orbiter Vehicle Designation: OV-103) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 3 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-103 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์)

ดิสคัฟเวอรี่
Discovery

กระสวยอวกาศ ดิสคัฟเวอรี่ กำลังปล่อยยานจาก ฐานปล่อยยาน 39A ในเที่ยวบินSTS-124
ประเทศ สหรัฐอเมริกา
หน่วยงาน นาซ่า
ตั้งชื่อตาม เรือ RRS Discovery
รหัส OV-103
วันทำสัญญา 29 มกราคม พ.ศ. 2522
บินครั้งแรก STS-41-D
30 สิงหาคม พ.ศ. 2527
- 5 กันยายน พ.ศ. 2527
บินครั้งสุดท้าย STS-133
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
- 9 มีนาคม พ.ศ. 2554
ระดับโคจร 195,938,294 กม.
(121,796,3162 ไมล์)
สถิติภารกิจ 36
สถิติวันที่บิน 310.60 วัน
สถิติโคจร 4,888
เทียบดาวเทียม 31 (รวมภารกิจการปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล)
เทียบสถานีอวกาศ Mir 1 ครั้ง, ISS 9 ครั้ง
สถานะ ปลดประจำการเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ 2554


กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีในเที่ยวบิน STS-92, พ.ศ. 2543 (ภาพจากองค์การนาซา)

เริ่มบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ดิสคัฟเวอรี ถือเป็นกระสวยอวกาศปฏิบัติการลำที่สาม (ไม่รวมกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ ซึ่งเป็นยานทดสอบ) และเป็นกระสวยอวกาศลำที่มีระยะปฏิบัติการยาวนานที่สุด ในบรรดากระสวยอวกาศทั้งหมด ดิสคัฟเวอรีมีปฏิบัติการหลายชนิด ทั้งงานวิจัย และภารกิจร่วมกับสถานีอวกาศนานาชาติ

กระสวยอวกาศลำนี้ได้ชื่อมาจากเรือสำรวจหลายลำในอดีตที่ชื่อ ดิสคัฟเวอรี โดยเรือดิสคัฟเวอรีลำแรก คือ HMS Discovery ของอังกฤษ ซึ่งเป็นเรือสำรวจที่พา เจมส์ คุก เดินทางครั้งสำคัญ นอกจากนี้ยังมีเรือดิสคัฟเวอรีอื่น ๆ อีกมากมาย กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรียังมีชื่อตรงกับยานอวกาศในภาพยนตร์เรื่อง 2001: A Space Odyssey ด้วย

ยานดิสคัฟเวอรีเป็นกระสวยอวกาศที่ขึ้นไปปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) รวมทั้งภารกิจซ่อมแซมกล้องฮับเบิลในครั้งที่สองและสามด้วย นอกจากนี้ยังมีภารกิจปล่อยโพร้บยูลิสซิส (Ulysses) และดาวเทียม TDRS สามดวง ยานดิสคัฟเวอรีได้รับเลือกถึงสองครั้งให้ทำหน้าที่แทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ และกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ที่ระเบิดเมื่อ ค.ศ. 1986 และ ค.ศ. 2003 ตามลำดับ

เที่ยวบิน STS-114

เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 เวลา 10.36 EDT กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีได้บินเข้าสู่อวกาศ โดยมี นาวาอากาศเอก ไอลีน คอลลินส์ เป็นผู้บังคับการบิน ถือเป็นการบินครั้งแรก นับแต่กระสวยอวกาศโคลัมเบียระเบิด เมื่อปี ค.ศ. 2003 และกลับจากวงโคจรในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 2005 โดยลงจอดที่ฐานทัพอากาศเอ็ดเวิดส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เมื่อเวลา 5.11 น. ตามเวลาท้องถิ่น หลังจากขึ้นไปปฏิบัติภารกิจนานกว่า 14 วัน 11 ชั่วโมง

แผนการปลดระวาง

จากตารางการขึ้นบินปัจจุบัน กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีมีกำหนดปลดระวางในปี ค.ศ. 2011 และจะเป็นกระสวยอวกาศลำที่สามจากสุดท้ายที่จะทำการขึ้นบิน โดยมีเที่ยวบิน STS-133 เป็นภารกิจสุดท้าย

เครื่องหมายภารกิจ

NASA Orbiter Tribute for Space Shuttle Discovery
เครื่องหมายภารกิจสำหรับเที่ยวบินของดิสคัฟเวอรี
STS-41-D
STS-51-A
STS-51-C
STS-51-D
STS-51-G
STS-51-I
STS-26
STS 29
STS 33
STS 31
STS 41
STS 39
STS 48
STS 42
STS 53
STS 56
STS 51
STS 60
STS 64
STS 63
STS 70
STS 82
STS 85
STS 91
STS 95
STS 96
STS 103
STS 92
STS 102
STS 105
STS 114
STS 121
STS 116
STS 120
STS 124
STS 119
STS 128
STS 131
STS 133

แหล่งข้อมูลอื่น

  • โครงการสเปซชัตเติล เลื่อนกำหนดส่ง ยานดิสคัฟเวอรี่ ไปถึงเดือนกรกฎาคม นี้ (เที่ยวบิน STS-114)

กระสวยอวกาศด, สค, ฟเวอร, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, orbiter, vehicle, designation, เป, นกระสวยอวกาศลำท, ขององค, การนา. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkraswyxwkasdiskhfewxri Orbiter Vehicle Designation OV 103 epnkraswyxwkaslathi 3 khxngxngkhkarnasa shrthxemrika hmayelkhpracayan khux OV 103 kraswyxwkaslaxunidaek aextaelntis aela exnedfewxr diskhfewxriDiscoverykraswyxwkas diskhfewxri kalngplxyyancak thanplxyyan 39A inethiywbinSTS 124praeths shrthxemrikahnwyngan nasatngchuxtam erux RRS Discoveryrhs OV 103wnthasyya 29 mkrakhm ph s 2522binkhrngaerk STS 41 D30 singhakhm ph s 2527 5 knyayn ph s 2527binkhrngsudthay STS 13324 kumphaphnth ph s 2554 9 minakhm ph s 2554radbokhcr 195 938 294 km 121 796 3162 iml sthitipharkic 36sthitiwnthibin 310 60 wnsthitiokhcr 4 888ethiybdawethiym 31 rwmpharkickarplxyklxngothrthrrsnxwkashbebil ethiybsthanixwkas Mir 1 khrng ISS 9 khrngsthana pldpracakaremuxwnthi 9 minakhm ph s 2554 kraswyxwkasdiskhfewxriinethiywbin STS 92 ph s 2543 phaphcakxngkhkarnasa erimbinkhrngaerkemuxwnthi 30 singhakhm ph s 2527 kh s 1984 diskhfewxri thuxepnkraswyxwkasptibtikarlathisam imrwmkraswyxwkasexnethxriphrs sungepnyanthdsxb aelaepnkraswyxwkaslathimirayaptibtikaryawnanthisud inbrrdakraswyxwkasthnghmd diskhfewxrimiptibtikarhlaychnid thngnganwicy aelapharkicrwmkbsthanixwkasnanachatikraswyxwkaslaniidchuxmacakeruxsarwchlaylainxditthichux diskhfewxri odyeruxdiskhfewxrilaaerk khux HMS Discovery khxngxngkvs sungepneruxsarwcthipha ecms khuk edinthangkhrngsakhy nxkcakniyngmieruxdiskhfewxrixun xikmakmay kraswyxwkasdiskhfewxriyngmichuxtrngkbyanxwkasinphaphyntreruxng 2001 A Space Odyssey dwyyandiskhfewxriepnkraswyxwkasthikhunipplxyklxngothrthrrsnxwkashbebil Hubble Space Telescope rwmthngpharkicsxmaesmklxnghbebilinkhrngthisxngaelasamdwy nxkcakniyngmipharkicplxyophrbyulissis Ulysses aeladawethiym TDRS samdwng yandiskhfewxriidrbeluxkthungsxngkhrngihthahnathiaethnkraswyxwkaschaelnecxr aelakraswyxwkasokhlmebiy thiraebidemux kh s 1986 aela kh s 2003 tamladbethiywbin STS 114 aekikhemuxwnthi 26 krkdakhm kh s 2005 ewla 10 36 EDT kraswyxwkasdiskhfewxriidbinekhasuxwkas odymi nawaxakasexk ixlin khxllins epnphubngkhbkarbin thuxepnkarbinkhrngaerk nbaetkraswyxwkasokhlmebiyraebid emuxpi kh s 2003 aelaklbcakwngokhcrinwnthi 9 singhakhm kh s 2005 odylngcxdthithanthphxakasexdewids rthaekhlifxreniy shrthxemrika emuxewla 5 11 n tamewlathxngthin hlngcakkhunipptibtipharkicnankwa 14 wn 11 chwomng khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb kraswyxwkasdiskhfewxriaephnkarpldrawang aekikhcaktarangkarkhunbinpccubn kraswyxwkasdiskhfewxrimikahndpldrawanginpi kh s 2011 aelacaepnkraswyxwkaslathisamcaksudthaythicathakarkhunbin odymiethiywbin STS 133 epnpharkicsudthay ekhruxnghmaypharkic aekikh NASA Orbiter Tribute for Space Shuttle Discovery ekhruxnghmaypharkicsahrbethiywbinkhxngdiskhfewxri STS 41 D STS 51 A STS 51 C STS 51 D STS 51 G STS 51 I STS 26 STS 29 STS 33 STS 31 STS 41 STS 39 STS 48 STS 42 STS 53 STS 56 STS 51 STS 60 STS 64 STS 63 STS 70 STS 82 STS 85 STS 91 STS 95 STS 96 STS 103 STS 92 STS 102 STS 105 STS 114 STS 121 STS 116 STS 120 STS 124 STS 119 STS 128 STS 131 STS 133aehlngkhxmulxun aekikhokhrngkarsepschtetil eluxnkahndsng yandiskhfewxri ipthungeduxnkrkdakhm ni ethiywbin STS 114 bthkhwamekiywkbethkhonolyi hrux singpradisthniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title kraswyxwkasdiskhfewxri amp oldid 9497939, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม