fbpx
วิกิพีเดีย

การพิสูจน์ทฤษฎีบทด้วยคอมพิวเตอร์

การพิสูจน์ทฤษฎีบทด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นบทพิสูจน์ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ที่มีบางส่วนถูกสร้างขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ บทพิสูจน์ที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยส่วนใหญ่ในปัจจุบัน มักใช้วิธีการพิสูจน์โดยการลองทุกความเป็นไปได้ของทฤษฎีที่พยายามพิสูจน์อยู่ ทฤษฎีบทสี่สีเป็นทฤษฎีใหญ่อันแรกที่ถูกพิสูจน์ด้วยคอมพิวเตอร์

แนวคิดของวิธีการนี้ คือการให้คอมพิวเตอร์รับหน้าที่ทำการคำนวณอันยืดยาว โดยใช้เทคนิคเลขคณิตเชิงช่วงในการควบคุม ไม่ให้มีความผิดพลาดมากเกินไป นั่นคือ เราสามารถมองการคำนวณที่ซับซ้อน เป็นลำดับของการคำนวณพื้นฐาน (เช่น +, -, *, /) ผลที่ได้จากการคำนวณพื้นฐานแต่ละขั้นนี้ เป็นผลโดยประมาณเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีความแม่นยำจำกัด อย่างไรก็ตาม เราสามารถสร้างช่วงของคำตอบที่ถูกต้องได้จากผลโดยประมาณนี้ จากนั้นเราสามารถดำเนินการขั้นตอนต่อๆไป โดยการทำการคำนวณระหว่างช่วงของตัวเลขแต่ละตัวที่ได้มา

นอกจากนี้ ในสาขาวิจัยทางด้านปัญญาประดิษฐ์ ยังได้มีความพยายาม ที่จะสร้างบทพิสูจน์ใหม่ที่กระชับและชัดเจนกว่าเดิม โดยการใช้เทคนิคการให้เหตุผลโดยเครื่องจักร เช่น การค้นหาแบบฮิวริสติก ตัวพิสูจน์โดยอัตโนมัติดังกล่าวนี้ ได้ช่วยพิสูจน์ทฤษฏีใหม่ๆ อีกทั้งยังสร้างบทพิสูจน์ใหม่ๆ ให้กับทฤษฏีที่เคยได้รับพิสูจน์มาแล้วอีกด้วย

เป้าหมายเชิงปรัชญา

การพิสูจน์ทฤษฎีบทด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นประเด็นที่มีการโต้เถียงกันมากในวงการคณิตศาสตร์ นักคณิตศาสตร์บางคนมีความเชื่อว่า บทพิสูจน์ที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยอันแสนยืดยาวนั้น ไม่ถือเป็นบทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์จริงๆ เนื่องจากบทพิสูจน์แบบนี้ เต็มไปด้วยขั้นตอนการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ที่ยาวเกินกว่าที่มนุษย์จะสามารถตรวจสอบได้ และรู้สึกว่านักคณิตศาสตร์ถูกบังคับให้ไว้ใจ ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ในทางกลับกัน เราสามารถถามคำถามโต้กลับได้ว่า หากมนุษย์ไม่ไว้ใจคอมพิวเตอร์ให้ทำการคำนวณอันยืดยาวแล้ว เหตุใดเราจึงไว้ใจในการใช้เหตุผลอันยืดยาวไม่แพ้กัน ของนักคณิตศาสตร์บางคน?

อ้างอิง

  • Lenat, D.B., (1976), AM: An artificial intelligence approach to discovery in mathematics as heuristic search, Ph.D. Thesis, STAN-CS-76-570, and Heuristic Programming Project Report HPP-76-8, Stanford University, AI Lab., Stanford, CA.

แหล่งข้อมูลอื่น

การพ, จน, ทฤษฎ, บทด, วยคอมพ, วเตอร, เป, นบทพ, จน, ทฤษฎ, ทางคณ, ตศาสตร, บางส, วนถ, กสร, างข, นโดยคอมพ, วเตอร, บทพ, จน, ใช, คอมพ, วเตอร, วยส, วนใหญ, ในป, จจ, กใช, การพ, จน, โดยการลองท, กความเป, นไปได, ของทฤษฎ, พยายามพ, จน, อย, ทฤษฎ, บทส, เป, นทฤษฎ, ใหญ, นแรกท, ก. karphisucnthvsdibthdwykhxmphiwetxr epnbthphisucnthvsdithangkhnitsastrthimibangswnthuksrangkhunodykhxmphiwetxr bthphisucnthiichkhxmphiwetxrchwyswnihyinpccubn mkichwithikarphisucnodykarlxngthukkhwamepnipidkhxngthvsdithiphyayamphisucnxyu thvsdibthsisiepnthvsdiihyxnaerkthithukphisucndwykhxmphiwetxraenwkhidkhxngwithikarni khuxkarihkhxmphiwetxrrbhnathithakarkhanwnxnyudyaw odyichethkhnikhelkhkhnitechingchwnginkarkhwbkhum imihmikhwamphidphladmakekinip nnkhux erasamarthmxngkarkhanwnthisbsxn epnladbkhxngkarkhanwnphunthan echn phlthiidcakkarkhanwnphunthanaetlakhnni epnphlodypramanenuxngcakkhxmphiwetxrmikhwamaemnyacakd xyangirktam erasamarthsrangchwngkhxngkhatxbthithuktxngidcakphlodypramanni caknnerasamarthdaeninkarkhntxntxip odykarthakarkhanwnrahwangchwngkhxngtwelkhaetlatwthiidmanxkcakni insakhawicythangdanpyyapradisth yngidmikhwamphyayam thicasrangbthphisucnihmthikrachbaelachdecnkwaedim odykarichethkhnikhkarihehtuphlodyekhruxngckr echn karkhnhaaebbhiwristik twphisucnodyxtonmtidngklawni idchwyphisucnthvstiihm xikthngyngsrangbthphisucnihm ihkbthvstithiekhyidrbphisucnmaaelwxikdwyepahmayechingprchya aekikhkarphisucnthvsdibthdwykhxmphiwetxr epnpraednthimikarotethiyngknmakinwngkarkhnitsastr nkkhnitsastrbangkhnmikhwamechuxwa bthphisucnthiichkhxmphiwetxrchwyxnaesnyudyawnn imthuxepnbthphisucnthangkhnitsastrcring enuxngcakbthphisucnaebbni etmipdwykhntxnkarihehtuphlthangkhnitsastr thiyawekinkwathimnusycasamarthtrwcsxbid aelarusukwankkhnitsastrthukbngkhbihiwic inkarekhiynopraekrmkhxmphiwetxrinthangklbkn erasamarththamkhathamotklbidwa hakmnusyimiwickhxmphiwetxrihthakarkhanwnxnyudyawaelw ehtuideracungiwicinkarichehtuphlxnyudyawimaephkn khxngnkkhnitsastrbangkhn xangxing aekikhLenat D B 1976 AM An artificial intelligence approach to discovery in mathematics as heuristic search Ph D Thesis STAN CS 76 570 and Heuristic Programming Project Report HPP 76 8 Stanford University AI Lab Stanford CA aehlngkhxmulxun aekikhEdmund Furse Why did AM run out of steam Archived 2006 05 28 thi ewyaebkaemchchin Keith Devlin Last doubts removed about the proof of the Four Color Theorem Archived 2005 02 06 thi ewyaebkaemchchin MAA Online January 2005 formal method ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karphisucnthvsdibthdwykhxmphiwetxr amp oldid 9615042, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม