fbpx
วิกิพีเดีย

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (อังกฤษ: National Aeronautics and Space Administration) หรือ องค์การนาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐ คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ
คำขวัญ: เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน
ที่ทำการ
วอชิงตัน ดี.ซี.
38°52′59″N 77°0′59″W / 38.88306°N 77.01639°W / 38.88306; -77.01639
ภาพรวม
วันก่อตั้ง 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501
บุคลากร 17,345+
งบประมาณ US$ 18.01 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2559)
ผู้บริหารหลัก ชาลส์ โบลเดน, ผู้บริหาร
ดาวา นิวแมน, รองผู้บริหาร
ในกำกับดูแลของ รัฐบาลแห่งสหรัฐ
เว็บไซต์
nasa.gov

คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all)

ประวัติ

การแข่งขันในการสำรวจอวกาศ

หลังจากสหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมดวงแรกของโลก (ดาวเทียมสปุตนิค 1) ขึ้นสู่อวกาศ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) สหรัฐฯ เริ่มหันมาใส่ใจกับโครงการอวกาศของตนเองมากขึ้น สภาคองเกรสรู้สึกหวั่นเกรงต่อภัยด้านความมั่นคงและภาวะความเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีของตน ประธานาธิบดีดไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร์ และคณะที่ปรึกษาได้ประชุมหารือกันเป็นเวลานานหลายเดือนจนได้ข้อสรุปว่า สหรัฐฯ จำเป็นต้องก่อตั้งหน่วยงานราชการขึ้นใหม่ ให้ทำหน้าที่เกี่ยวกับกิจกรรมอวกาศทั้งหมดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทหาร

วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ลงนามในกฎหมายการบินและอวกาศแห่งชาติ ค.ศ. 1958 เพื่อก่อตั้งองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (NASA) เริ่มปฏิบัติงานในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ขณะนั้นนาซาประกอบด้วยห้องปฏิบัติการ 4 แห่ง มีพนักงานประมาณ 8,000 คน ที่โอนมาจากคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการบินแห่งชาติ (NACA) ซึ่งเป็นหน่วยงานวิจัยของรัฐที่มีอายุกว่า 46 ปี

โครงการในระยะแรกของนาซาเป็นการวิจัยโดยมีเป้าหมายส่งมนุษย์ขึ้นไปกับยานอวกาศ ดำเนินไปพร้อมแรงกดดันจากการแข่งขันกับสหภาพโซเวียตในระหว่างสงครามเย็น นาซาเริ่มต้นศึกษาความเป็นไปได้ ในการใช้ชีวิตของมนุษย์ในห้วงอวกาศด้วยโครงการเมอร์คิวรีในปี พ.ศ. 2501 ต่อมาวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) นักบินอวกาศ อลัน บี. เชเพิร์ด จูเนียร์ กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรกในอวกาศ เมื่อเขาเดินทางไปกับยานฟรีดอม 7 ในภารกิจนาน 15 นาที แบบไม่เต็มวงโคจร หลังจากนั้นจอห์น เกล็นน์ กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรกที่โคจรรอบโลกเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ในการขึ้นบินนาน 5 ชั่วโมงกับ ยานเฟรนด์ชิป 7

โครงการอะพอลโล

ดูบทความหลักที่: โครงการอะพอลโล
 
บัซซ์ อัลดริน ก้าวเดินบนพื้นผิวดวงจันทร์ ในการเดินทางไปกับยานอะพอลโล 11

เมื่อโครงการเมอร์คิวรีพิสูจน์และยืนยันว่า การส่งมนุษย์ขึ้นไปโคจรในอวกาศสามารถเป็นไปได้ นาซาจึงเริ่มโครงการอะพอลโล โดยเป็นความพยายามส่งมนุษย์ไปโคจรรอบดวงจันทร์ โดยยังไม่มีเป้าหมายส่งมนุษย์เหยียบพื้นผิวดวงจันทร์แต่อย่างใด ทิศทางของโครงการอะพอลโลเปลี่ยนไปเมื่อประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี ประกาศเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) ว่าสหรัฐจะ "ส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์แล้วกลับสู่โลกอย่างปลอดภัย" ภายในปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) โครงการอะพอลโลจึงกลายเป็นโครงการนำมนุษย์ลงสู่พื้นผิวดวงจันทร์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ โครงการเจมินีเริ่มต้นขึ้นไม่นานหลังจากนั้น เพื่อทดสอบและยืนยันเทคนิค ที่จำเป็นต้องใช้กับโครงการอะพอลโลที่ซับซ้อนขึ้น

หลังจาก 8 ปีของภารกิจเบื้องต้นฃน ซึ่งรวมถึงอุบัติเหตุเพลิงไหม้ที่คร่าชีวิตนักบินอวกาศ 3 คนในยานอะพอลโล 1 โครงการอะพอลโลบรรลุเป้าหมายได้ในที่สุดเมื่อยานอะพอลโล 11 นำนีล อาร์มสตรอง และบัซซ์ อัลดริน ลงสัมผัสพื้นผิวดวงจันทร์เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) และกลับสู่โลกอย่างปลอดภัยในวันที่ 24 กรกฎาคม ถ้อยคำแรกที่อาร์มสตรองกล่าวหลังจากก้าวออกจากยานลงจอด อีเกิ้ล คือ "นี่เป็นก้าวเล็ก ๆ ของคน ๆ หนึ่ง แต่เป็นก้าวกระโดดที่ยิ่งใหญ่ของมวลมนุษยชาติ"

แม้ว่าองค์การนาซาจะทำให้สหรัฐฯ ได้ชัยชนะในการแข่งขันกับโซเวียต แต่ความสนใจของชาวอเมริกันที่มีต่อโครงการอวกาศ อันจะทำให้สภาคองเกรสทุ่มงบประมาณให้กับนาซา กลับลดน้อยถอยลง นาซาสูญเสียผู้สนับสนุนในสภาหลังจากลินดอน บี. จอห์นสัน ลงจากตำแหน่งประธานาธิบดี ผู้ที่มีบทบาทในการวิ่งเต้นเพื่อผลักดันงบประมาณให้กับนาซาในเวลาต่อมา คือ เวอร์เนอร์ ฟอน บราวน์ วิศวกรผู้เชี่ยวชาญด้านจรวดชาวเยอรมัน เขาเสนอแผนสร้างสถานีอวกาศ ฐานปฏิบัติการบนดวงจันทร์ และโครงการส่งมนุษย์ไปดาวอังคารภายในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) แต่สุดท้ายก็ไม่สามารถดำเนินการได้เพราะประสิทธิภาพของเทคโนโลยีจรวดขณะนั้นยังไม่ดีพอ อุบัติเหตุการระเบิดของถังออกซิเจน ที่เกือบจะเป็นโศกนาฏกรรมกับนักบินบนยานอะพอลโล 13 ทำให้ประชาชนเริ่มกลับมาสนใจในโครงการอวกาศ อย่างไรก็ตาม ยานอะพอลโล 17 เป็นยานลำสุดท้ายที่ขึ้นบินภายใต้สัญลักษณ์อะพอลโล แม้ว่าโครงการอะพอลโลมีแผนไปถึงยานอะพอลโล 20 โครงการอะพอลโลสิ้นสุดลงก่อนกำหนดเนื่องจากถูกตัดงบประมาณ (ส่วนหนึ่งเป็นผลจากสงครามเวียดนาม) และนาซาปรารถนาที่จะพัฒนายานอวกาศที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้

สกายแลป

ดูบทความหลักที่: สถานีอวกาศสกายแล็บ
 
สถานีอวกาศสกายแลป

สกายแลปเป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของสหรัฐอเมริกา สถานีนี้มีน้ำหนักกว่า 75 ตัน โคจรรอบโลกเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ถึงปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) สามารถรองรับคนได้ 3 คนต่อภารกิจ สกายแลปเป็นสถานีต้นแบบในการเรียนรู้การใช้ชีวิตในอวกาศ และใช้ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์บ้าง เดิมทีสกายแลปวางแผนจะใช้ในการเทียบท่าของกระสวยอวกาศด้วย แต่สกายแลปได้ถูกปลดประจำการก่อนถึงการปล่อยกระสวยอวกาศลำแรก และถูกชั้นบรรยากาศโลกเผาไหม้ทำลายในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) หลังจากปล่อยให้ตกลงในมหาสมุทรอินเดียทางตะวันตกของออสเตรเลีย

อะพอลโล-โซยุส

โครงการทดสอบอะพอลโล-โซยุส (Apollo-Soyuz Test Project:ASTP) เป็นการร่วมมือกันระหว่างสหัฐอเมริกาและโครงการอวกาศของโซเวียตในการนำยานอะพอลโลและยานโซยุสมาพบกันในอวกาศ (เชื่อมยานกัน) ในปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975)

ยุคกระสวยอวกาศ

 
กระสวยอวกศโคลัมเบีย ก่อนปล่อยเที่ยวบินแรก

กระสวยอวกาศเป็นโครงการที่นาซาหันมาให้ความสนใจมาตลอดตั้งแต่ช่วงปี 2513 (1970) และ 2523 (1980) กระสวยอวกาศลำแรกที่ปล่อยใช้งานสู่อวกาศคือกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981)

สำหรับนาซาแล้ว กระสวยอวกาศไม่ได้ดีไปหมดทุกอย่าง ยิ่งช่วงเริ่มต้นโครงการมันมีความสิ้นเปลืองมาก และในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) กับเหตุการณ์อุบัติเหตุของกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์เป็นหนึ่งในเรื่องที่ร้ายแรงที่สุดสำหรับการเดินทางสู่อวกาศ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ

  1. Lale Tayla & Figen Bingul (2007). "NASA stands 'for the benefit of all.'—Interview with NASA's Dr. Süleyman Gokoglu". The Light Millennium. จากแหล่งเดิมเมื่อ October 12, 2007. สืบค้นเมื่อ September 17, 2018.
  2. "NASA workforce profile". NASA. January 11, 2011. สืบค้นเมื่อ December 17, 2012.
  3. Clark, Stephen (December 14, 2014). "NASA gets budget hike in spending bill passed by Congress". Spaceflight Now. สืบค้นเมื่อ July 14, 2015.
  4. NASA (2005). "รัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ" (ภาษาอังกฤษ). NASA. สืบค้นเมื่อ August 29, 2007.
  5. NASA (2005). "นาซาทำอะไรบ้าง?" (ภาษาอังกฤษ). NASA. สืบค้นเมื่อ August 29, 2007.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • โฮมเพจขององค์การนาซา


นาซา, องค, การบร, หารการบ, นและอวกาศแห, งชาต, งกฤษ, national, aeronautics, space, administration, หร, องค, การ, nasa, อต, งข, นเม, อว, นท, กรกฎาคม, 2501, 1958, ตามร, ฐบ, ญญ, การบ, นและอวกาศแห, งชาต, เป, นหน, วยงานส, วนราชการ, บผ, ดชอบในโครงการอวกาศและงานว, ยห,. xngkhkarbriharkarbinaelaxwkasaehngchati xngkvs National Aeronautics and Space Administration hrux xngkhkarnasa NASA kxtngkhunemuxwnthi 29 krkdakhm ph s 2501 kh s 1958 tamrthbyytikarbinaelaxwkasaehngchati 4 epnhnwynganswnrachkar rbphidchxbinokhrngkarxwkasaelanganwicyhwngxakasxwkas aerospace rayayawkhxngshrth khxycdkarhruxkhwbkhumrabbnganwicythngkbfayphleruxnaelafaythhar ineduxnkumphaphnth ph s 2548 xngkhkarnasaidprakaspharkichlkkhuxkarbukebikxnakhtaehngkarsarwcxwkas karkhnphbthangwithyasastr aelanganwicythangkarbinaelaxwkas 5 xngkhkarbriharkarbinaelaxwkasaehngchatikhakhwy ephuxpraoychnkhxngkhnthukkhn 1 thithakarwxchingtn di si 38 52 59 N 77 0 59 W 38 88306 N 77 01639 W 38 88306 77 01639phaphrwmwnkxtng 29 krkdakhm ph s 2501bukhlakr 17 345 2 ngbpraman US 18 01 phnlandxllarshrth ph s 2559 3 phubriharhlk chals obledn phubrihar dawa niwaemn rxngphubriharinkakbduaelkhxng rthbalaehngshrthewbistnasa govkhakhwykhxngxngkhkarnasakhux ephuxpraoychnkhxngkhnthukkhn For the benefit of all 1 enuxha 1 prawti 1 1 karaekhngkhninkarsarwcxwkas 1 2 okhrngkarxaphxlol 1 3 skayaelp 1 4 xaphxlol osyus 1 5 yukhkraswyxwkas 2 duephim 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunprawti aekikhewbyx NASA karaekhngkhninkarsarwcxwkas aekikh hlngcakshphaphosewiytsngdawethiymdwngaerkkhxngolk dawethiymsputnikh 1 khunsuxwkas emuxwnthi 4 tulakhm ph s 2500 kh s 1957 shrth erimhnmaisickbokhrngkarxwkaskhxngtnexngmakkhun sphakhxngekrsrusukhwnekrngtxphydankhwammnkhngaelaphawakhwamepnphunadanethkhonolyikhxngtn prathanathibdidiwth di ixesnhawr aelakhnathipruksaidprachumharuxknepnewlananhlayeduxncnidkhxsrupwa shrth caepntxngkxtnghnwynganrachkarkhunihm ihthahnathiekiywkbkickrrmxwkasthnghmdthiimekiywkhxngkbkarthharwnthi 29 krkdakhm ph s 2501 kh s 1958 prathanathibdiixesnhawrlngnaminkdhmaykarbinaelaxwkasaehngchati kh s 1958 ephuxkxtngxngkhkarbriharkarbinaelaxwkasaehngchati NASA erimptibtinganinwnthi 1 tulakhm ph s 2501 khnannnasaprakxbdwyhxngptibtikar 4 aehng miphnknganpraman 8 000 khn thioxnmacakkhnakrrmkarthipruksadankarbinaehngchati NACA sungepnhnwynganwicykhxngrththimixayukwa 46 piokhrngkarinrayaaerkkhxngnasaepnkarwicyodymiepahmaysngmnusykhunipkbyanxwkas daeninipphrxmaerngkddncakkaraekhngkhnkbshphaphosewiytinrahwangsngkhrameyn nasaerimtnsuksakhwamepnipid inkarichchiwitkhxngmnusyinhwngxwkasdwyokhrngkaremxrkhiwriinpi ph s 2501 txmawnthi 5 phvsphakhm ph s 2504 kh s 1961 nkbinxwkas xln bi echephird cueniyr klayepnchawxemriknkhnaerkinxwkas emuxekhaedinthangipkbyanfridxm 7 inpharkicnan 15 nathi aebbimetmwngokhcr hlngcaknncxhn eklnn klayepnchawxemriknkhnaerkthiokhcrrxbolkemuxwnthi 20 kumphaphnth ph s 2505 kh s 1962 inkarkhunbinnan 5 chwomngkb yanefrndchip 7 okhrngkarxaphxlol aekikh dubthkhwamhlkthi okhrngkarxaphxlol bss xldrin kawedinbnphunphiwdwngcnthr inkaredinthangipkbyanxaphxlol 11 emuxokhrngkaremxrkhiwriphisucnaelayunynwa karsngmnusykhunipokhcrinxwkassamarthepnipid nasacungerimokhrngkarxaphxlol odyepnkhwamphyayamsngmnusyipokhcrrxbdwngcnthr odyyngimmiepahmaysngmnusyehyiybphunphiwdwngcnthraetxyangid thisthangkhxngokhrngkarxaphxlolepliynipemuxprathanathibdicxhn exf ekhnendi prakasemuxwnthi 25 phvsphakhm ph s 2504 kh s 1961 washrthca sngmnusyiplngbndwngcnthraelwklbsuolkxyangplxdphy phayinpi ph s 2513 kh s 1970 okhrngkarxaphxlolcungklayepnokhrngkarnamnusylngsuphunphiwdwngcnthrepnkhrngaerkinprawtisastr okhrngkarecminierimtnkhunimnanhlngcaknn ephuxthdsxbaelayunynethkhnikh thicaepntxngichkbokhrngkarxaphxlolthisbsxnkhunhlngcak 8 pikhxngpharkicebuxngtnkhn sungrwmthungxubtiehtuephlingihmthikhrachiwitnkbinxwkas 3 khninyanxaphxlol 1 okhrngkarxaphxlolbrrluepahmayidinthisudemuxyanxaphxlol 11 nanil xarmstrxng aelabss xldrin lngsmphsphunphiwdwngcnthremuxwnthi 20 krkdakhm ph s 2512 kh s 1969 aelaklbsuolkxyangplxdphyinwnthi 24 krkdakhm thxykhaaerkthixarmstrxngklawhlngcakkawxxkcakyanlngcxd xiekil khux niepnkawelk khxngkhn hnung aetepnkawkraoddthiyingihykhxngmwlmnusychati aemwaxngkhkarnasacathaihshrth idchychnainkaraekhngkhnkbosewiyt aetkhwamsnickhxngchawxemriknthimitxokhrngkarxwkas xncathaihsphakhxngekrsthumngbpramanihkbnasa klbldnxythxylng nasasuyesiyphusnbsnuninsphahlngcaklindxn bi cxhnsn lngcaktaaehnngprathanathibdi phuthimibthbathinkarwingetnephuxphlkdnngbpramanihkbnasainewlatxma khux ewxrenxr fxn brawn wiswkrphuechiywchaydancrwdchaweyxrmn ekhaesnxaephnsrangsthanixwkas thanptibtikarbndwngcnthr aelaokhrngkarsngmnusyipdawxngkharphayinpi ph s 2533 kh s 1990 aetsudthaykimsamarthdaeninkaridephraaprasiththiphaphkhxngethkhonolyicrwdkhnannyngimdiphx xubtiehtukarraebidkhxngthngxxksiecn thiekuxbcaepnosknatkrrmkbnkbinbnyanxaphxlol 13 thaihprachachnerimklbmasnicinokhrngkarxwkas xyangirktam yanxaphxlol 17 epnyanlasudthaythikhunbinphayitsylksnxaphxlol aemwaokhrngkarxaphxlolmiaephnipthungyanxaphxlol 20 okhrngkarxaphxlolsinsudlngkxnkahndenuxngcakthuktdngbpraman swnhnungepnphlcaksngkhramewiydnam aelanasaprarthnathicaphthnayanxwkasthisamarthnaklbmaichihmid skayaelp aekikh dubthkhwamhlkthi sthanixwkasskayaelb sthanixwkasskayaelp skayaelpepnsthanixwkasaehngaerkkhxngshrthxemrika sthaniniminahnkkwa 75 tn okhcrrxbolkerimtngaetpi ph s 2516 kh s 1973 thungpi ph s 2522 kh s 1979 samarthrxngrbkhnid 3 khntxpharkic skayaelpepnsthanitnaebbinkareriynrukarichchiwitinxwkas aelaichinkarthdlxngthangwithyasastrbang edimthiskayaelpwangaephncaichinkarethiybthakhxngkraswyxwkasdwy aetskayaelpidthukpldpracakarkxnthungkarplxykraswyxwkaslaaerk aelathukchnbrryakasolkephaihmthalayinpi ph s 2522 kh s 1979 hlngcakplxyihtklnginmhasmuthrxinediythangtawntkkhxngxxsetreliy xaphxlol osyus aekikh okhrngkarthdsxbxaphxlol osyus Apollo Soyuz Test Project ASTP epnkarrwmmuxknrahwangshthxemrikaaelaokhrngkarxwkaskhxngosewiytinkarnayanxaphxlolaelayanosyusmaphbkninxwkas echuxmyankn inpi ph s 2518 kh s 1975 yukhkraswyxwkas aekikh kraswyxwksokhlmebiy kxnplxyethiywbinaerk kraswyxwkasepnokhrngkarthinasahnmaihkhwamsnicmatlxdtngaetchwngpi 2513 1970 aela 2523 1980 kraswyxwkaslaaerkthiplxyichngansuxwkaskhuxkraswyxwkasokhlmebiy inwnthi 12 emsayn ph s 2524 kh s 1981 sahrbnasaaelw kraswyxwkasimiddiiphmdthukxyang yingchwngerimtnokhrngkarmnmikhwamsinepluxngmak aelainpi ph s 2529 kh s 1986 kbehtukarnxubtiehtukhxngkraswyxwkaschaelnecxrepnhnungineruxngthirayaerngthisudsahrbkaredinthangsuxwkasduephim aekikhnasa thiwixangxing aekikh bthkhwamnirwmexangansatharnsmbticakxngkhkarbriharkarbinaelaxwkasaehngchati khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb nasa 1 0 1 1 Lale Tayla amp Figen Bingul 2007 NASA stands for the benefit of all Interview with NASA s Dr Suleyman Gokoglu The Light Millennium ekb cakaehlngedimemux October 12 2007 subkhnemux September 17 2018 NASA workforce profile NASA January 11 2011 subkhnemux December 17 2012 Clark Stephen December 14 2014 NASA gets budget hike in spending bill passed by Congress Spaceflight Now subkhnemux July 14 2015 NASA 2005 rthbyytikarbinaelaxwkasaehngchati phasaxngkvs NASA subkhnemux August 29 2007 NASA 2005 nasathaxairbang phasaxngkvs NASA subkhnemux August 29 2007 aehlngkhxmulxun aekikhohmephckhxngxngkhkarnasaekhathungcak https th wikipedia org w index php title nasa amp oldid 9344619, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม