fbpx
วิกิพีเดีย

การหายใจระดับเซลล์

การหายใจระดับเซลล์🌟 (อังกฤษ: cellular respiration) เป็นชุดปฏิกิริยาและกระบวนการทางเมแทบอลิซึมที่เกิดในเซลล์สิ่งมีชีวิตเพื่อเปลี่ยนแปลงพลังงานชีวเคมีจากสารอาหารเป็นอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) และปล่อยผลิตภัณฑ์ของเสียออกมา ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องในการหายใจมีปฏิกิริยาแคแทบอลิซึมที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดอกซ์ (หมายถึง มีทั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน) การหายใจเป็นหนึ่งในวิธีการหลักที่เซลล์จะได้รับพลังงานที่มีประโยชน์เพื่อเป็นเชื้อเพลิงการเปลี่ยนแปลงของเซลล์

สารอาหารซึ่งเซลล์สัตว์และพืชมักใช้ในการหายใจ มีน้ำตาล กรดอะมิโนและกรดไขมัน ตลอดจนตัวออกซิไดซ์ทั่วไป (ตัวรับอิเล็กตรอน) ในโมเลกุลออกซิเจน (O2) แบคทีเรียและอาร์เคียยังเป็นลิโธโทรฟ (lithotroph) คือ อาจหายใจได้โดยใช้โมเลกุลอนินทรีย์หลากชนิดเป็นตัวให้และรับอิเล็กตรอน เช่น กำมะถัน ไอออนโลหะ มีเทนและไฮโดรเจน สิ่งมีชีวิตซึ่งใช้ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายในการหายใจเรียกว่า สิ่งมีชีวิตต้องการออกซิเจน (aerobic) ส่วนสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย เรียกว่า สิ่งมีชีวิตไม่ต้องการออกซิเจน (anaerobic)

พลังงานซึ่งปลดปล่อยออกมาในการหายใจใช้ในการสังเคราะห์เอทีพีเพื่อเก็บพลังงานนี้ พลังงานที่เก็บในเอทีพีจากนั้นสามารถใช้เพื่อขับเคลื่อนขบวนการซึ่งอาศัยพลังงาน ได้แก่ ชีวสังเคราะห์ การเคลื่อนที่หรือการส่งโมเลกุลข้ามเยื่อหุ้มเซลล์

การหายใจแบบใช้ออกซิเจน

 
การหายใจแบบใช้ออกซิเจน (ลูกศรสีแดง) เป็นวิธีการหลักซึ่งพืชและสัตว์ต่างใช้พลังงานเป็นประโยชน์ในรูปของสารอินทรีย์ซึ่งสร้างขึ้นจากการสังเคราะห์ด้วยแสง (ลูกศรสีเขียว) ก่อนหน้านี้

การหายใจแบบใช้ออกซิเจนต้องใช้ออกซิเจนเพื่อผลิตพลังงาน (ATP) แม้ว่าสารพวกคาร์โบไฮเดรต ลิพิดและโปรตีนจะสามารถผ่านขบวนการและใช้เป็นตัวทำปฏิกิริยาได้ทั้งหมด แต่ร่างกายมักใช้วิธีการสลายไพรูเวตในไกลโคไลสิส และกำหนดให้ไพรูเวตเข้าสู่ไมโทคอนเดรียเพื่อให้ถูกออกซิไดซ์ (oxideze) อย่างสมบูรณ์ในวัฏจักรเครปส์ ผลิตภัณฑ์ของขบวนการนี้คือ พลังงานในรูปของ ATP โดยฟอสโฟรีเลชันระดับซับสเตรต (substrate-level phosphorylation) NADH และ FADH2

สมการปฏิกิริยาอย่างง่าย: C6H12O6 (aq) + 6 O2 (g) → 6 CO2 (g) + 6 H2O (l) + ความร้อน
ΔG = -2880 kJ ต่อโมลของ C6H12O6 (กลูโคส)

ค่า ΔG ที่ติดลบ แสดงว่า ปฏิกิริยานี้เกิดเองได้

ศักย์รีดิวซ์ของ NADH และ FADH2 ถูกแปลงไปเป็น ATP เพิ่มขึ้นอีกผ่านลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน (electron transport chain) โดยมีออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ATP ส่วนใหญ่ที่ผลิตจากการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจนเป็นผลของออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน ซึ่งทำงานได้โดยพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากการสลายไพรูเวตนำไปใช้ในการปั๊มโปรตอนข้ามเยื่อหุ้ม เพื่อให้เกิดศักย์เคมิออสโมซิส (chemiosmosis) จากนั้น ศักย์เคมิออสโมซิสดังกล่าวจะถูกใช้ขับเคลื่อนเอทีพีซินเทส (ATP synthase) และสร้าง ATP จาก ADP และหมู่ฟอสเฟต ตำราชีววิทยามักระบุว่า กลูโคสหนึ่งโมเลกุลสามารถออกซิไดซ์ได้ ATP สูงสุด 38 โมเลกุลในการหายใจระดับเซลล์ (2 จากไกลโคไลสิส 2 จากวัฏจักรเครปส์ และ 34 จากลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน) ทว่า ในร่างกายแทบไม่เคยได้ผลลัพธ์สูงสุดดังกล่าวเลย เนื่องจากการสูญเสีย ซึ่งอาจเนื่องมาจากเยื่อหุ้มรั่ว เช่นเดียวกับค่าการขนส่งไพรูเวตและ ADP เข้าสู่เมตริกซ์ของไมโทคอนเดรียและปัจจุบันประเมินไว้ที่ราว 29 ถึง 30 ATP ต่อกลูโคส

เมแทบอลิซึมที่ใช้ออกซิเจนมีประสิทธิภาพสูงกว่าเมแทบอลิซึมแบบไม่ใช้ออกซิเจนถึง 15 เท่า (ซึ่งให้ ATP 2 โมเลกุลต่อ 1 โมเลกุลกลูโคส) ทั้งสองมีวิถีไกลโคไลสิสเริ่มต้นเหมือนกัน แต่เมแทบอลิซึมแบบใช้ออกซิเจนจะเกิดวัฏจักรเครปส์และออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชันต่อ ซึ่งวัฏจักรเครปส์และออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชันเกิดขึ้นในไมโทคอนเดรียในเซลล์ยูคาริโอต และไซโทพลาสซึมของเซลล์โปรคาริโอต

ไกลโคไลซิส

ดูบทความหลักที่: ไกลโคไลสิส

ไกลโคไลสิสเป็นวิถีเมแทบอลิซึมที่เกิดในไซโตซอลของเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกชนิด วิถีดังกล่าวไม่ต้องอาศัยออกซิเจน จึงสามารถเกิดได้แม้ในสภาวะขาดออกซิเจน ขบวนการนี้เปลี่ยนกลูโคสหนึ่งโมเลกุลเป็นไพรูเวตสองโมเลกุล และสร้างพลังงานออกมาในรูปของ ATP สุทธิสองโมเลกุล แท้จริงแล้ว ในขบวนการดังกล่าวได้ ATP ออกมาสี่โมเลกุลต่อกลูโคส แต่มีการใช้ ATP สองโมเลกุลในระยะการเตรียม (preparatory phase) ฟอสโฟรีเลชันขั้นต้นของกลูโคสมีความจำเป็นในการทำให้โมเลกุลไม่เสถียรเพื่อแยกออกเป็นไพรูเวตสองโมเลกุล ระหว่างขั้นได้พลังงานคืน (pay-off phase) ของไกลโคไลสิส หมู่ฟอสเฟตสี่หมู่ถูกขนส่งไปยัง ADP โดยฟอสโฟรีเลชันระดับซับสเตรตเพื่อสร้าง ATP สี่โมเลกุล และมีการสร้าง NADH สองโมเลกุลเมื่อออกซิไดซ์ไพรูเวต สมการปฏิกิริยารวมเขียนได้ดังนี้

กลูโคส + 2 NAD+ + 2 Pi + 2 ADP → 2 ไพรูเวต + 2 NADH + 2 ATP + 2 H+ + 2 H2O + ความร้อน

ออกซิเดทีฟดีคาร์บอกซิเลชันของไพรูเวต

ไพรูเวตถูกออกซิไดซ์เป็นอะซิติลโค เอ และคาร์บอนไดออกไซด์โดยไพรูวิกดีไฮโดรจิเนสคอมเพล็กซ์ (pyruvate dehydrogenase complex, PDC) ซึ่งประกอบด้วยเอนไซม์สามตัวและพบในไมโทคอนเดรียของเซลล์ยูคาริโอตและในไซโตซอลของโปรคาริโอต ในการเปลี่ยนไพรูเวตเป็นอะซิติลโค เอ จะได้ NADH และคาร์บอนไดออกไซด์อย่างละหนึ่งโมเลกุล ขั้นนี้ยังเป็นปฏิกิริยาเชื่อมโยงหรือปฏิกิริยาเปลี่ยนผ่าน ซึ่งเชื่อมระหว่างไกลโคไลสิสกับวัฏจักรเครปส์

วัฏจักรเครปส์

ดูบทความหลักที่: วัฏจักรเครปส์

มีชื่อเรียกอื่นอีก ได้แก่ วัฏจักรกรดซิตริก หรือวัฏจักรกรดไตรคาร์บอกซิลิก เมื่ออยู่ในสภาวะที่ออกซิเจนเพียงพอ อะซิติลโค เอจะถูกสร้างขึ้นจากโมเลกุลไพรูเวตซึ่งได้มาจากไกลโคไลสิส เมื่อสร้างอะซิติลโค เอขึ้นมาแล้ว จะสามารถเกิดขบวนการต่อไปได้สองขบวนการ คือ การหายใจแบบใช้ออกซิเจนหรือไม่ใช้ออกซิเจน ในสภาวะออกซิเจนไม่เพียงพอ จะเกิดการหมักโมเลกุลไพรูเวต ส่วนในสภาวะที่ออกซิเจนเพียงพอ ไมโทคอนเดรียจะดำเนินการหายใจแบบใช้ออกซิเจน อะซิติลโค เอจะถูกนำเข้าสู่วัฏจักรเครปส์ในเมตริกซ์ของไมโทคอนเดรีย และถูกออกซิไดซ์จนได้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ ขณะที่ริวดิวซ์ NAD เป็น NADH ไปพร้อมกัน NADH สามารถถูกใช้สร้าง ATP เพิ่มอีกโดยลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน ในออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน เพื่อที่จะออกซิไดซ์อย่างสมบูรณ์ให้เทียบเท่ากลูโคสหนึ่งโมเลกุล อะซิติลโค เอสองโมเลกุลต้องเกิดเมแทบอลิซึมโดยวัฏจักรเครปส์ วัฏจักรนี้ได้ผลิตภัณฑ์ของเสียออกมาสองอย่าง คือ น้ำและคาร์บอนไดออกไซด์

วัฏจักรเครปส์เป็นขบวนการ 8 ขั้นตอนที่มีเอนไซม์และโคเอนไซม์จำนวนมากเข้ามาเกี่ยวข้อง สารตัวกลางในวัฏจักร ได้แก่ ซิเตรด (citrate) ไอโซซิเตรด (isocitrate) แอลฟาคีโตกลูตาเรต (α-Ketoglutarate) ซักซินิลโค เอ (succinyl-CoA) ซักซิเนต (succinate) ฟูมาเรต (fumarate) มาเลต (malate) และออกซาโลอะซิเตด (oxaloacetate) พลังงานสุทธิเมื่อเกิดวัฏจักรเครปส์หนึ่งรอบ คือ 3 NADH, 1 FADH2 และ 1 GTP ซึ่ง GTP อาจสามารถถูกใช้สร้าง ATP ในภายหลังได้ ดังนั้น ผลผลิตสุทธิจากกลูโคสหนึ่งโมเลกุล (ไพรูเวต 2 โมเลกุล) คือ 6 NADH, 2 FADH2 และ 2 ATP จะได้น้ำ 12 โมเลกุล

ออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน

ในยูคาริโอต ออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชันเกิดขึ้นในคริสตีของไมโทคอนเดรีย ประกอบด้วย ลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน ซึ่งทำให้เกิดความแตกต่างของโปรตอน (ศักย์เคมิออสโมซิส) ข้ามเยื่อหุ้มชั้นในโดยการออกซิไดซ์ NADH ที่ได้จากวัฏจักรเครปส์ ATP จะถูกสังเคราะห์โดยเอนไซม์เอทีพีซินเทส (ATP synthase) เมื่อความแตกต่างทางเคมิออสโมซิสใช้ขับเคลื่อนฟอสโฟรีเลชันของ ADP ท้ายสุด อิเล็กตรอนจะถูกส่งต่อไปยังออกซิเจนที่หายใจรับเข้ามา และเมื่อรวมกับโปรตอนอีกสองตัว จะเกิดเป็นน้ำ

ตารางด้านล่างอธิบายปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องเมื่อกลูโคสหนึ่งโมเลกุลถูกออกซิไดซ์อย่างสมบูรณ์เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ มีการสันนิษฐานว่า โคเอนไซม์ในรูปรีดิวซ์ทั้งหมดถูกออกซิไดซ์โดยลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอนและถูกใช้ในออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน

ขั้น ผลผลิตโคเอนไซม์ ผลผลิต ATP แหล่งของ ATP
ขั้นเตรียมของไกลโคไลสิส -2 ฟอสโฟรีเลชันของกลูโคสและฟรุกโทส 6-ฟอสเฟตใช้ 2 ATP จากไซโทพลาสซึม
ขั้นได้พลังงานของไกลโคไลสิส 4 ฟอสโฟรีเลชันระดับซับสเตรต
2 NADH 4–6 ออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน NADH แต่ละโมเลกุลสร้าง ATP สุทธิ 3 โมเลกุล จากการขนส่ง NADH ข้ามเยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย
ออกซิเดทีฟดีคาร์บอกซิเลชันของไพรูเวต 2 NADH 6 ออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน
วัฏจักรเครปส์ 2 ฟอสโฟรีเลชันระดับซัสเตรต
6 NADH 18 ออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน
2 FADH2 4 ออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน
ผลผลิตทั้งหมด 36–38 ATP จากออกซิเดชันอย่างสมบูรณ์ของกลูโคสหนึ่งโมเลกุลเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ และออกซิเดชันของโคเอนไซม์ในรูปรีดิวซ์ทั้งหมด

แม้ทางทฤษฎีจะระบุว่า กลูโคสหนึ่งโมเลกุลจะให้ผลผลิต ATP สุทธิสูงสุด 38 โมเลกุลจากการหายใจระดับบเซลล์ แต่สภาวะดังกล่าวโดยปกติไม่สามารถเกิดขึ้นได้จริง เนื่องจากการสูญเสีย เช่น ค่าการย้ายไพรูเวต ฟอสเฟตและ ADP เข้าสู่ไมโทคอนเดรีย ทั้งหมดต้องถูกลำเลียงแบบใช้พลังงานโดยใช้ตัวพาซึ่งใช้พลังงานที่เก็บสะสมไว้ในความแตกต่างทางไฟฟ้าเคมีของโปรตอน

ผลผลิตของขบวนการขนส่งเหล่านี้โดยใช้ความแตกต่างทางไฟฟ้าเคมีของโปรตอน คือ ต้องใช้มากกว่า 3 โปรตอนในการสร้าง 1 ATP จึงชัดเจนว่า เป็นการลดประสิทธิภาพของขบวนการทั้งหมดในทางทฤษฎี และผลผลิตสูงสุดที่น่าจะใกล้เคียงกับ 28-30 ATP มากกว่า ในทางปฏิบัติ ประสิทธิภาพอาจลดลงไปอีก เนื่องจากเยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรียนั้นรั่วต่อโปรตอนเล็กน้อย นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นอีก คือ โปรตีนอันคัปปลิง (uncoupling protein, UCP) ซึ่งมีอยู่ในบางเซลล์ เป็นช่องทางที่สามารถขนส่งโปรตอนได้ เมื่อโปรตีนนี้ทำงานในเยื่อหุ้มชั้นใน จะเป็นการลัดวงจรการจับคู่ระหว่างลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอนกับการสังเคราะห์ ATP พลังงานศักย์จากความแกต่างของโปรตอนไม่ถกนำไปสร้าง ATP แต่จะให้ความร้อนแทน ซึ่งขบวนการดังกล่าวค่อนข้างมีความสำคัญในการก่อความร้อนของไขมันสีน้ำตาลในสัตว์แรกเกิดและจำศีล

การหมัก

ดูบทความหลักที่: การหมัก (ชีวเคมี)

เมื่อปราศจากออกซิเจน ไพรูเวตจะไม่เกิดเมแทบอลิซึมโดยการหายใจระดับเซลล์ แต่จะเกิดขบวนการการหมักแทน ไพรูเวตไม่ถูกขนส่งเข้าสู่ไมโทคอนเดรีย แต่จะยังอยู่ในไซโทพลาสซึม ที่ซึ่งมันจะถูกเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ของเสียที่สามารถส่งออกนอกเซลล์ได้ ขบวนการดังกล่าวมีเพื่อออกซิไดซ์ NADH เป็น NAD+ จะได้นำกลับไปใช้ในไกลโคไลสิสได้ การหมักยังเป็นการป้องกันมิให้ NADH สะสมมากเกินไปในไซโทพลาสซึม ผลิตภัณฑ์ของเสียนี้แตกต่างกันไปในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ในกล้ามเนื้อลาย ผลิตภัณฑ์ของเสียที่ได้ คือ กรดแลกติก การหมักประเภทนี้ เรียกว่า การหมักกรดแลกติก ระหว่างไกลโคไลสิสแบบไม่ใช้ออกซิเจน NAD+ จะถูกสร้างใหม่เมื่อไฮโดรเจนหนึ่งคู่ไปรวมกับไพรูเวตเกิดเป็นแลกเตต การเกิดแลกเตตถูกเร่งปฏิกิริยาโดยแลกเตตดีไฮโดรจีเนส (lactate dehyrdrogenase) ในปฏิกิริยาผันกลับได้ แลกเตตยังสามารถใช้เป็นตัวตั้งต้นทางอ้อมสำหรับไกลโคเจนในตับ เมื่อกลับมาอยู่ในสภาวะที่มีออกซิเจน NAD+ ติดกับไฮโดรเจนจากแลกเตตเพื่อสร้าง ATP ในยีสต์ ผลิตภัณฑ์ของเสียที่ได้คือ เอทานอลและคาร์บอนไดออกไซด์ การหมักประเภทนี้ เรียกว่า การหมักแอลกอฮอล์หรือการหมักเอทานอล ATP ที่สร้างได้จากขบวนการนี้เป็นฟอสโฟรีเลชันระดับซับสเตรต ซึ่งไม่อาศัยออกซิเจน

การหมักเป็นขบวนการที่ด้อยประสิทธิภาพกว่าในการใช้พลังงานจากกลูโคส เพราะได้พลังงานออกมาเพียง 2 ATP ต่อกลูโคสเท่านั้น เมื่อเทียบกับ 38 ATP ที่ผลิตได้จากการหายใจแบบใช้ออกซิเจน ทั้งนี้เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของเสียจากการหมักยังมีพลังงานสะสมอยู่มาก โปรคาริโอตที่ต้องคงอัตราการเจริญเติบโตที่รวดเร็วต่อไปเมื่อพวกมันย้ายจากสิ่งแวดล้อมที่มีออกซิเจนไปยังสิ่งแวดล้อมที่ขาดออกซิเจน พวกมันต้องเพิ่มอัตราปฏิกิริยาไกลโคไลสิส สำหรับสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ระหว่างการหายใจกระชั้นในกิจกรรมที่ต้องใช้แรงมาก เซลล์กล้ามเนื้อจะใช้การหมักสร้าง ATP แทนการหายใจแบบใช้ออกซิเจนที่ช้ากว่า ดังนั้น เซลล์จึงอาจใช้การหมักแม้ก่อนระดับออกซิเจนจะหมดลง

การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน

จุลินทรีย์บางชนิดหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งไม่มีออกซิเจน (การหายใจแบบใช้ออกซิเจน) หรือไพรูเวตหรืออนุพันธ์ของไพรูเวต (การหมัก) เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย แต่ใช้ตัวรับอิเล็กตรอนอนินทรีย์แทน เช่น ซัลเฟอร์

อ้างอิง

  1. Campbell, Neil A. (2006). Biology: Exploring Life. Boston, Massachusetts: Pearson Prentice Hall. ISBN 0-13-250882-6. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  2. doi:10.1042/BST0311095
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  3. PMID 7654171 (PMID 7654171)
    Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand

การหายใจระด, บเซลล, งกฤษ, cellular, respiration, เป, นช, ดปฏ, ยาและกระบวนการทางเมแทบอล, มท, เก, ดในเซลล, งม, ตเพ, อเปล, ยนแปลงพล, งงานช, วเคม, จากสารอาหารเป, นอะด, โนซ, นไตรฟอสเฟต, และปล, อยผล, ตภ, ณฑ, ของเส, ยออกมา, ปฏ, ยาท, เก, ยวข, องในการหายใจม, ปฏ, ยาแคแท. karhayicradbesll xngkvs cellular respiration epnchudptikiriyaaelakrabwnkarthangemaethbxlisumthiekidinesllsingmichiwitephuxepliynaeplngphlngnganchiwekhmicaksarxaharepnxadionsinitrfxseft ATP aelaplxyphlitphnthkhxngesiyxxkma ptikiriyathiekiywkhxnginkarhayicmiptikiriyaaekhaethbxlisumthiekiywkhxngkbptikiriyaridxks hmaythung mithngptikiriyaxxksiedchnaelaridkchn karhayicepnhnunginwithikarhlkthiesllcaidrbphlngnganthimipraoychnephuxepnechuxephlingkarepliynaeplngkhxngesllsarxaharsungesllstwaelaphuchmkichinkarhayic minatal krdxamionaelakrdikhmn tlxdcntwxxksiidsthwip twrbxielktrxn inomelkulxxksiecn O2 aebkhthieriyaelaxarekhiyyngepnliothothrf lithotroph khux xachayicidodyichomelkulxninthriyhlakchnidepntwihaelarbxielktrxn echn kamathn ixxxnolha miethnaelaihodrecn singmichiwitsungichxxksiecnepntwrbxielktrxntwsudthayinkarhayiceriykwa singmichiwittxngkarxxksiecn aerobic swnsingmichiwitthiimichxxksiecnepntwrbxielktrxntwsudthay eriykwa singmichiwitimtxngkarxxksiecn anaerobic 1 phlngngansungpldplxyxxkmainkarhayicichinkarsngekhraahexthiphiephuxekbphlngnganni phlngnganthiekbinexthiphicaknnsamarthichephuxkhbekhluxnkhbwnkarsungxasyphlngngan idaek chiwsngekhraah karekhluxnthihruxkarsngomelkulkhameyuxhumesll enuxha 1 karhayicaebbichxxksiecn 1 1 iklokhilsis 1 2 xxksiedthifdikharbxksielchnkhxngiphruewt 1 3 wtckrekhrps 1 4 xxksiedthiffxsofrielchn 2 karhmk 3 karhayicaebbimichxxksiecn 4 xangxingkarhayicaebbichxxksiecn aekikh karhayicaebbichxxksiecn luksrsiaedng epnwithikarhlksungphuchaelastwtangichphlngnganepnpraoychninrupkhxngsarxinthriysungsrangkhuncakkarsngekhraahdwyaesng luksrsiekhiyw kxnhnani karhayicaebbichxxksiecntxngichxxksiecnephuxphlitphlngngan ATP aemwasarphwkkharobihedrt liphidaelaoprtincasamarthphankhbwnkaraelaichepntwthaptikiriyaidthnghmd aetrangkaymkichwithikarslayiphruewtiniklokhilsis aelakahndihiphruewtekhasuimothkhxnedriyephuxihthukxxksiids oxideze xyangsmburninwtckrekhrps phlitphnthkhxngkhbwnkarnikhux phlngnganinrupkhxng ATP odyfxsofrielchnradbsbsetrt substrate level phosphorylation NADH aela FADH2 smkarptikiriyaxyangngay C6H12O6 aq 6 O2 g 6 CO2 g 6 H2O l khwamrxnDG 2880 kJ txomlkhxng C6H12O6 kluokhs kha DG thitidlb aesdngwa ptikiriyaniekidexngidskyridiwskhxng NADH aela FADH2 thukaeplngipepn ATP ephimkhunxikphanlukoskhxngkarkhnsngxielktrxn electron transport chain odymixxksiecnepntwrbxielktrxntwsudthay ATP swnihythiphlitcakkarhayicradbesllaebbichxxksiecnepnphlkhxngxxksiedthiffxsofrielchn sungthanganidodyphlngnganthipldplxyxxkmacakkarslayiphruewtnaipichinkarpmoprtxnkhameyuxhum ephuxihekidskyekhmixxsomsis chemiosmosis caknn skyekhmixxsomsisdngklawcathukichkhbekhluxnexthiphisineths ATP synthase aelasrang ATP cak ADP aelahmufxseft tarachiwwithyamkrabuwa kluokhshnungomelkulsamarthxxksiidsid ATP sungsud 38 omelkulinkarhayicradbesll 2 cakiklokhilsis 2 cakwtckrekhrps aela 34 caklukoskhxngkarkhnsngxielktrxn 2 thwa inrangkayaethbimekhyidphllphthsungsuddngklawely enuxngcakkarsuyesiy sungxacenuxngmacakeyuxhumrw echnediywkbkhakarkhnsngiphruewtaela ADP ekhasuemtrikskhxngimothkhxnedriyaelapccubnpraeminiwthiraw 29 thung 30 ATP txkluokhs 2 emaethbxlisumthiichxxksiecnmiprasiththiphaphsungkwaemaethbxlisumaebbimichxxksiecnthung 15 etha sungih ATP 2 omelkultx 1 omelkulkluokhs thngsxngmiwithiiklokhilsiserimtnehmuxnkn aetemaethbxlisumaebbichxxksiecncaekidwtckrekhrpsaelaxxksiedthiffxsofrielchntx sungwtckrekhrpsaelaxxksiedthiffxsofrielchnekidkhuninimothkhxnedriyinesllyukharioxt aelaisothphlassumkhxngeslloprkharioxt iklokhilsis aekikh dubthkhwamhlkthi iklokhilsis iklokhilsisepnwithiemaethbxlisumthiekidinisotsxlkhxngesllsingmichiwitthukchnid withidngklawimtxngxasyxxksiecn cungsamarthekididaeminsphawakhadxxksiecn khbwnkarniepliynkluokhshnungomelkulepniphruewtsxngomelkul aelasrangphlngnganxxkmainrupkhxng ATP suththisxngomelkul aethcringaelw inkhbwnkardngklawid ATP xxkmasiomelkultxkluokhs aetmikarich ATP sxngomelkulinrayakaretriym preparatory phase fxsofrielchnkhntnkhxngkluokhsmikhwamcaepninkarthaihomelkulimesthiyrephuxaeykxxkepniphruewtsxngomelkul rahwangkhnidphlngngankhun pay off phase khxngiklokhilsis hmufxseftsihmuthukkhnsngipyng ADP odyfxsofrielchnradbsbsetrtephuxsrang ATP siomelkul aelamikarsrang NADH sxngomelkulemuxxxksiidsiphruewt smkarptikiriyarwmekhiyniddngni kluokhs 2 NAD 2 Pi 2 ADP 2 iphruewt 2 NADH 2 ATP 2 H 2 H2O khwamrxnxxksiedthifdikharbxksielchnkhxngiphruewt aekikh iphruewtthukxxksiidsepnxasitilokh ex aelakharbxnidxxkisdodyiphruwikdiihodrcienskhxmephlks pyruvate dehydrogenase complex PDC sungprakxbdwyexnismsamtwaelaphbinimothkhxnedriykhxngesllyukharioxtaelainisotsxlkhxngoprkharioxt inkarepliyniphruewtepnxasitilokh ex caid NADH aelakharbxnidxxkisdxyanglahnungomelkul khnniyngepnptikiriyaechuxmoynghruxptikiriyaepliynphan sungechuxmrahwangiklokhilsiskbwtckrekhrps wtckrekhrps aekikh dubthkhwamhlkthi wtckrekhrps michuxeriykxunxik idaek wtckrkrdsitrik hruxwtckrkrditrkharbxksilik emuxxyuinsphawathixxksiecnephiyngphx xasitilokh excathuksrangkhuncakomelkuliphruewtsungidmacakiklokhilsis emuxsrangxasitilokh exkhunmaaelw casamarthekidkhbwnkartxipidsxngkhbwnkar khux karhayicaebbichxxksiecnhruximichxxksiecn insphawaxxksiecnimephiyngphx caekidkarhmkomelkuliphruewt swninsphawathixxksiecnephiyngphx imothkhxnedriycadaeninkarhayicaebbichxxksiecn xasitilokh excathuknaekhasuwtckrekhrpsinemtrikskhxngimothkhxnedriy aelathukxxksiidscnidepnkharbxnidxxkisd khnathiriwdiws NAD epn NADH ipphrxmkn NADH samarththukichsrang ATP ephimxikodylukoskhxngkarkhnsngxielktrxn inxxksiedthiffxsofrielchn ephuxthicaxxksiidsxyangsmburnihethiybethakluokhshnungomelkul xasitilokh exsxngomelkultxngekidemaethbxlisumodywtckrekhrps wtckrniidphlitphnthkhxngesiyxxkmasxngxyang khux naaelakharbxnidxxkisdwtckrekhrpsepnkhbwnkar 8 khntxnthimiexnismaelaokhexnismcanwnmakekhamaekiywkhxng sartwklanginwtckr idaek sietrd citrate ixossietrd isocitrate aexlfakhiotklutaert a Ketoglutarate sksinilokh ex succinyl CoA sksient succinate fumaert fumarate maelt malate aelaxxksaolxasietd oxaloacetate phlngngansuththiemuxekidwtckrekhrpshnungrxb khux 3 NADH 1 FADH2 aela 1 GTP sung GTP xacsamarththukichsrang ATP inphayhlngid dngnn phlphlitsuththicakkluokhshnungomelkul iphruewt 2 omelkul khux 6 NADH 2 FADH2 aela 2 ATP caidna 12 omelkul xxksiedthiffxsofrielchn aekikh dubthkhwamhlkthi xxksiedthiffxsofrielchn aela lukoskhxngkarkhnsngxielktrxn inyukharioxt xxksiedthiffxsofrielchnekidkhuninkhristikhxngimothkhxnedriy prakxbdwy lukoskhxngkarkhnsngxielktrxn sungthaihekidkhwamaetktangkhxngoprtxn skyekhmixxsomsis khameyuxhumchninodykarxxksiids NADH thiidcakwtckrekhrps ATP cathuksngekhraahodyexnismexthiphisineths ATP synthase emuxkhwamaetktangthangekhmixxsomsisichkhbekhluxnfxsofrielchnkhxng ADP thaysud xielktrxncathuksngtxipyngxxksiecnthihayicrbekhama aelaemuxrwmkboprtxnxiksxngtw caekidepnnatarangdanlangxthibayptikiriyathiekiywkhxngemuxkluokhshnungomelkulthukxxksiidsxyangsmburnepnkharbxnidxxkisd mikarsnnisthanwa okhexnisminrupridiwsthnghmdthukxxksiidsodylukoskhxngkarkhnsngxielktrxnaelathukichinxxksiedthiffxsofrielchn khn phlphlitokhexnism phlphlit ATP aehlngkhxng ATPkhnetriymkhxngiklokhilsis 2 fxsofrielchnkhxngkluokhsaelafrukoths 6 fxseftich 2 ATP cakisothphlassumkhnidphlngngankhxngiklokhilsis 4 fxsofrielchnradbsbsetrt2 NADH 4 6 xxksiedthiffxsofrielchn NADH aetlaomelkulsrang ATP suththi 3 omelkul cakkarkhnsng NADH khameyuxhumimothkhxnedriyxxksiedthifdikharbxksielchnkhxngiphruewt 2 NADH 6 xxksiedthiffxsofrielchnwtckrekhrps 2 fxsofrielchnradbssetrt6 NADH 18 xxksiedthiffxsofrielchn2 FADH2 4 xxksiedthiffxsofrielchnphlphlitthnghmd 36 38 ATP cakxxksiedchnxyangsmburnkhxngkluokhshnungomelkulepnkharbxnidxxkisd aelaxxksiedchnkhxngokhexnisminrupridiwsthnghmdaemthangthvsdicarabuwa kluokhshnungomelkulcaihphlphlit ATP suththisungsud 38 omelkulcakkarhayicradbbesll aetsphawadngklawodypktiimsamarthekidkhunidcring enuxngcakkarsuyesiy echn khakaryayiphruewt fxseftaela ADP ekhasuimothkhxnedriy thnghmdtxngthuklaeliyngaebbichphlngnganodyichtwphasungichphlngnganthiekbsasmiwinkhwamaetktangthangiffaekhmikhxngoprtxnphlphlitkhxngkhbwnkarkhnsngehlaniodyichkhwamaetktangthangiffaekhmikhxngoprtxn khux txngichmakkwa 3 oprtxninkarsrang 1 ATP cungchdecnwa epnkarldprasiththiphaphkhxngkhbwnkarthnghmdinthangthvsdi aelaphlphlitsungsudthinacaiklekhiyngkb 28 30 ATP makkwa 2 inthangptibti prasiththiphaphxacldlngipxik enuxngcakeyuxhumchninkhxngimothkhxnedriynnrwtxoprtxnelknxy 3 nxkcakniyngmipccyxunxik khux oprtinxnkhppling uncoupling protein UCP sungmixyuinbangesll epnchxngthangthisamarthkhnsngoprtxnid emuxoprtinnithanganineyuxhumchnin caepnkarldwngcrkarcbkhurahwanglukoskhxngkarkhnsngxielktrxnkbkarsngekhraah ATP phlngnganskycakkhwamaektangkhxngoprtxnimthknaipsrang ATP aetcaihkhwamrxnaethn sungkhbwnkardngklawkhxnkhangmikhwamsakhyinkarkxkhwamrxnkhxngikhmnsinatalinstwaerkekidaelacasilkarhmk aekikhdubthkhwamhlkthi karhmk chiwekhmi emuxprascakxxksiecn iphruewtcaimekidemaethbxlisumodykarhayicradbesll aetcaekidkhbwnkarkarhmkaethn iphruewtimthukkhnsngekhasuimothkhxnedriy aetcayngxyuinisothphlassum thisungmncathukepliynepnphlitphnthkhxngesiythisamarthsngxxknxkesllid khbwnkardngklawmiephuxxxksiids NADH epn NAD caidnaklbipichiniklokhilsisid karhmkyngepnkarpxngknmiih NADH sasmmakekinipinisothphlassum phlitphnthkhxngesiyniaetktangknipinsingmichiwitaetlachnid inklamenuxlay phlitphnthkhxngesiythiid khux krdaelktik karhmkpraephthni eriykwa karhmkkrdaelktik rahwangiklokhilsisaebbimichxxksiecn NAD cathuksrangihmemuxihodrecnhnungkhuiprwmkbiphruewtekidepnaelkett karekidaelkettthukerngptikiriyaodyaelkettdiihodrciens lactate dehyrdrogenase inptikiriyaphnklbid aelkettyngsamarthichepntwtngtnthangxxmsahrbiklokhecnintb emuxklbmaxyuinsphawathimixxksiecn NAD tidkbihodrecncakaelkettephuxsrang ATP inyist phlitphnthkhxngesiythiidkhux exthanxlaelakharbxnidxxkisd karhmkpraephthni eriykwa karhmkaexlkxhxlhruxkarhmkexthanxl ATP thisrangidcakkhbwnkarniepnfxsofrielchnradbsbsetrt sungimxasyxxksiecnkarhmkepnkhbwnkarthidxyprasiththiphaphkwainkarichphlngngancakkluokhs ephraaidphlngnganxxkmaephiyng 2 ATP txkluokhsethann emuxethiybkb 38 ATP thiphlitidcakkarhayicaebbichxxksiecn thngnienuxngcakphlitphnthkhxngesiycakkarhmkyngmiphlngngansasmxyumak oprkharioxtthitxngkhngxtrakarecriyetibotthirwderwtxipemuxphwkmnyaycaksingaewdlxmthimixxksiecnipyngsingaewdlxmthikhadxxksiecn phwkmntxngephimxtraptikiriyaiklokhilsis sahrbsingmichiwithlayesll rahwangkarhayickrachninkickrrmthitxngichaerngmak esllklamenuxcaichkarhmksrang ATP aethnkarhayicaebbichxxksiecnthichakwa dngnn esllcungxacichkarhmkaemkxnradbxxksiecncahmdlngkarhayicaebbimichxxksiecn aekikhculinthriybangchnidhayicaebbimichxxksiecn sungimmixxksiecn karhayicaebbichxxksiecn hruxiphruewthruxxnuphnthkhxngiphruewt karhmk epntwrbxielktrxntwsudthay aetichtwrbxielktrxnxninthriyaethn echn slefxrxangxing aekikh Campbell Neil A 2006 Biology Exploring Life Boston Massachusetts Pearson Prentice Hall ISBN 0 13 250882 6 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help 2 0 2 1 2 2 doi 10 1042 BST0311095This citation will be automatically completed in the next few minutes You can jump the queue or expand by hand PMID 7654171 PMID 7654171 Citation will be completed automatically in a few minutes Jump the queue or expand by handekhathungcak https th wikipedia org w index php title karhayicradbesll amp oldid 9500295, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม