fbpx
วิกิพีเดีย

การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษ

การปฏิวัติเกษตรกรรม (อังกฤษ: British Agricultural Revolution) ใช้อธิบายช่วงของการพัฒนาระบบเกษตรกรรมในสหราชอาณาจักรระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ซึ่งสามารถจำกัดความแบบเจาะจงว่า) การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษ เป็นการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรด้วยนวัตกรรมเครื่องจักรการเกษตร การจัดสรรกรรมสิทธิ์และการใช้ประโยชน์จากที่ดินและชลประทาน การปลูกพืชหมุนเวียน การปฏิวัติอาหารสัตว์ ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างในสังคมชนบท ก่อให้เกิดพื้นฐานข้อกำหนดเบื้องต้นและปัจจัยส่งเสริมสำหรับกระบวนการอุตสาหกรรมที่ตามมา ซึ่งอาจนับได้ว่ามีผลต่อปรากฏการณ์ที่คล้ายคลึงกันนี้เกิดขึ้นทั่วยุโรปตะวันตกในช่วงเวลาถัดมาในศตวรรษที่ 18 (ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส และเยอรมนี ตามลำดับ) และยังส่งผลกระทบต่อรัฐในยุโรปพื้นทวีปและแวดล้อม ในเชิงประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงนี้อาจเรียกว่าเป็น การปฏิวัติเกษตรกรรมครั้งที่สอง (โดยครั้งแรกเกิดขึ้นในยุคหินใหม่เมื่อประมาณ 10,000-7,000 ปีก่อน — การปฏิวัติยุคหินใหม่ )

ชาวนาปลูกหญ้าแห้งโดยใช้เคียวและคราด ค.ศ. 1510
การพัฒนาเครื่องจักรกลในการปฏิวัติการเกษตร: เครื่องเก็บเกี่ยวในปี ค.ศ. 1881

การปฏิวัติเกษตรกรรมในสหราชอาณาจักรในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ เป็นยุคที่การขยายตัวของผลผลิตทางเกษตรกรรมและผลผลิตสุทธิ ทำลายวงจรการขาดแคลนอาหารในอดีตที่ ทุกทวีปบนโลกต่างเคยเผชิญกับช่วงของสงครามในประวัติศาสตร์ สงครามเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อจำนวนประชากรไม่ให้ขยายตัว เพื่อให้สอดคล้องกับอาณาเขตที่ประชากรเหล่านั้นอาศัยอยู่ สงครามจะเกิดขึ้นเมื่อเกิดการขาดแคลนอาหารเป็นเวลานานช่วงใดช่วงหนึ่ง ซึ่งโดยมากแล้วจะเป็นช่วงเวลาที่ยาวนานมากกว่าหนึ่งปี รวมไปถึงการที่ทรัพยากรอย่าง สภาพอากาศ, แรงงาน, ทรัพย์สิน, การคมนาคมขนส่ง และอื่นๆ ไม่มีเหลืออยู่หรือไม่สามารถทำให้เกิดการเพาะปลูกขึ้นได้ ต่อมาเมื่อสงครามหรือการขาดแคลนอาหารกลายมาเป็นปัญหาภายในประเทศ ความสามารถในการซื้อและขนส่งอาหารจากดินแดนที่อยู่ห่างไกลออกไปก็เข้ามาบรรเทาผลกระทบจากการขาดแคลนอาหารลงได้ การปฏิวัติเกษตรกรรมบนเกาะบริเตนใหญ่เกิดขึ้นผ่านช่วงเวลาหลายศตวรรษ (ซึ่งเหมือนการวิวัฒนาการมากกว่าจะเป็นการปฏิวัติ) ต่อมาจึงแพร่ขยายไปในประเทศอื่นๆ บนทวีปยุโรปและในอาณานิคมของประเทศเหล่านั้นด้วย สิ่งหนึ่งที่กระตุ้นให้เกิดการปฏิวัติเกษตรกรรมขึ้นคือการที่อังกฤษพัฒนาระบบที่ดินและการบำรุงรักษาที่ดินซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูก โดยเป้าหมายก็เพื่อที่จะลดการสูญเสียสารอาหารสำหรับพืชในดิน ทำให้ผลผลิตต่อเอเคอร์สูงขึ้นตามลำดับ ชาวนาใช้เครื่องมือการผลิตและเครื่องจักรในการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่มากขึ้นซึ่งช่วยลดการใช้แรงงานคนลงด้วย การปฏิวัติการเกษตรเร่งตัวขึ้นพร้อมกับที่การปฏิวัติอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทางเคมีก่อให้เกิดความรู้ทางวิทยาศาสตร์, ความมั่งคั่ง และเทคโนโลยี เครื่องจักรการเกษตรอื่นๆ และระบบการค้าขายสารอาหารพืชจึงเกิดขึ้นตามมา พรรณพืชชนิดใหม่อย่างเช่นมันฝรั่ง (ถูกนำเข้ามาประมาณปี ค.ศ. 1600), ข้าวโพด และพืชอื่นๆ ถูกนำมาจากทวีปอเมริกาซึ่งพัฒนาการเกษตรในพื้นที่เพาะปลูกเช่นกัน

การปฏิวัติเกษตรกรรม, การปฏิวัติอุตสาหกรรม และการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ถูกพัฒนาไปอย่างเป็นขั้นเป็นตอน และการปฏิวัติอุตสาหกรรมและการปฏิวัติวิทยาศาสตร์จะเกิดขึ้นไม่ได้เลยหากปราศจากปริมาณอาหารที่เพิ่มขึ้นซึ่งนำไปหล่อเลี้ยงประชากรที่ขยายตัวตามเมืองใหญ่ นอกจากนี้ด้วยเงินทุน, เครื่องมือ, โลหะ, การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบตลาด, ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ ทำให้การปฏิวัติเกษตรกรรมเกิดขึ้นและดำเนินไปได้ จึงกล่าวได้ว่าแต่ละการปฏิวัติข้างต้นช่วยสนับสนุนกระบวนการของกันและกัน เป็นผลให้ทั้งสามการปฏิวัตินี้ยังคงเชื่อมโยงกันอย่างลึกซึ่งมาจนถึงปัจจุบัน

จุดกำเนิด

สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดการปฏิวัติเกษตรกรรมในเกาะบริเตน ได้แก่

  • การเพิ่มจำนวนประชากรในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เนื่องจากความก้าวหน้าทางสาธารณสุข เช่น การคิดค้นวัคซีนป้องกันฝีดาษของเอดเวิร์ส เจนเนอร์ ที่ทำให้อัตรการตายของทารกลดลง และการสมรสของหนุ่มสาวน้อยลง จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้ความต้องการด้านอาหาร, เครื่องนุ่งห่ม และวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมขยายตัวเกิดความจำเป็นต้องปรับปรุงวิธีการผลิต การเก็บรักษาผลผลิต รวมไปถึงการขนส่งที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของตลาดที่ขยายตัว
  • ประชาชนสนใจให้ใช้ประโยชน์จากที่ดินเพิ่มขึ้น การที่สินค้าเกษตรมีราคาสูงขึ้นตามการเพิ่มของอุปสงค์ทำให้เกษตรกรและเจ้าของที่ดินมีรายได้สูงขึ้น ในบางประเทศเช่นอังกฤษใช้กรรมสิทธิ์ถือครองที่ดินเป็นเครื่องกำหนดสิทธิคือมีข้อบัญญัติ ค.ศ. 1731 ว่า "ผู้เป็นเจ้าของที่ดินขนาดใหญ่และมีรายได้จากที่ดิน 600 ปอนด์สเตอร์ลิงขึ้นไป มีสิทธิ์เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร" ซึ่งเป็นเหตุจูงใจให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้น
  • ปัญหาการบำรุงรักษาความสมบูรณ์ของดิน วิธิดั้งเดิมของเกษตรกร คือ ระบบนา 2 แปลง หรือระบบนา 3 แปลง ทำให้ใช้ประโยชน์ที่ดินได้ไม่เต็มที่ ต้องปล่อยที่ดินว่างเปล่าส่วนหนึ่งทุกปี เพราะความต้องการของผลผลิตที่เพิ่มขึ้นมาก ทำให้เกิดความจำเป็นต้องการที่ดินทุกตารางนิ้วในการผลิต และแก้ปัญหาคุณภาพดินโดยการปลูกพืชหมุนเวียนซึ่งเริ่มที่เนเธอแลนด์ก่อน วิธีการปลูกพืชหมุนเสียนทำให้ดินสมบูรณ์ขึ้น จนเป็นมาตรฐานการเกษตรในยุคต่อมา
  • การคิดค้นเครื่องจักรและเทคโนโลยีในการเกษตรแบบใหม่ เช่น เครื่องหว่านข้าว เครื่องขุดหลุมฝังเมล็ดพืช ระบบปลูกข้าวหมุนเวียนทำให้เกษตรกรต้องหันมาปรับปรุงการเกษตรจนกลายเป็นกิจกรรมในระบบทุนนิยม เช่นเดียวกับอุตสาหกรรม
  • การที่ธนาคารและสถาบันการเงินมีความมั่นคงและส่งเสริมเกษตรกรทำให้ผู้ประกอบการผลิตในภาคเกษตรกรรมสามารถกู้เงินมาดำเนินธุรกิจที่ขยายตัว ซึ่งต้องลงทุนมากไม่แพ้อุตสาหกรรม เกษตรกรกลายเป็นนักธุรกิจกลุ่มใหม่ของระบบทุนนิยม

ผลกระทบ

การปฏิวัติเกษตรกรรมส่งผลกระทบอย่างยิ่งในยุโรปและดินแดนอาณานิคมของยุโรปดังนี้

  • ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศ และทำให้การค้าระหว่างประเทศขยายตัว พืชบางชนิดส่งเพื่อเป็นสินค้าออก เช่น ต้นฮอพในการหมักเบียร์ ต้นป่านในการทอผ้า ผลผลิตทางธัญพืชของอังกฤษและเวลส์ เพิ่มจาก 14.8 ล้านควอเตอร์ เป็น 16.5 ล้านควอเตอร์ และอังกฤษส่งผลิตภัณฑ์สิ่งทอขนสัตว์ออกนอกเพิ่มจาก 12.5 ล้านปอนด์สเตอร์ลิงต่อปีเป็น 35 ล้านปอนด์สเตอร์ลิงต่อปี การส่งผลผลิตทางการเกษตรจากดินแดนโพ้นทะเลมาแย่งตลาดยุโรป ทำให้ยุโรปตั้งกำแพงภาษีและห้ามเรือสินค้าเข้าเทียบท่า เพิ่อกีดกันสินค้าเกษตรจากดินแดนอาณานิคม
  • ประชากรมีสุขภาพดีขึ้นเพราะมีอาหารเพียงพอและมีคุณภาพ ระบบการผลิตทางเกษตรกรรมถูกสุขลักษณะและมีการใช้เครื่องทุ่นแรงมากขึ้น เกษตรกรมีอาหาร, มีเวลาว่าง และมีรายได้เพิ่มขึ้น เกษตรกรรมเป็นแหล่งอาหาร, วัตถุดิบ และแรงงานให้กับกิจการอุตสาหกรรม
  • การปฏิวัติได้เปลี่ยนโฉมหน้าเทคโนโลยีและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต เช่น การใช้ประโยชน์จากที่ดินอย่างเต็มที่, การปรับปรุงชลประทาน, การระบายน้ำ, การขนส่ง, ระบบสินเชื่อของธนาคาร และสถาบันการเงิน เพิ่อส่งเสริมกิจการทางการเกษตรเป็นต้น สิ่งที่น่าสนใจคือบุคคลชั้นผู้นำของดินแดนต่างๆ ล้วนส่งเสริมและสนับสนุนความก้าวหน้าของการเกษตร เช่น สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่, นายพลเดอลาฟาแยตต์แห่งฝรั่งเศส และประธานาธิบดีจอร์จ วอชิงตันแห่งสหรัฐอเมริกา

ในช่วงปฏิวัติเกษตรกรรมนั้นมีการเปลี่ยนแปลงระบบของเกษตรกรรมไปพร้อมๆ กัน มีการผลิตที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การคัดเลือกพันธุ์พืชและสัตว์ดีขึ้น, การเปลี่ยนแปลงระบบการถือครองที่ดิน และการบุกเบิกการเกษตรในที่ดินโพ้นทะเล ผลที่ตามมาก็คือความชำนาญผลิตสินค้าการเกษตรเฉพาะอย่าง เช่น การใช้เครื่องจักรในการเกษตรมากขึ้น การแบ่งงานกันทำในกิจกรรมเกษตร การลงทุนด้านเครื่องจักร และเทคนิคการเกษตรพิ่มคุณภาพของดิน จึงสามารถสรุปได้ว่าการปฏิวัติเกษตรกรรมคือการเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิตทางการเกษตร โดยเปลี่ยนแปลงด้านระบบและเทคนิคการผลิตในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 การเกษตรมีลักษณะเป็นทุนนิยมมากขึ้น สินค้าเฉพาะอย่างถูกผลิตเพื่อตลาดภายในและภายนอกประเทศ เกษตรกรผู้ถือครองที่ดินขนาดใหญ่ต้องลงทุนด้านเครื่องจักรและจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น เกิดการเกษตรเพื่อการค้าขนาดใหญ่ เช่น ในอังกฤษ, รัฐเยอรมันแถบตะวันออก, บางส่วนของรัสเซีย และแถบลุ่มแม่น้ำโปของอิตาลี ส่วนดินแดนนอกยุโรป ได้แก่ แถบที่ราบใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและแคนาดา, เขตทุ่งหญ้าแพมเฟอร์ในอาเจนตินาและออสเตรเลีย ในเขตการเกษตรขนาดเล็กตามลักษณะการถือครองที่ดิน เช่น ฝรั่งเศส, รัฐเยอรมันแถบตะวันตก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ เกษตรกรไม่อาจรับเทคนิคใหม่และเครื่องจักรในการเกษตรเพราะกิจการเล็กเกินไป แต่ใช้วิธีเลือกเพาะปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์ที่ให้ผลผลิตราคาสูงต่อหน่วยพื้นที่ขนาดเล็กและผลิตแบบใช้แรงงานต่อหน่วยสูงแต่ลงทุนน้อย เช่น ผลิตภัณฑ์นม, ไข่, ผักสด, ดอกไม้ และผลไม้

ผลกระทบในประเทศไทย

อาจได้รับแนวคิดของการจัดสรรกรรมสิทธิ์ที่ดิน การใช้ประโยชน์จากที่ดิน และปรับปรุงขยายระบบชลประทานขนาดใหญ่จากในยุโรปมาใช้ ในที่ราบลุ่มบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา โดยเฉพาะตั้งแต่ช่วงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา มีการพัฒนาระบบชลประทานเพื่อการเกษตรและการจัดสรรที่ดินให้ประชาชนทั่วไปจับจองอย่างเป็นระบบ โดยในปี พ.ศ.2413 ได้ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติธรรมเนียมคลอง” และ "ประกาศขุดคลอง" ในปี พ.ศ.2420 ซึ่งได้นำมาใช้กับโครงการขุดคลองต่าง ๆ ที่อยู่ทางบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา รวมทั้งอนุญาตให้จัดการด้านต่างๆ เพื่อการบำรุงรักษาคลองนั้นด้วย จึงมีบริษัทเอกชนเกิดขึ้นได้แก่ บริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2431 จำนวนคลองต่าง ๆ ที่ขุดมีประมาณ 50 สาย ความยาวรวมกัน ประมาณ 22,879 เส้น 17 วา 3 ศอก โดยมีระยะเวลาดำเนินการขุดในช่วงสัมปทานเป็นเวลา 25 ปี ซึ่งต่อมาได้โอนมาเป็นของรัฐบาลและกรมชลประทานได้รับมาเป็นผู้ดำเนินการต่อ ภายหลังหมดอายุสัมปทาน

อ้างอิง

  • Harrison, L F C (1989). The Common People, a History from the Norman Conquest to the Present. Glasgow: Fontana. ISBN 000686136 Check |isbn= value: length (help).
  • Kagan, Donald (2004). The Western Heritage. London: Prentice Hall. pp. 535–539. ISBN 0-13-182839-8.
  • Overton, Mark (19 September 2002). Agricultural Revolution in England 1500 - 1850. Cambridge, England: Cambridge University Press. ISBN 0-521-56859-5.
  • Snell, K.D.M (1985). Annals of the Labouring Poor, Social Change and Agrarian England 1660–1900. Cambridge University Presslocation=Cambridge, UK. ISBN 0-521-24548-6.
  • Thirsk, Joan. "'Blith, Walter (bap. 1605, d. 1654)'". Oxford Dictionary of National Biography, Oxford University Press, 2004; online edn, Jan 2008. สืบค้นเมื่อ 2 September 2011.
  • Valenze, Deborah (1995). The First Industrial Woman. Oxford Oxfordshire: Oxford University Press. p. 183. ISBN 0-19-508981-2.
  1. Barker, Graeme. (2006). The agricultural revolution in prehistory : why did foragers become farmers?. Oxford: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-155766-8. OCLC 607806028.
  2. National Geographic ฉบับภาษาไทย. การปฏิวัตินีโอลิทิค คืออะไร อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 12 เมษายน 2562.
  3. บทที่ 1 ประวัติการกสิกรรม ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563.
  4. โฉลก ภมรประวัติ ประวัติการชลประทานในประเทศไทย สำนักพัฒนาแหล่งน้ำขนาดใหญ่ กรมชลประทาน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563.
  5. กองวิจัยและพัฒนาข้าว การชลประทานกับนาข้าว อ้างอิง สถาบันวิจัยข้าว. 2545. วิวัฒนาการการผลิตข้าวไทย. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.142 หน้า. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563.

การปฏ, เกษตรกรรมในอ, งกฤษ, บทความน, ใช, ระบบคร, สต, กราช, เพราะอ, างอ, งคร, สต, กราชและคร, สต, ศตวรรษ, หร, ออย, างใดอย, างหน, การปฏ, เกษตรกรรม, งกฤษ, british, agricultural, revolution, ใช, อธ, บายช, วงของการพ, ฒนาระบบเกษตรกรรมในสหราชอาณาจ, กรระหว, างคร, สต, ศต. bthkhwamniichrabbkhristskrach ephraaxangxingkhristskrachaelakhriststwrrs hruxxyangidxyanghnung karptiwtiekstrkrrm xngkvs British Agricultural Revolution ichxthibaychwngkhxngkarphthnarabbekstrkrrminshrachxanackrrahwangkhriststwrrsthi 15 thungplaykhriststwrrsthi 19 sungsamarthcakdkhwamaebbecaacngwa karptiwtiekstrkrrminxngkvs epnkarprbprungkrabwnkarphlitephuxephimphlphlitthangkarekstrdwynwtkrrmekhruxngckrkarekstr karcdsrrkrrmsiththiaelakarichpraoychncakthidinaelachlprathan karplukphuchhmunewiyn karptiwtixaharstw sungsngphltxkarepliynaeplngechingokhrngsranginsngkhmchnbth kxihekidphunthankhxkahndebuxngtnaelapccysngesrimsahrbkrabwnkarxutsahkrrmthitamma sungxacnbidwamiphltxpraktkarnthikhlaykhlungknniekidkhunthwyuorptawntkinchwngewlathdmainstwrrsthi 18 idaek enethxraelnd frngess aelaeyxrmni tamladb aelayngsngphlkrathbtxrthinyuorpphunthwipaelaaewdlxm inechingprawtisastrkarepliynaeplngnixaceriykwaepn karptiwtiekstrkrrmkhrngthisxng odykhrngaerkekidkhuninyukhhinihmemuxpraman 10 000 7 000 pikxn karptiwtiyukhhinihm 1 2 3 chawnaplukhyaaehngodyichekhiywaelakhrad kh s 1510 karphthnaekhruxngckrklinkarptiwtikarekstr ekhruxngekbekiywinpi kh s 1881 karptiwtiekstrkrrminshrachxanackrinchwngewladngklawni epnyukhthikarkhyaytwkhxngphlphlitthangekstrkrrmaelaphlphlitsuththi thalaywngcrkarkhadaekhlnxaharinxditthi thukthwipbnolktangekhyephchiykbchwngkhxngsngkhraminprawtisastr sngkhramehlanisngphlkrathbtxcanwnprachakrimihkhyaytw ephuxihsxdkhlxngkbxanaekhtthiprachakrehlannxasyxyu sngkhramcaekidkhunemuxekidkarkhadaekhlnxaharepnewlananchwngidchwnghnung sungodymakaelwcaepnchwngewlathiyawnanmakkwahnungpi rwmipthungkarthithrphyakrxyang sphaphxakas aerngngan thrphysin karkhmnakhmkhnsng aelaxun immiehluxxyuhruximsamarththaihekidkarephaaplukkhunid txmaemuxsngkhramhruxkarkhadaekhlnxaharklaymaepnpyhaphayinpraeths khwamsamarthinkarsuxaelakhnsngxaharcakdinaednthixyuhangiklxxkipkekhamabrrethaphlkrathbcakkarkhadaekhlnxaharlngid karptiwtiekstrkrrmbnekaabrietnihyekidkhunphanchwngewlahlaystwrrs sungehmuxnkarwiwthnakarmakkwacaepnkarptiwti txmacungaephrkhyayipinpraethsxun bnthwipyuorpaelainxananikhmkhxngpraethsehlanndwy singhnungthikratunihekidkarptiwtiekstrkrrmkhunkhuxkarthixngkvsphthnarabbthidinaelakarbarungrksathidinsungehmaaaekkarephaapluk odyepahmaykephuxthicaldkarsuyesiysarxaharsahrbphuchindin thaihphlphlittxexekhxrsungkhuntamladb chawnaichekhruxngmuxkarphlitaelaekhruxngckrinkarekbekiywphlphlitthimakkhunsungchwyldkarichaerngngankhnlngdwy karptiwtikarekstrerngtwkhunphrxmkbthikarptiwtixutsahkrrmaelakhwamkawhnathangekhmikxihekidkhwamruthangwithyasastr khwammngkhng aelaethkhonolyi ekhruxngckrkarekstrxun aelarabbkarkhakhaysarxaharphuchcungekidkhuntamma phrrnphuchchnidihmxyangechnmnfrng thuknaekhamapramanpi kh s 1600 khawophd aelaphuchxun thuknamacakthwipxemrikasungphthnakarekstrinphunthiephaaplukechnknkarptiwtiekstrkrrm karptiwtixutsahkrrm aelakarptiwtiwithyasastr thukphthnaipxyangepnkhnepntxn aelakarptiwtixutsahkrrmaelakarptiwtiwithyasastrcaekidkhunimidelyhakprascakprimanxaharthiephimkhunsungnaiphlxeliyngprachakrthikhyaytwtamemuxngihy nxkcaknidwyenginthun ekhruxngmux olha karkhyaytwkhxngesrsthkicaebbtlad khwamruthangwithyasastraelaethkhonolyicakkarptiwtixutsahkrrmaelawithyasastr thaihkarptiwtiekstrkrrmekidkhunaeladaeninipid cungklawidwaaetlakarptiwtikhangtnchwysnbsnunkrabwnkarkhxngknaelakn epnphlihthngsamkarptiwtiniyngkhngechuxmoyngknxyangluksungmacnthungpccubn enuxha 1 cudkaenid 2 phlkrathb 2 1 phlkrathbinpraethsithy 3 xangxingcudkaenid aekikhsaehtuhlkthithaihekidkarptiwtiekstrkrrminekaabrietn idaek karephimcanwnprachakrinchwngkhriststwrrsthi 19 enuxngcakkhwamkawhnathangsatharnsukh echn karkhidkhnwkhsinpxngknfidaskhxngexdewirs ecnenxr thithaihxtrkartaykhxngtharkldlng aelakarsmrskhxnghnumsawnxylng canwnprachakrthiephimkhunnithaihkhwamtxngkardanxahar ekhruxngnunghm aelawtthudibsahrbxutsahkrrmkhyaytwekidkhwamcaepntxngprbprungwithikarphlit karekbrksaphlphlit rwmipthungkarkhnsngthimiprasiththiphaphmakkhun ephuxihephiyngphxkbkhwamtxngkarkhxngtladthikhyaytw prachachnsnicihichpraoychncakthidinephimkhun karthisinkhaekstrmirakhasungkhuntamkarephimkhxngxupsngkhthaihekstrkraelaecakhxngthidinmirayidsungkhun inbangpraethsechnxngkvsichkrrmsiththithuxkhrxngthidinepnekhruxngkahndsiththikhuxmikhxbyyti kh s 1731 wa phuepnecakhxngthidinkhnadihyaelamirayidcakthidin 600 pxndsetxrlingkhunip misiththiepnsmachiksphaphuaethnrasdr sungepnehtucungicihmikarichpraoychnthidinephimkhun pyhakarbarungrksakhwamsmburnkhxngdin withidngedimkhxngekstrkr khux rabbna 2 aeplng hruxrabbna 3 aeplng thaihichpraoychnthidinidimetmthi txngplxythidinwangeplaswnhnungthukpi ephraakhwamtxngkarkhxngphlphlitthiephimkhunmak thaihekidkhwamcaepntxngkarthidinthuktarangniwinkarphlit aelaaekpyhakhunphaphdinodykarplukphuchhmunewiynsungerimthienethxaelndkxn withikarplukphuchhmunesiynthaihdinsmburnkhun cnepnmatrthankarekstrinyukhtxma karkhidkhnekhruxngckraelaethkhonolyiinkarekstraebbihm echn ekhruxnghwankhaw ekhruxngkhudhlumfngemldphuch rabbplukkhawhmunewiynthaihekstrkrtxnghnmaprbprungkarekstrcnklayepnkickrrminrabbthunniym echnediywkbxutsahkrrm karthithnakharaelasthabnkarenginmikhwammnkhngaelasngesrimekstrkrthaihphuprakxbkarphlitinphakhekstrkrrmsamarthkuenginmadaeninthurkicthikhyaytw sungtxnglngthunmakimaephxutsahkrrm ekstrkrklayepnnkthurkicklumihmkhxngrabbthunniymphlkrathb aekikhkarptiwtiekstrkrrmsngphlkrathbxyangyinginyuorpaeladinaednxananikhmkhxngyuorpdngni phlphlitthangkarekstrephimkhunxyangrwderw epnaehlngrayidthisakhykhxngpraeths aelathaihkarkharahwangpraethskhyaytw phuchbangchnidsngephuxepnsinkhaxxk echn tnhxphinkarhmkebiyr tnpaninkarthxpha phlphlitthangthyphuchkhxngxngkvsaelaewls ephimcak 14 8 lankhwxetxr epn 16 5 lankhwxetxr aelaxngkvssngphlitphnthsingthxkhnstwxxknxkephimcak 12 5 lanpxndsetxrlingtxpiepn 35 lanpxndsetxrlingtxpi karsngphlphlitthangkarekstrcakdinaednophnthaelmaaeyngtladyuorp thaihyuorptngkaaephngphasiaelahameruxsinkhaekhaethiybtha ephixkidknsinkhaekstrcakdinaednxananikhm prachakrmisukhphaphdikhunephraamixaharephiyngphxaelamikhunphaph rabbkarphlitthangekstrkrrmthuksukhlksnaaelamikarichekhruxngthunaerngmakkhun ekstrkrmixahar miewlawang aelamirayidephimkhun ekstrkrrmepnaehlngxahar wtthudib aelaaerngnganihkbkickarxutsahkrrm karptiwtiidepliynochmhnaethkhonolyiaelapccythiekiywkhxngkbkrabwnkarphlit echn karichpraoychncakthidinxyangetmthi karprbprungchlprathan karrabayna karkhnsng rabbsinechuxkhxngthnakhar aelasthabnkarengin ephixsngesrimkickarthangkarekstrepntn singthinasnickhuxbukhkhlchnphunakhxngdinaedntang lwnsngesrimaelasnbsnunkhwamkawhnakhxngkarekstr echn smedcphraecacxrcthi 2 aehngbrietnihy nayphledxlafaaeyttaehngfrngess aelaprathanathibdicxrc wxchingtnaehngshrthxemrikainchwngptiwtiekstrkrrmnnmikarepliynaeplngrabbkhxngekstrkrrmipphrxm kn mikarphlitthimiprasiththiphaphmakkhun echn karkhdeluxkphnthuphuchaelastwdikhun karepliynaeplngrabbkarthuxkhrxngthidin aelakarbukebikkarekstrinthidinophnthael phlthitammakkhuxkhwamchanayphlitsinkhakarekstrechphaaxyang echn karichekhruxngckrinkarekstrmakkhun karaebngnganknthainkickrrmekstr karlngthundanekhruxngckr aelaethkhnikhkarekstrphimkhunphaphkhxngdin cungsamarthsrupidwakarptiwtiekstrkrrmkhuxkarepliynaeplngaelakarprbprungprasiththiphaphinkarphlitthangkarekstr odyepliynaeplngdanrabbaelaethkhnikhkarphlitinchwngkhriststwrrsthi 7 thungkhriststwrrsthi 19 karekstrmilksnaepnthunniymmakkhun sinkhaechphaaxyangthukphlitephuxtladphayinaelaphaynxkpraeths ekstrkrphuthuxkhrxngthidinkhnadihytxnglngthundanekhruxngckraelacangaerngnganephimkhun ekidkarekstrephuxkarkhakhnadihy echn inxngkvs rtheyxrmnaethbtawnxxk bangswnkhxngrsesiy aelaaethblumaemnaopkhxngxitali swndinaednnxkyuorp idaek aethbthirabihykhxngshrthxemrikaaelaaekhnada ekhtthunghyaaephmefxrinxaecntinaaelaxxsetreliy inekhtkarekstrkhnadelktamlksnakarthuxkhrxngthidin echn frngess rtheyxrmnaethbtawntk ebleyiym aelaenethxraelnd ekstrkrimxacrbethkhnikhihmaelaekhruxngckrinkarekstrephraakickarelkekinip aetichwithieluxkephaaplukphuchhruxeliyngstwthiihphlphlitrakhasungtxhnwyphunthikhnadelkaelaphlitaebbichaerngngantxhnwysungaetlngthunnxy echn phlitphnthnm ikh phksd dxkim aelaphlim phlkrathbinpraethsithy aekikh xacidrbaenwkhidkhxngkarcdsrrkrrmsiththithidin karichpraoychncakthidin aelaprbprungkhyayrabbchlprathankhnadihycakinyuorpmaich inthirablumbriewnlumaemnaecaphraya odyechphaatngaetchwngphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwepntnma mikarphthnarabbchlprathanephuxkarekstraelakarcdsrrthidinihprachachnthwipcbcxngxyangepnrabb odyinpi ph s 2413 idprakasich phrarachbyytithrrmeniymkhlxng aela prakaskhudkhlxng inpi ph s 2420 sungidnamaichkbokhrngkarkhudkhlxngtang thixyuthangbriewnfngtawnxxkkhxngaemnaecaphraya rwmthngxnuyatihcdkardantang ephuxkarbarungrksakhlxngnndwy cungmibristhexkchnekidkhunidaek bristhkhudkhlxngaelkhunasyam sungkxtngkhuninpi ph s 2431 canwnkhlxngtang thikhudmipraman 50 say khwamyawrwmkn praman 22 879 esn 17 wa 3 sxk odymirayaewladaeninkarkhudinchwngsmpthanepnewla 25 pi sungtxmaidoxnmaepnkhxngrthbalaelakrmchlprathanidrbmaepnphudaeninkartx phayhlnghmdxayusmpthan 4 5 xangxing aekikhHarrison L F C 1989 The Common People a History from the Norman Conquest to the Present Glasgow Fontana ISBN 000686136Check isbn value length help Kagan Donald 2004 The Western Heritage London Prentice Hall pp 535 539 ISBN 0 13 182839 8 Overton Mark 19 September 2002 Agricultural Revolution in England 1500 1850 Cambridge England Cambridge University Press ISBN 0 521 56859 5 Snell K D M 1985 Annals of the Labouring Poor Social Change and Agrarian England 1660 1900 Cambridge University Presslocation Cambridge UK ISBN 0 521 24548 6 Thirsk Joan Blith Walter bap 1605 d 1654 Oxford Dictionary of National Biography Oxford University Press 2004 online edn Jan 2008 subkhnemux 2 September 2011 Valenze Deborah 1995 The First Industrial Woman Oxford Oxfordshire Oxford University Press p 183 ISBN 0 19 508981 2 bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastr Barker Graeme 2006 The agricultural revolution in prehistory why did foragers become farmers Oxford Oxford University Press ISBN 978 0 19 155766 8 OCLC 607806028 National Geographic chbbphasaithy karptiwtinioxlithikh khuxxair xmrinthrphrintingaexndphblichching 12 emsayn 2562 bththi 1 prawtikarksikrrm phakhwichaphuchsastr khnathrphyakrthrrmchati mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhthadihy subkhnemux 24 thnwakhm 2563 ochlk phmrprawti prawtikarchlprathaninpraethsithy sankphthnaaehlngnakhnadihy krmchlprathan subkhnemux 24 thnwakhm 2563 kxngwicyaelaphthnakhaw karchlprathankbnakhaw xangxing sthabnwicykhaw 2545 wiwthnakarkarphlitkhawithy krmwichakarekstr krathrwngekstraelashkrn 142 hna subkhnemux 24 thnwakhm 2563 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karptiwtiekstrkrrminxngkvs amp oldid 9184045, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม