fbpx
วิกิพีเดีย

การกล้ำสัญญาณ

การกล้ำสัญญาณ หรือ (อังกฤษ: Modulation) ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และ โทรคมนาคม การ(ควบ)กล้ำสัญญาณเป็นกระบวนการของการปรับเปลี่ยนลักษณะสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายๆอย่างของรูปสัญญาณคลื่นพาห์(สัญญาณที่เป็นตัวขนส่งความถี่สูง)ด้วยสัญญาณข้อมูลที่จะถูกส่งผ่าน เช่น กระแสบิตดิจิตอล(อังกฤษ: digital bit stream)หรือสัญญาณเสียงอนาล็อก การกล้ำสัญญาณรูปคลื่นไซน์จะแปลงสัญญาณข้อความ baseband เป็นสัญญาณ passband

โมดูเลเตอร์เป็นอุปกรณ์กล้ำสัญญาณ, demodulator(บางครั้งเรียกว่า demod) เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานตรงกันข้ามกับการกล้ำส้ญญาณ, โมเด็ม(จาก modulator-demodulator) สามารถทำงานได้ทั้งสองอย่าง

จุดมุ่งหมายของการกล้ำสัญญาณดิจิตอลคือการโอนย้ายกระแสบิตดิจิตอลผ่านช่อง bandpass แอนะล็อก ตัวอย่างเช่นผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์ (PSTN) (ที่ซึ่งตัวกรอง bandpass จะจำกัดช่วงความถี่ไว้ที่ 300-3400 Hz ซึ่งเป็นความถี่เสียงที่มนุษย์ได้ยิน)เช่นบริการ ADSL หรือ ผ่านทางแถบความถี่วิทยุที่มีอยู่อย่างจำกัด

จุดมุ่งหมายของการกล้ำสัญญาณอะนาล็อกคือการโอนย้ายสัญญาณแอนะล็อก baseband (หรือ lowpass) เช่นสัญญาณเสียงหรือสัญญาณทีวี ผ่านช่องทาง bandpass แบบอะนาล็อกที่ความถี่ที่แตกต่างกันเช่นในช่วงแถบความถี่วิทยุที่จำกัดหรือช่องทางเครือข่ายเคเบิลทีวี

การกล้ำสัญญาณแอนะล็อกและดิจิตอลช่วยอำนวยความสะดวกในการมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่(อังกฤษ: Frequency Division Multiplex) หรือ FDM ที่หลายๆสัญญาณข้อมูลความถี่ต่ำที่ผ่านการกรองมาแล้วจะถูกโอนพร้อมกันผ่านทางสื่อทางกายภาพเดียวกันที่ใช้ร่วมกัน โดยการใช้ช่อง passband แยกจากกัน (หลายความถี่คลื่นพาหะที่แตกต่างกัน)

จุดมุ่งหมายของวิธีการกล้ำสัญญาณดิจิทัล baseband หรือที่เรียกว่า line coding ก็เพื่อที่จะถ่ายโอนกระแสบิตดิจิตอลผ่านช่องทางเบสแบนด์ โดยทั่วไปก็คือลวดทองแดงที่ไม่กรอง เช่นบัสแบบอนุกรมหรือสายแลน

จุดมุ่งหมายของวิธีกล้ำสัญญาณกระตุก({lang-en|pulse}})ก็เพื่อที่จะถ่ายโอนสัญญาณอนาล็อกแบนด์แคบ เช่น สัญญาณเสียงพูดโทรศัพท์ ผ่านช่องสัญญาณ baseband แถบกว้าง หรือในบางรูปแบบส่งผ่านเหมือนเป็นกระแสบิตผ่านระบบการส่งผ่านดิจิตอลอื่น

ในตัวสังเคราะห์เพลง, การกล้ำสัญญาณอาจถูกใช้ในการสังเคราะห์รูปคลื่นต่างๆ ด้วยคลื่น ความถี่เสียงกว้างโดยการใช้ oscillator จำนวนน้อย ในกรณีนี้ความถี่คลื่นพาหะโดยทั่วไปจะ อยู่ในลำดับเดียวกันหรือต่ำกว่าสัญญาณที่มากล้ำมากๆ ดูตัวอย่าง frequency modulation synthesis หรือ ring modulation synthesis

วิธีกล้ำส้ญญาณแอนะล็อก

 
ข้อความสัญญาณความถี่ต่ำ(บนสุด)อาจถูกขนส่งโดยคลื่นวิทยุ AM หรือ FM

ในการกล้ำสัญญาณแอนะล็อก การกล้ำจะถูกนำไปใช้อย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองต่อสัญญาณข้อมูลแอนะล็อก เทคนิคการกล้ำแบบแอนะล็อกที่พบบ่อย คือ

  • Amplitude Modulation (AM) (ความสูงคลื่นพาห์จะแปรไปตามความสูงของสัญญาณข้อมูล)
    • Double Sideband Modulation (DSB)
      • Double-sideband modulation with carrier ( DSB -WC ) ส่งคลื่นพาห์ไปด้วย (ใช้ในการส่งกระจายเสียงวิทยุ AM)
      • Double-sideband suppressed-carrier transmission (DSB-SC) คลื่นพาห์ไม่ถูกส่งไปด้วย
      • Double-sideband reduced carrier transmission (DSB-RC) คลื่นพาห์ถูกลดขนาด
    • Single-sideband modulation ( SSB หรือ SSB - AM)
      • SSB with carrier ( SSB -WC )
      • SSB suppressed carrier modulation ( SSB -SC )
    • Vestigial sideband modulation ( VSB หรือ VSB - AM)
    • Quadrature amplitude modulation ( QAM )
  • Angle modulation, ซึ่งเป็นซองจดหมายที่คงที่โดยประมาณ
    • Frequency modulation ( FM ) (ความถี่ของสัญญาณคลื่นพาห์จะแปรตามความสูงของสัญญาณข้อมูล)
    • Phase modulation ( PM) (เฟสของสัญญาณคลื่นพาห์จะแปรตามความสูงของสัญญาณ ข้อมูล)

วิธีกล้ำสัญญาณดิจิทัล

ในการกล้ำสัญญาณดิจิตอล คลื่นพาห์แบบแอนะล็อกจะถูกกล้ำโดยสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง วิธี การกล้ำดิจิตอลถือได้ว่าเป็นการแปลงดิจิตอลให้เป็นอะนาล็อก และ การ demodulation ที่สอดคล้องก็คือการแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิตอล การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณคลื่นพาห์จะถูกเลือกจากจำนวนที่แน่นอนของสัญลักษณ์(อังกฤษ: symbol) M (อักษรที่ถูกกล้ำ)

 
แผนผังของ 4 บอด(8 บิต/วินาที) ของข้อมูลที่ส่งในหนึ่งวินาที สมมติข้อมูลมีค่าเพียง 2 บิต แต่ละสัญญลักษณ์อาจเป็นค่าอะไรก็ได้

ตัวอย่างง่ายๆ สายโทรศัพท์ถูกออกแบบมาสำหรับการถ่ายโอนเสียงออดิโอ เช่นโทนเสียง และไม่ใช่บิตดิจิตอล (ศูนย์กับหนึ่ง) อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์อาจสื่อสารผ่านสายโทรศัพท์ด้วยวิธีการของโมเด็ม ซึ่งแทนบิตดิจิตอลด้วยโทนเสียงที่เรียกว่า สัญลักษณ์ ถ้ามีสี่สัญลักษณ์ (ตรงกับเครื่องดนตรีที่สามารถสร้างเสียงที่แตกต่างกันสี่อย่าง อย่างละครั้ง) สัญลักษณ์แรก อาจจะเป็นบิตลำดับ 00, ลำดับที่สองเป็น 01, ลำดับที่สามเป็น 10 และ ลำดับที่สี่เป็น 11 ถ้าโมเด็มเล่นเพลงประกอบด้วยอัตรา 1000 เสียงต่อวินาที อัตราสัญลักษณ์ก็จะมี 1000 สัญลักษณ์/วินาที หรือบอด เนื่องจากแต่ละโทนเสียง (เช่นสัญลักษณ์) หมายถึงข้อความที่ประกอบด้วยสองบิตดิจิตอลในตัวอย่างนี้ อัตราบิตจึงเป็นสองเท่าของอัตราสัญลักษณ์ นั่นคือ 2000 บิตต่อวินาที สิ่งนี้จะคล้ายกับเทคนิคที่ใช้โดยโมเด็ม dialup ซึ่งตรงข้ามกับโมเด็ม DSL

อ้างอิงถึงคำนิยามอันหนึ่งของสัญญาณดิจิตอล, สัญญาณที่ถูกกล้ำจะเป็นสัญญาณดิจิตอล และอ้างถึงข้อกำหนดอื่น การกล้ำเป็นรูปแบบของการแปลงดิจิตอลให้เป็นแอนะล็อก ตำรา ส่วนใหญ่จะพิจารณารูปแบบการกล้ำดิจิตอลว่าเป็นรูปแบบของการส่งผ่านดิจิตอล(อังกฤษ: digital transmission)ที่มีความหมายเหมือนกับการส่งผ่านข้อมูล(อังกฤษ: data transmission); น้อยมากที่จะพิจารณาว่ามันเป็นการส่งผ่านแบบแอนะล็อก(อังกฤษ: analog transmission)

พื้นฐานวิธีการกล้ำสัญญาณดิจิทัล

พื้นฐานส่วนใหญ่ของเทคนิคการกล้ำดิจิตอลจะขึ้นอยู่กับ คีย์ :

  • PSK (phase-shift keying): จำนวนแน่นอนของเฟสที่ใช้
  • FSK (frequency-shift keying): จำนวนแน่นอนของความถี่ที่ใช้
  • ASK (amplitude-shift keying): จำนวนแน่นอนของความสูงของคลื่นที่ใช้
  • QAM (quadrature amplitude modulation): จำนวนแน่นอนของอย่างน้อยสองเฟสและอย่างน้อยสองช่วงสูงของคลื่นที่ใช้

ใน QAM สัญญาณ inphase (หรือ I กับหนึ่งตัวอย่างที่เป็นรูปคลื่นโคไซน์) และ สัญญาณ quadrature phase อีกหนึ่งตัว(หรือ Q , กับอีกหนึ่งตัวอย่างเป็นคลื่นไซน์) จะเป็นการกล้ำแบบ AM ที่มีตัวเลขที่แน่นอนของความสูง แล้วนำมาบวกกัน มันจะสามารถเห็นได้ว่าเป็นระบบสองช่องทาง แต่ละช่องทางใช้ ASK ผลของสัญญาณที่ได้เทียบเท่ากับการรวมกันของ PSK และ ASK

ในทุกวิธีการข้างต้น แต่ละเฟสเหล่านี้ ความถี่หรือความสูงของคลื่นได้ถูกมอบหมายให้มีรูปแบบที่ไม่ซ้ำกันของบิตไบนารี โดยปกติ ในแต่ละเฟส ความถี่หรือความสูงจะเข้าระหัสเป็นจำนวนของบิตที่เท่ากันอันหนึ่ง ที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่เป็นตัวแทนจากเฟสใดเฟสหนึ่งที่เป็นความถี่หรือความสูง

ถ้าตัวอักษรประกอบด้วย   สัญลักษณ์ทางเลือก แต่ละสัญลักษณ์แทนหนึ่งข้อความ ที่ประกอบด้วย N บิต ถ้าอัตราสัญลักษณ์(หรือเรียกว่าอัตราการรับส่งข้อมูล(อังกฤษ: baud rate)) เป็น   สัญลักษณ์/วินาที (หรือ บอด) อัตราการข้อมูลจะเป็น   บิต/วินาที

ตัวอย่างเช่น สำหรับตัวอักษรที่ประกอบด้วย 16 สัญลักษณ์ แต่ละสัญลักษณ์ถูกแทนค่าด้วย 4 บิต ดังนั้นอัตราข้อมูลจึงเป็นสี่เท่าของอัตราบอด

ในกรณีของ PSK, ASK หรือ QAM ที่ซึ่งความถี่คลื่นพาห์ของสัญญาณกล้ำจะเป็นค่าคงที่ ตัวอักษรที่ถูกกล้ำมักจะแสดงเพื่อความสะดวกบนแผนภาพ constellation diagram ที่แสดง ความสูงของสัญญาณ I ที่แกน x และความสูงของสัญญาณ Q ที่แกน y สำหรับแต่ละสัญลักษณ์

รายการของเทคนิคการกล้ำแบบดิจิทัลที่ใช้กันทั่วไป

  • Phase-shift keying (PSK):
    • Binary PSK (BPSK), using M=2 symbols
    • Quadrature PSK (QPSK), using M=4 symbols
    • 8PSK, using M=8 symbols
    • 16PSK, using M=16 symbols
    • Differential PSK (DPSK)
    • Differential QPSK (DQPSK)
    • Offset QPSK (OQPSK)
    • π/4–QPSK
  • Frequency-shift keying (FSK):
    • Audio frequency-shift keying (AFSK)
    • Multi-frequency shift keying (M-ary FSK or MFSK)
    • Dual-tone multi-frequency (DTMF)
  • Amplitude-shift keying (ASK)
    • On-off keying (OOK), รูปแบบทั่วไปของ ASK
  • M-ary vestigial sideband modulation, for example 8VSB
  • Quadrature amplitude modulation (QAM) - ผสมกันของ PSK และ ASK:
    • Polar modulation เหมือน QAM ที่ผสมกันของ PSK และ ASK.
  • Continuous phase modulation (CPM) methods:
    • Minimum-shift keying (MSK)
    • Gaussian minimum-shift keying (GMSK)
    • Continuous-phase frequency-shift keying (CPFSK)
  • Orthogonal frequency-division multiplexing (OFDM) modulation:
    • discrete multitone (DMT) - รวม adaptive modulation และ bit-loading.
  • Wavelet modulation
  • Trellis coded modulation (TCM), หรือเรียกว่า trellis modulation
  • Spread-spectrum techniques:
    • Direct-sequence spread spectrum (DSSS)
    • Chirp spread spectrum (CSS) ตาม IEEE 802.15.4a CSS จะใช้ pseudo-stochastic coding
    • Frequency-hopping spread spectrum (FHSS) ใช้รูปแบบพิเศษสำหรับ channel release
    • SIM31 (SIM) New digital Mode SIM31 SIM63 tks SWL Tunisian

การกล้ำ baseband ดิจิตอลหรือการเข้ารหัสสาย

บทความหลัก: line coding

คำว่า การกล้ำ baseband ดิจิตอล (หรือการส่ง baseband ดิจิตอล) หรือ line coding เป็นวิธีการถ่ายโอนกระแสบิตดิจิตอลผ่านช่อง baseband อนาล็อก (ช่อง lowpass) โดยใช้ขบวนของพั้ลส์ เช่นคือจำนวนที่ไม่ต่อเนื่องของหลายระดับสัญญาณ โดยการกล้ำแรงดันหรือกระแสในสายเคเบิลโดยตรง ตัวอย่างที่ใช้ทั่วไปคือ unipolar, non-return-to-zero (NRZ), แมนเชสเตอร์และเครื่องหมายอื่นผกผัน (AMI) codings

การกล, ำส, ญญาณ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, หร, งกฤษ, modulation. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karklasyyan hrux xngkvs Modulation inxupkrnxielkthrxniksaela othrkhmnakhm kar khwb klasyyanepnkrabwnkarkhxngkarprbepliynlksnasmbtixyangidxyanghnunghruxhlayxyangkhxngrupsyyankhlunphah syyanthiepntwkhnsngkhwamthisung dwysyyankhxmulthicathuksngphan echn kraaesbitdicitxl xngkvs digital bit stream hruxsyyanesiyngxnalxk karklasyyanrupkhlunisncaaeplngsyyankhxkhwam baseband epnsyyan passbandomdueletxrepnxupkrnklasyyan demodulator bangkhrngeriykwa demod epnxupkrnthithangantrngknkhamkbkarklasyyan omedm cak modulator demodulator samarththanganidthngsxngxyangcudmunghmaykhxngkarklasyyandicitxlkhuxkaroxnyaykraaesbitdicitxlphanchxng bandpass aexnalxk twxyangechnphanthangekhruxkhayothrsphth PSTN thisungtwkrxng bandpass cacakdchwngkhwamthiiwthi 300 3400 Hz sungepnkhwamthiesiyngthimnusyidyin echnbrikar ADSL hrux phanthangaethbkhwamthiwithyuthimixyuxyangcakdcudmunghmaykhxngkarklasyyanxanalxkkhuxkaroxnyaysyyanaexnalxk baseband hrux lowpass echnsyyanesiynghruxsyyanthiwi phanchxngthang bandpass aebbxanalxkthikhwamthithiaetktangknechninchwngaethbkhwamthiwithyuthicakdhruxchxngthangekhruxkhayekhebilthiwikarklasyyanaexnalxkaeladicitxlchwyxanwykhwamsadwkinkarmltiephlksaebbaebngkhwamthi xngkvs Frequency Division Multiplex hrux FDM thihlaysyyankhxmulkhwamthitathiphankarkrxngmaaelwcathukoxnphrxmknphanthangsuxthangkayphaphediywknthiichrwmkn odykarichchxng passband aeykcakkn hlaykhwamthikhlunphahathiaetktangkn cudmunghmaykhxngwithikarklasyyandicithl baseband hruxthieriykwa line coding kephuxthicathayoxnkraaesbitdicitxlphanchxngthangebsaebnd odythwipkkhuxlwdthxngaedngthiimkrxng echnbsaebbxnukrmhruxsayaelncudmunghmaykhxngwithiklasyyankratuk lang en pulse kephuxthicathayoxnsyyanxnalxkaebndaekhb echn syyanesiyngphudothrsphth phanchxngsyyan baseband aethbkwang hruxinbangrupaebbsngphanehmuxnepnkraaesbitphanrabbkarsngphandicitxlxunintwsngekhraahephlng karklasyyanxacthukichinkarsngekhraahrupkhluntang dwykhlun khwamthiesiyngkwangodykarich oscillator canwnnxy inkrninikhwamthikhlunphahaodythwipca xyuinladbediywknhruxtakwasyyanthimaklamak dutwxyang frequency modulation synthesis hrux ring modulation synthesis enuxha 1 withiklasyyanaexnalxk 2 withiklasyyandicithl 2 1 phunthanwithikarklasyyandicithl 2 2 raykarkhxngethkhnikhkarklaaebbdicithlthiichknthwip 3 karkla baseband dicitxlhruxkarekharhssaywithiklasyyanaexnalxk aekikh khxkhwamsyyankhwamthita bnsud xacthukkhnsngodykhlunwithyu AM hrux FM inkarklasyyanaexnalxk karklacathuknaipichxyangtxenuxngephuxtxbsnxngtxsyyankhxmulaexnalxk ethkhnikhkarklaaebbaexnalxkthiphbbxy khux Amplitude Modulation AM khwamsungkhlunphahcaaepriptamkhwamsungkhxngsyyankhxmul Double Sideband Modulation DSB Double sideband modulation with carrier DSB WC sngkhlunphahipdwy ichinkarsngkracayesiyngwithyu AM Double sideband suppressed carrier transmission DSB SC khlunphahimthuksngipdwy Double sideband reduced carrier transmission DSB RC khlunphahthukldkhnad Single sideband modulation SSB hrux SSB AM SSB with carrier SSB WC SSB suppressed carrier modulation SSB SC Vestigial sideband modulation VSB hrux VSB AM Quadrature amplitude modulation QAM Angle modulation sungepnsxngcdhmaythikhngthiodypraman Frequency modulation FM khwamthikhxngsyyankhlunphahcaaeprtamkhwamsungkhxngsyyankhxmul Phase modulation PM efskhxngsyyankhlunphahcaaeprtamkhwamsungkhxngsyyan khxmul withiklasyyandicithl aekikhinkarklasyyandicitxl khlunphahaebbaexnalxkcathukklaodysyyanthiimtxenuxng withi karkladicitxlthuxidwaepnkaraeplngdicitxlihepnxanalxk aela kar demodulation thisxdkhlxngkkhuxkaraeplngaexnalxkepndicitxl karepliynaeplngkhxngsyyankhlunphahcathukeluxkcakcanwnthiaennxnkhxngsylksn xngkvs symbol M xksrthithukkla aephnphngkhxng 4 bxd 8 bit winathi khxngkhxmulthisnginhnungwinathi smmtikhxmulmikhaephiyng 2 bit aetlasyylksnxacepnkhaxairkid twxyangngay sayothrsphththukxxkaebbmasahrbkarthayoxnesiyngxxdiox echnothnesiyng aelaimichbitdicitxl sunykbhnung xyangirktamkhxmphiwetxrxacsuxsarphansayothrsphthdwywithikarkhxngomedm sungaethnbitdicitxldwyothnesiyngthieriykwa sylksn thamisisylksn trngkbekhruxngdntrithisamarthsrangesiyngthiaetktangknsixyang xyanglakhrng sylksnaerk xaccaepnbitladb 00 ladbthisxngepn 01 ladbthisamepn 10 aela ladbthisiepn 11 thaomedmelnephlngprakxbdwyxtra 1000 esiyngtxwinathi xtrasylksnkcami 1000 sylksn winathi hruxbxd enuxngcakaetlaothnesiyng echnsylksn hmaythungkhxkhwamthiprakxbdwysxngbitdicitxlintwxyangni xtrabitcungepnsxngethakhxngxtrasylksn nnkhux 2000 bittxwinathi singnicakhlaykbethkhnikhthiichodyomedm dialup sungtrngkhamkbomedm DSLxangxingthungkhaniyamxnhnungkhxngsyyandicitxl syyanthithukklacaepnsyyandicitxl aelaxangthungkhxkahndxun karklaepnrupaebbkhxngkaraeplngdicitxlihepnaexnalxk tara swnihycaphicarnarupaebbkarkladicitxlwaepnrupaebbkhxngkarsngphandicitxl xngkvs digital transmission thimikhwamhmayehmuxnkbkarsngphankhxmul xngkvs data transmission nxymakthicaphicarnawamnepnkarsngphanaebbaexnalxk xngkvs analog transmission phunthanwithikarklasyyandicithl aekikh phunthanswnihykhxngethkhnikhkarkladicitxlcakhunxyukb khiy PSK phase shift keying canwnaennxnkhxngefsthiich FSK frequency shift keying canwnaennxnkhxngkhwamthithiich ASK amplitude shift keying canwnaennxnkhxngkhwamsungkhxngkhlunthiich QAM quadrature amplitude modulation canwnaennxnkhxngxyangnxysxngefsaelaxyangnxysxngchwngsungkhxngkhlunthiichin QAM syyan inphase hrux I kbhnungtwxyangthiepnrupkhlunokhisn aela syyan quadrature phase xikhnungtw hrux Q kbxikhnungtwxyangepnkhlunisn caepnkarklaaebb AM thimitwelkhthiaennxnkhxngkhwamsung aelwnamabwkkn mncasamarthehnidwaepnrabbsxngchxngthang aetlachxngthangich ASK phlkhxngsyyanthiidethiybethakbkarrwmknkhxng PSK aela ASKinthukwithikarkhangtn aetlaefsehlani khwamthihruxkhwamsungkhxngkhlunidthukmxbhmayihmirupaebbthiimsaknkhxngbitibnari odypkti inaetlaefs khwamthihruxkhwamsungcaekharahsepncanwnkhxngbitthiethaknxnhnung thiprakxbdwysylksnthiepntwaethncakefsidefshnungthiepnkhwamthihruxkhwamsungthatwxksrprakxbdwy M 2 N displaystyle M 2 N sylksnthangeluxk aetlasylksnaethnhnungkhxkhwam thiprakxbdwy N bit thaxtrasylksn hruxeriykwaxtrakarrbsngkhxmul xngkvs baud rate epn f S displaystyle f S sylksn winathi hrux bxd xtrakarkhxmulcaepn N f S displaystyle Nf S bit winathitwxyangechn sahrbtwxksrthiprakxbdwy 16 sylksn aetlasylksnthukaethnkhadwy 4 bit dngnnxtrakhxmulcungepnsiethakhxngxtrabxdinkrnikhxng PSK ASK hrux QAM thisungkhwamthikhlunphahkhxngsyyanklacaepnkhakhngthi twxksrthithukklamkcaaesdngephuxkhwamsadwkbnaephnphaph constellation diagram thiaesdng khwamsungkhxngsyyan I thiaekn x aelakhwamsungkhxngsyyan Q thiaekn y sahrbaetlasylksn raykarkhxngethkhnikhkarklaaebbdicithlthiichknthwip aekikh Phase shift keying PSK Binary PSK BPSK using M 2 symbols Quadrature PSK QPSK using M 4 symbols 8PSK using M 8 symbols 16PSK using M 16 symbols Differential PSK DPSK Differential QPSK DQPSK Offset QPSK OQPSK p 4 QPSK Frequency shift keying FSK Audio frequency shift keying AFSK Multi frequency shift keying M ary FSK or MFSK Dual tone multi frequency DTMF Amplitude shift keying ASK On off keying OOK rupaebbthwipkhxng ASK M ary vestigial sideband modulation for example 8VSB Quadrature amplitude modulation QAM phsmknkhxng PSK aela ASK Polar modulation ehmuxn QAM thiphsmknkhxng PSK aela ASK Continuous phase modulation CPM methods Minimum shift keying MSK Gaussian minimum shift keying GMSK Continuous phase frequency shift keying CPFSK Orthogonal frequency division multiplexing OFDM modulation discrete multitone DMT rwm adaptive modulation aela bit loading Wavelet modulation Trellis coded modulation TCM hruxeriykwa trellis modulation Spread spectrum techniques Direct sequence spread spectrum DSSS Chirp spread spectrum CSS tam IEEE 802 15 4a CSS caich pseudo stochastic coding Frequency hopping spread spectrum FHSS ichrupaebbphiesssahrb channel release SIM31 SIM New digital Mode SIM31 SIM63 tks SWL Tunisiankarkla baseband dicitxlhruxkarekharhssay aekikhbthkhwamhlk line codingkhawa karkla baseband dicitxl hruxkarsng baseband dicitxl hrux line coding epnwithikarthayoxnkraaesbitdicitxlphanchxng baseband xnalxk chxng lowpass odyichkhbwnkhxngphls echnkhuxcanwnthiimtxenuxngkhxnghlayradbsyyan odykarklaaerngdnhruxkraaesinsayekhebilodytrng twxyangthiichthwipkhux unipolar non return to zero NRZ aemnechsetxraelaekhruxnghmayxunphkphn AMI codingsekhathungcak https th wikipedia org w index php title karklasyyan amp oldid 8041559, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม