fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มดาวนายพราน

กลุ่มดาวนายพราน (อังกฤษ: Orion) เป็นกลุ่มดาวที่มีชื่อเสียง คนไทยเรียกว่า ดาวเต่า การที่มีดาวฤกษ์สว่างหลายดวงเป็นสมาชิก และมีตำแหน่งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้มองเห็นได้ทั่วโลก และอาจเป็นที่รู้จักกว้างขวางที่สุดในบรรดากลุ่มดาวบนท้องฟ้า ดาวสามดวงที่ประกอบกันเป็น "เข็มขัดของนายพราน" เป็นดาวที่มีความสว่างปานกลางแต่ก็สามารถสังเกตเห็นได้ง่าย สำหรับผู้สังเกตการณ์ที่อยู่ในซีกโลกเหนือจะสามารถมองเห็นกลุ่มดาวนี้ได้ตั้งแต่ช่วงเย็นของเดือนตุลาคมไปจนถึงเดือนมกราคม จากนั้นจะสามารถเห็นได้ในช่วงเช้ามืดตั้งแต่ปลายเดือนกรกฎาคมถึงพฤศจิกายน

กลุ่มดาวนายพราน (Orion)

คลิกเพื่อดูรูปใหญ่
ชื่อย่อ: Ori
ชื่อคุณศัพท์: Orionis
สัญลักษณ์: โอไรอัน
ไรต์แอสเซนชัน:5 ชั่วโมง
เดคลิเนชัน: 5°
เนื้อที่:594 ตารางองศา (อันดับที่ 26)
จำนวนดาวฤกษ์:
(ความส่องสว่างปรากฏน้อยกว่า 3)
8
ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุด:ดาวไรเจล (β Orionis)
(ความส่องสว่างปรากฏ = 0.12)
ฝนดาวตก:ฝนดาวตกนายพราน
ฝนดาวตกไคนายพราน
กลุ่มดาวที่ติดกัน:กลุ่มดาวคนคู่
กลุ่มดาววัว
กลุ่มดาวแม่น้ำ
กลุ่มดาวกระต่ายป่า
กลุ่มดาวยูนิคอร์น
มองเห็นได้ในระหว่างละติจูด +85° ถึง −75°
มองเห็นได้ดีที่สุดในเวลา 21.00 น. ของเดือนมกราคม

ตำแหน่งของกลุ่มดาวนายพรานเทียบกับกลุ่มดาวข้างเคียงสามารถจินตนาการออกมาเป็นภาพได้ดังนี้ : นายพรานโอไรอันยืนอยู่ข้างแม่น้ำเอริดานัส มีหมาล่าเนื้อสองตัวอยู่เคียงข้างคือ คานิสใหญ่และคานิสเล็ก เขากำลังสู้กับวัวเทารัส โดยมีเหยื่ออื่นอยู่ข้างๆ อีกเช่น ลีปัสกระต่ายป่า

กลุ่มดาวนายพรานมีดาวไรเจลเป็นดาวสว่างที่สุด แต่ดาวที่มีชื่อเสียงคือดาวบีเทลจุส ดาวยักษ์แดงซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งในสามดวงของดาวสามเหลี่ยมฤดูหนาว (คือดาวบีเทลจุส ดาวซิริอุส และดาวโปรซิออน) เราสามารถใช้กลุ่มดาวนายพรานสำหรับการชี้ดาวต่างๆ ได้มากมาย เช่น ลากจากดาวอัลนิลัม ไป ดาวเมสสา จะชี้ตรงทิศเหนือ ใต้กลุ่มดาวนายพรานเป็นกลุ่มดาวกระต่ายป่า ดาวไรเจลอยู่ติดกับกลุ่มดาวแม่น้ำที่มีดาวอะเคอร์นาเป็นดาวเด่น (ไม่ได้อยู่ติดกัน) เข็มขัดนายพรานชี้ไปที่ดาวตาวัว (อัลดิบารัน) และถ้าลากจากไรเจลผ่านบีเทลจุสจะได้ดาวคาสเตอร์ เป็นต้น

รายชื่อดาวในกลุ่ม

กลุ่มดาวนายพรานเป็นกลุ่มดาวที่มีดาวฤกษ์สว่างเป็นสมาชิกอยู่มาก มีดาวฤกษ์ในตำแหน่งหลักทั้งสิ้น 8 ชุด มีรายละเอียดดังนี้

  • λ Ori (ดาวเมสสา) เป็นดาวส่วนหัวของนายพราน มีความส่องสว่างปรากฏ 3.54
  • α Ori (ดาวบีเทลจุส) อยู่ที่ไหล่ขวาของนายพราน เป็นดาวยักษ์แดงที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าวงโคจรของดาวอังคาร แม้จะได้รหัสว่า อัลฟา (α) แต่ระดับความสว่างก็ยังเป็นรองแก่ดาวไรเจล มีความส่องสว่างปรากฏ 0.42 (แปรแสงได้ระหว่าง 0.3-1.2)
  • γ Ori (ดาวเบลลาทริกซ์) อยู่ที่ไหล่ซ้ายของนายพราน มีความส่องสว่างปรากฏ 1.64
  • ζ Ori (ดาวอัลนิแทค), ε Ori (ดาวอัลนิลัม) และ δ Ori (ดาวมินทาคา) ประกอบกันเป็นแนวเส้นที่เป็นที่รู้จักว่า "เข็มขัดของนายพราน" (Orion's Belt) ซึ่งเป็นจุดสังเกตค้นหากลุ่มดาวได้อย่างง่ายที่สุด มีความส่องสว่างปรากฏ 2.00 ,1.70 ,2.23 ตามลำดับ
  • η Ori (เอต้า โอไรอัน) อยู่ระหว่างดาวมินทาคากับไรเจล มีความส่องสว่างปรากฏ 3.42
  • κ Ori (ดาวไซฟ์) อยู่ที่เข่าขวาของนายพราน มีความส่องสว่างปรากฏ 2.09
  • β Ori (ดาวไรเจล) อยู่ที่เข่าซ้ายของนายพราน เป็นดาวสีน้ำเงินขาวขนาดใหญ่ที่สว่างมากที่สุดดวงหนึ่งบนท้องฟ้า มีดาวในระบบดาวสามดวงที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีความส่องสว่างปรากฏ 0.12
  • ι Ori (ดาวฮัตซยา) อยู่ที่ตำแหน่งยอดดาบของนายพราน มีความส่องสว่างปรากฏ 2.77

เช่นเดียวกับดาวฤกษ์สว่างดวงอื่นๆ ชื่อ บีเทลจุส ไรเจล ไซฟ์ อัลนิแทค มินทาคา อัลนิลัม ฮัตซยา และเมสสา มีต้นกำเนิดมาจากคำใน[[ภาษาอาsiy[]]

การระบุตำแหน่งดาวอื่น

 
การใช้กลุ่มดาวนายพรานเพื่อค้นหาดาวอื่นใกล้เคียง

กลุ่มดาวนายพรานมีประโยชน์อย่างยิ่งในการใช้ค้นหาตำแหน่งของดาวอื่นๆ เมื่อลากเส้นจากแนวเข็มขัดนายพรานออกไปทางตะวันออกเฉียงใต้ จะพบดาวซิริอุสในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่ ถ้าลากต่อออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ จะพบดาวอัลดิบาแรน เส้นตรงที่ลากผ่านไหล่ทั้งสองข้างของนายพรานออกไปทางตะวันออกจะชี้ไปยังตำแหน่งของดาวโปรซิออนในกลุ่มดาวสุนัขเล็ก ถ้าลากเส้นจากดาวไรเจลผ่านดาวบีเทลจุสต่อออกไปจะพบดาวคาสเตอร์กับดาวพอลลักซ์ในกลุ่มดาวคนคู่ นอกจากนี้ ดาวไรเจลยังเป็นดาวสมาชิกดวงหนึ่งของวงกลมฤดูหนาว ส่วนซิริอุสและโปรซิออนเป็นส่วนหนึ่งของทั้งดาวสามเหลี่ยมฤดูหนาวและวงกลมฤดูหนาว

วัตถุท้องฟ้าในกลุ่มดาว

ใต้ตำแหน่งเข็มขัดของโอไรอันจะเป็นดาบนายพราน บริเวณนี้มีดาวหลายดวงเช่น θ1 โอไรอัน และ θ2 โอไรอัน หรือเรียกชื่อว่า กระจุกดาวทราเปเซียม และเนบิวลานายพราน (M42) เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สามารถมองเห็นได้ง่ายด้วยตาเปล่า หากใช้กล้องสองตาช่วย จะสามารถมองเห็นกลุ่มเมฆหมุนวนอยู่รอบๆ รวมถึงแก๊สเรืองแสงและฝุ่น

เนบิวลาที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งคือ IC 424 หรือเนบิวลาหัวม้า ใกล้กับตำแหน่งดาว ζ โอไรอัน (Alnitak)เป็นเมฆฝุ่นมืดๆ ที่เกาะกลุ่มเป็นรูปร่างคล้ายหัวม้าอันเป็นที่มาของชื่อ

ถ้าใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็กส่องสำรวจดูรอบๆ บริเวณกลุ่มดาวนายพราน จะสามารถมองเห็นวัตถุท้องฟ้าที่น่าสนใจอีกมากมายในเขตอวกาศลึกในแถบนี้ เช่น เนบิวลา M43 เนบิวลา M78 รวมถึงระบบดาวอีกหลายกลุ่มรวมถึง ไอโอตาโอไรอัน และซิกมาโอไรอันด้วย ถ้าใช้กล้องโทรทรรศน์ที่ใหญ่ขึ้นก็อาจมองเห็นวัตถุบางอย่างเช่น เนบิวลาเพลิง (NGC 2024) ตลอดจนระบบดาวหลายดวงและเนบิวลาขนาดเล็กที่มีแสงจางๆ ได้อีก

เนบิวลาเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งอยู่ในกลุ่มเมฆโมเลกูลาร์โอไรอัน ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ 1,500 ปีแสง มีความกว้างหลายร้อยปีแสง ถือเป็นย่านกำเนิดดาวฤกษ์ใหม่ที่หนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งในดาราจักรของเรา

อ้างอิง

  1. Dolan, Chris. "Orion". เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-05.
  2. "Introduction to the Constellations". เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-10.
  3. "Look for Orion the Hunter, and Sirius the Dog Star >> skywatching". เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-10.
  4. Orion Constellation

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ดาวไถ (Orion's Belt and Orion Nebula)

กล, มดาวนายพราน, งกฤษ, orion, เป, นกล, มดาวท, อเส, ยง, คนไทยเร, ยกว, ดาวเต, การท, ดาวฤกษ, สว, างหลายดวงเป, นสมาช, และม, ตำแหน, งอย, บร, เวณเส, นศ, นย, ตรฟ, ทำให, มองเห, นได, วโลก, และอาจเป, นท, กกว, างขวางท, ดในบรรดากล, มดาวบนท, องฟ, ดาวสามดวงท, ประกอบก, นเป, . klumdawnayphran xngkvs Orion epnklumdawthimichuxesiyng khnithyeriykwa daweta karthimidawvksswanghlaydwngepnsmachik aelamitaaehnngxyubriewnesnsunysutrfa thaihmxngehnidthwolk aelaxacepnthiruckkwangkhwangthisudinbrrdaklumdawbnthxngfa 1 dawsamdwngthiprakxbknepn ekhmkhdkhxngnayphran epndawthimikhwamswangpanklangaetksamarthsngektehnidngay sahrbphusngektkarnthixyuinsikolkehnuxcasamarthmxngehnklumdawniidtngaetchwngeynkhxngeduxntulakhmipcnthungeduxnmkrakhm caknncasamarthehnidinchwngechamudtngaetplayeduxnkrkdakhmthungphvscikayn 2 3 klumdawnayphran Orion khlikephuxdurupihychuxyx Orichuxkhunsphth Orionissylksn oxirxnirtaexsesnchn 5 chwomngedkhlienchn 5 enuxthi 594 tarangxngsa xndbthi 26 canwndawvks khwamsxngswangpraktnxykwa 3 8dawvksthiswangthisud dawirecl b Orionis khwamsxngswangprakt 0 12 fndawtk fndawtknayphranfndawtkikhnayphranklumdawthitidkn klumdawkhnkhuklumdawwwklumdawaemnaklumdawkrataypaklumdawyunikhxrnmxngehnidinrahwanglaticud 85 thung 75 mxngehniddithisudinewla 21 00 n khxngeduxnmkrakhmtaaehnngkhxngklumdawnayphranethiybkbklumdawkhangekhiyngsamarthcintnakarxxkmaepnphaphiddngni nayphranoxirxnyunxyukhangaemnaexridans mihmalaenuxsxngtwxyuekhiyngkhangkhux khanisihyaelakhaniselk ekhakalngsukbwwethars odymiehyuxxunxyukhang xikechn lipskrataypaklumdawnayphranmidawireclepndawswangthisud aetdawthimichuxesiyngkhuxdawbiethlcus dawyksaedngsungepnxngkhprakxbhnunginsamdwngkhxngdawsamehliymvduhnaw khuxdawbiethlcus dawsirixus aeladawoprsixxn erasamarthichklumdawnayphransahrbkarchidawtang idmakmay echn lakcakdawxlnilm ip dawemssa cachitrngthisehnux itklumdawnayphranepnklumdawkrataypa dawireclxyutidkbklumdawaemnathimidawxaekhxrnaepndawedn imidxyutidkn ekhmkhdnayphranchiipthidawtaww xldibarn aelathalakcakireclphanbiethlcuscaiddawkhasetxr epntn enuxha 1 raychuxdawinklum 2 karrabutaaehnngdawxun 3 wtthuthxngfainklumdaw 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunraychuxdawinklum aekikhklumdawnayphranepnklumdawthimidawvksswangepnsmachikxyumak midawvksintaaehnnghlkthngsin 8 chud miraylaexiyddngni l Ori dawemssa epndawswnhwkhxngnayphran mikhwamsxngswangprakt 3 54 a Ori dawbiethlcus xyuthiihlkhwakhxngnayphran epndawyksaedngthimikhnadesnphansunyklangihykwawngokhcrkhxngdawxngkhar aemcaidrhswa xlfa a aetradbkhwamswangkyngepnrxngaekdawirecl mikhwamsxngswangprakt 0 42 aepraesngidrahwang 0 3 1 2 g Ori dawebllathriks xyuthiihlsaykhxngnayphran mikhwamsxngswangprakt 1 64 z Ori dawxlniaethkh e Ori dawxlnilm aela d Ori dawminthakha prakxbknepnaenwesnthiepnthiruckwa ekhmkhdkhxngnayphran Orion s Belt sungepncudsngektkhnhaklumdawidxyangngaythisud mikhwamsxngswangprakt 2 00 1 70 2 23 tamladb h Ori exta oxirxn xyurahwangdawminthakhakbirecl mikhwamsxngswangprakt 3 42 k Ori dawisf xyuthiekhakhwakhxngnayphran mikhwamsxngswangprakt 2 09 b Ori dawirecl xyuthiekhasaykhxngnayphran epndawsinaenginkhawkhnadihythiswangmakthisuddwnghnungbnthxngfa midawinrabbdawsamdwngthisamarthmxngehniddwytaepla mikhwamsxngswangprakt 0 12 i Ori dawhtsya xyuthitaaehnngyxddabkhxngnayphran mikhwamsxngswangprakt 2 77echnediywkbdawvksswangdwngxun chux biethlcus irecl isf xlniaethkh minthakha xlnilm htsya aelaemssa mitnkaenidmacakkhain phasaxasiy karrabutaaehnngdawxun aekikh karichklumdawnayphranephuxkhnhadawxuniklekhiyng klumdawnayphranmipraoychnxyangyinginkarichkhnhataaehnngkhxngdawxun emuxlakesncakaenwekhmkhdnayphranxxkipthangtawnxxkechiyngit caphbdawsirixusinklumdawsunkhihy thalaktxxxkipthangtawntkechiyngehnux caphbdawxldibaaern esntrngthilakphanihlthngsxngkhangkhxngnayphranxxkipthangtawnxxkcachiipyngtaaehnngkhxngdawoprsixxninklumdawsunkhelk thalakesncakdawireclphandawbiethlcustxxxkipcaphbdawkhasetxrkbdawphxllksinklumdawkhnkhu nxkcakni dawireclyngepndawsmachikdwnghnungkhxngwngklmvduhnaw swnsirixusaelaoprsixxnepnswnhnungkhxngthngdawsamehliymvduhnawaelawngklmvduhnaw 4 wtthuthxngfainklumdaw aekikhittaaehnngekhmkhdkhxngoxirxncaepndabnayphran briewnnimidawhlaydwngechn 81 oxirxn aela 82 oxirxn hruxeriykchuxwa kracukdawthraepesiym aelaenbiwlanayphran M42 epnwtthuthxngfathisamarthmxngehnidngaydwytaepla hakichklxngsxngtachwy casamarthmxngehnklumemkhhmunwnxyurxb rwmthungaekseruxngaesngaelafunenbiwlathimichuxesiyngxikaehnghnungkhux IC 424 hruxenbiwlahwma iklkbtaaehnngdaw z oxirxn Alnitak epnemkhfunmud thiekaaklumepnruprangkhlayhwmaxnepnthimakhxngchuxthaichklxngothrthrrsnkhnadelksxngsarwcdurxb briewnklumdawnayphran casamarthmxngehnwtthuthxngfathinasnicxikmakmayinekhtxwkaslukinaethbni echn enbiwla M43 enbiwla M78 rwmthungrabbdawxikhlayklumrwmthung ixoxtaoxirxn aelasikmaoxirxndwy thaichklxngothrthrrsnthiihykhunkxacmxngehnwtthubangxyangechn enbiwlaephling NGC 2024 tlxdcnrabbdawhlaydwngaelaenbiwlakhnadelkthimiaesngcang idxikenbiwlaehlaniepnswnhnungxyuinklumemkhomelkularoxirxn sungxyuhangxxkippraman 1 500 piaesng mikhwamkwanghlayrxypiaesng thuxepnyankaeniddawvksihmthihnaaennthisudaehnghnungindarackrkhxngeraxangxing aekikh Dolan Chris Orion ekbkhxmulemux 2007 10 05 Introduction to the Constellations ekbkhxmulemux 2007 10 10 Look for Orion the Hunter and Sirius the Dog Star gt gt skywatching ekbkhxmulemux 2007 10 10 Orion Constellationaehlngkhxmulxun aekikhdawith Orion s Belt and Orion Nebula ekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumdawnayphran amp oldid 8815052, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม