fbpx
วิกิพีเดีย

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อังกฤษ: Faculty of Liberal Arts, Thammasat University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2504 โดยเป็นคณะลำดับที่ 2 ของประเทศที่จัดการเรียนการสอนด้านศิลปศาสตร์ มีภารกิจเบื้องต้นในการจัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานให้แก่นักศึกษาทุกคณะในมหาวิทยาลัยก่อนจะเลือกเข้าศึกษาแขวงวิชาเฉพาะด้านสำหรับคณะตน ปัจจุบัน คณะศิลปศาสตร์มีหน้าที่ทำการสอนวิชาด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ อีกทั้งภาษาต่างประเทศ โดยมีการจัดการเรียนการสอนด้านศิลปศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ทั้งหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ อีกทั้งเป็นวิชาเลือกให้แก่นักศึกษาทั่วทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ให้เลือกเรียนได้อย่างเสรี

คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ชื่ออังกฤษFaculty of Liberal Arts, Thammasat University
ที่อยู่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เลขที่ 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
วันก่อตั้งพ.ศ. 2504
คณบดีผศ.ดร.ภาสพงศ์ ศรีพิจารณ์
วารสาร
  • วารสารศิลปศาสตร์ (Journal of Liberal Arts)
  • วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ (Journal of Languages and Linguistics)
  • วารสารวรรณวิทัศน์ (Wannawithat Journal)
  • วารสารภาษาอังกฤษศึกษา (Journal of English Studies)
สีประจําคณะ██ สีแสด
สัญลักษณ์คบเพลิง
เว็บไซต์www.arts.tu.ac.th
เฟซบุ๊กwww.facebook.com/pr.larts.tu?fref=ts

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังเป็นคณะที่ค่อนข้างมีการแข่งขันสูงมาก โดยรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีคะแนนสอบแอดมิชชั่นทั้งประเทศสูงสุด 1 ใน 10 ของประเทศมาโดยตลอด (โดยปีการศึกษา 2559 และ 2560 รับนักเรียนที่มีคะแนนแอดมิชชั่นสูงสุดอันดับ 3 ของประเทศ และในปีการศึกษา 2561 ในระบบการรับตรงใหม่หรือ TCAS คณะศิลปศาสตร์มีคะแนนสอบเข้าสูงที่สุดในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ด้วยคะแนน 94.45 คะแนน) คณะศิลปศาสตร์ยังได้รับการจัดอันดับงานวิจัยมหาวิทยาลัยทั่วโลก (QS World University Rankings by Subject) ให้เป็นอันดับ 2 ของประเทศไทยในสาขาปรัชญา สาขาประวัติศาสตร์ และสาขาภาษาสมัยใหม่ และอีกทั้งยังติด 3 ของประเทศอันดับในสาขาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ และสาขาภาษาศาสตร์

ประวัติ

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2504 ด้วยดำริของศาสตราจารย์ ดร.อดุล วิเชียรเจริญ ซึ่งดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรกของคณะด้วย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานทั่วไปให้แก่นักศึกษาทุกคณะในมหาวิทยาลัย ก่อนเลือกแขนงวิชาเฉพาะทางของคณะต่าง ๆ ทั้งนี้ เป็นไปตามจุดมุ่งหมายสองประการคือ

  • เพื่อจัดการสอนวิชาความรู้พื้นฐานทั่วไปทางสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ แก่นักศึกษาชั้นปริญญาตรีทุกคนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจอย่างกว้างขวางในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสังคม ตลอดจนมีความเข้าใจในเรื่องจิตใจมนุษย์ เห็นความต่อเนื่องของวิทยาการแขนงต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดวิจารณญาณอันดี สามารถนำความรู้เฉพาะด้านในแขนงที่ตนศึกษาไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมให้ดียิ่งขึ้น
  • เพื่อจัดการสอนจนถึงระดับปริญญาสาขาต่าง ๆ ทางมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่ยังมิได้มีการจัดสอนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือที่มีการจัดสอนแล้ว แต่ยังไม่ถึงขั้นประสาทปริญญา

โดยในยุคเริ่มแรก คณะศิลปศาสตร์ ได้ทำการสอนด้านศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้แก่ทั้งมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นวิชาพื้นฐาน และอีกทั้งประสาทปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิต 5 สาขาวิชาอันได้แก่ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สาขาวิชาสถิติ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ และสาขาวิชาภาษาศาสตร์ ซึ่งสาขาเหล่านี้ก่อตั้งในปีพ.ศ. 2504 อันเป็นสาขาปีเดียวกันกับการต่อตั้งคณะศิลปศาสตร์แต่เดิม โดยชื่อคณะศิลปศาสตร์นั้นได้รับประทานนามจาก พระองค์เจ้าวรรณไวทยากรณ์ โดยเริ่มทำการสอนครั้งแรกในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ 2505 โดยเปิดสอนรายวิชาศิลปศาสตร์ให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของทั่วทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อนที่จะเลือกเข้าศึกษาตามคณะหรือสาขาวิชาต่างๆในชั้นปีต่อไป โดยดังนี้จึงถือเอาวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2505 เป็นวันสถาปณา "คณะศิลปศาสตร์"

ในแต่เดิมที่คณะศิลปศาสตร์ในพื้นที่บริเวณไกล้เคียงกับท่าพระจันทร์ในการสร้างตึกโดยสร้างตึก "คณะศิลปศาสตร์" เป็นสองตึกโดยแต่เดิมเป็นตึก 5 ชั้น และ 3 ชั้น โดยเป็นอาคารต้นแบบสถาปัตยกรรมรูปแบบสมัยนิยม (Modernism) ต่อมาในปี พ.ศ 2516 ได้ขยายอาคาร 5 ชั้นต่อเติมเพิ่มเป็น 8 ชั้น ก่อนการขยายการศึกษาไปยังศูนย์รังสิตอาคารคณะศิลปศาสตร์จึงเป็นอาคารที่สามารถรองรับนักศึกษาทั้งท่าพระจันทร์ได้ในสมัยนั้น ต่อมาเมื่อมีการขยายการศึกษาไปยังศูนย์รังสิต คณะศิลปศาสตร์จึงเริ่มพิจารณาการเรียนการสอนบางสาขาวิชาให้ย้ายไปยังศูนย์รังสิตด้วย โดยเริ่มแรกมีการย้ายสาขาจิตวิทยาและสาขาวิชาภูมิศาสตร์ไปยังศูนย์รังสิตเป็นกลุ่มแรก โดยพิจารณาการศึกษารายวิชาบางวิชาให้ไปศึกษาที่ศูนย์รังสิตแล้วให้มาศึกษาที่ท่าพระจันทร์ในช่วงชั้นปีสุดท้าย แม้กระนั้นด้วยการขยายตัวของคณะและมหาวิทยาลัยเอง การบริหารและสาขาวิชาต่างๆได้มีนโยบายตามนโยบายมหาวิทยาลัยที่ระบุว่าให้นักศึกษาปริญญาตรีภาคปกติเริ่มศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เต็มรูปแบบโดยใช้อาคารคณะศิลปศาสตร์ 9 ชั้น 2 ปีก ของศูนย์รังสิตซึ่งมี่เนื้อที่รองรับต่อการขยายตัวของสาขาวิชาและนักศึกษาเป็นที่สถานที่สำหรับการศึกษาหลักในระดับชั้ยปริญญาตรีเป็นต้นมา

ในส่วนของสาขาวิชาต่างๆ คณะศิลปศาสตร์ได้ขยายการเรียนการสอนในสายมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้กว้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากให้ โดยมีการบุกเบิกสาขาและศาสตร์ต่างเรื่อยมาตามลำดับหลังจาก 5 สาขาก่อตั้งอาทิ สาขาวิชาจิตวิทยา (พ.ศ. 2507) สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (พ.ศ. 2509) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (พ.ศ. 2513) สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น สาขาวิชาปรัชญา สาขาวิชาภาษาเยอร์มัน สาขาวิชาฝรั่งเศส และ สาขาวิชาภูมิศาสตร์ (พ.ศ. 2514) สาขาวิชาภาษาจีน และ สาขาวิชาภาษาไทย (พ.ศ. 2518) สาขาวิชาการละคอน (พ.ศ 252X) สาขาวิชาศาสนา (พ.ศ. 2525) ต่อมาสาขาวิชาคณิตศาสตร์และสาขาวิชาสถิติได้รับการยกฐานะให้ขึ้นตรงกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพร้อมกับการก่อตั้งและขยายการศึกษาไปศูนย์รังสิตในปี พ.ศ 2529 และสาขาวิชาการละคอนได้รับการยกฐานะจากงบประมาณจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์และโอนสาขาวิชาการละคอนไปสังกัดคณะศิลปกรรมศาสตร์ตั้งแต่ พ.ศ 2539 เป็นต้นมา ส่วนสาขาวิชาศาสนาได้ทำการปิดการเรียนการสอนและยุบเหลือแค่วิชาโท สาขาวิชาภาษารัสเชีย (พ.ศ. 2518 และได้รับการยกเป็นภาควิชาในปี 2536) คณะศิลปศาสตร์ยังได้ริเริ่มการสอนหลักสูตรนานาชาติเพื่อตอบสนองความต้องการในยุคสมัยใหม่โดยเปิดสอน สาขาวิชาอังกฤษ-อเมริกันศึกษา ในปี พ.ศ 2541

หน่วยงาน

หลักสูตร

ปัจจุบัน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดทำการเรียนการสอนในหลักสูตร ดังต่อไปนี้

ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)
ภาคปกติ

  • สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
  • สาขาวิชาจิตวิทยา
  • สาขาวิชาประวัติศาสตร์
  • สาขาวิชาภาษาศาสตร์
  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
  • สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ
  • สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
  • สาขาวิชาภาษาไทย
  • สาขาวิชาปรัชญา
  • สาขาวิชาภูมิศาสตร์
  • สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
  • สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน (หลักสูตร พ.ศ. 2561)
  • สาขาวิชาภาษาเยอรมัน
  • สาขาวิชาภาษารัสเซีย

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)

ภาคปกติ


หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)

โครงการพิเศษ

  • สาขาวิชาอังกฤษ–อเมริกันศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)
  • สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
  • สาขาวิชารัสเซียศึกษา
  • สาขาวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ)
  • สาขาวิชาวิเทศคดีศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)

  • สาขาวิชาภาษาไทย
  • สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ
  • สาขาวิชาฝรั่งเศสศึกษา
  • สาขาวิชาการแปลภาษาฝรั่งเศส–ไทย
  • สาขาวิชาญี่ปุ่นศึกษา
  • สาขาวิชาประวัติศาสตร์
  • สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
  • สาขาวิชาภาษาศาสตร์เพื่อการสื่อสาร
  • สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
  • สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา
  • สาขาวิชาการแปลภาษาอังกฤษ–ไทย
  • สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ, ควบปริญญาโท–เอก)
  • สาขาวิชาวัฒนธรรมจีนศึกษา

หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.)

  • สาขาวิชาประวัติศาสตร์
  • สาขาวิชาภาษาศาสตร์
  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

ทำเนียบคณบดี

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีรายนามคณบดีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังต่อไปนี้

ทำเนียบคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายนามคณบดี ระยะเวลาในการดำรงตำแหน่ง

1. ศาสตราจารย์ ดร.อดุล วิเชียรเจริญ พ.ศ. 2505 — 2511
2. ศาสตราจารย์ อรุณ รัชตะนาวิน พ.ศ. 2511 — 2517
3. พันเอกหญิง ดร.นิออน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา พ.ศ. 2517 — 2518
4. ศาสตราจารย์ มงคล สีห์โสภณ พ.ศ. 2519 — 2525
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบแสง พรหมบุญ พ.ศ. 2526 — 2528
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพยา บิณษรี พ.ศ. 2529 — 2531
7. รองศาสตราจารย์ คุณหญิง วงจันทร์ พินัยนิติศาสตร์ พ.ศ. 2531 — 2534
8. อาจารย์ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ พ.ศ. 2534 — 2537
9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิระพรรษ์ บุณยเกียรติ พ.ศ. 2537 — 2539
10. อาจารย์ ดร.ศิรินี เจนวิทย์การ พ.ศ. 2539 — 2541
11. รองศาสตราจารย์ ดร.มาลินี ดิลกวณิช พ.ศ. 2542 — 2544
12. รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธุ์ เวสสะโกศล พ.ศ. 2544 — 2547
13. รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิโชค วรานุสันติกูล พ.ศ. 2547 — 2549
14. รองศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ พ.ศ. 2550 — 2552
15. รองศาสตราจารย์ ดร.ชัชวดี ศรลัมพ์ พ.ศ. 2553 — 2555
0. ศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต 1 ตุลาคม 2555 — 31 มกราคม 2556 (รักษาการฯ)
16. รองศาสตราจารย์ ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล 1 กุมภาพันธ์ 2556 — 28 กุมภาพันธ์ 2562
17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาสพงศ์ ศรีพิจารณ์ 1 มีนาคม 2562 — ปัจจุบัน

กิจกรรมนักศึกษา

การรับเพื่อนใหม่ของคณะฯ

คณะกรรมการนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (กนศ.ศศ.) เป็นผู้จัดกิจกรรมรับเพื่อนใหม่ของคณะฯ หรืองาน "สืบสานตำนานศิลป์" ขึ้นเป็นประจำทุกปี จัดขึ้น ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในช่วงระยะเวลาใกล้เคียงกับวันแรกพบของมหาวิทยาลัย เดิมกำหนดเป็นวันที่ 11 พฤษภาคมของทุกปี อันจะตรงกับวันปรีดี ต่อมาหลังจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายเปิดภาคเรียนของมหาวิทยาลัยจึงได้เปลี่ยนมาจัดระหว่างเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ก่อนวันงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ในงานจะมีการจัดกิจกรรมเพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้รู้จักบริเวณสำคัญต่าง ๆ รอบมหาวิทยาลัย ให้นักศึกษาใหม่ทำความรู้จักกับนักศึกษารุ่นพี่และเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน รวมถึงให้นักศึกษารุ่นพี่ทำความรู้จักกับนักศึกษาใหม่ ทำให้สามารถให้ความช่วยเหลือและให้คำปรึกษากันได้ในระหว่างเปิดภาคเรียนใหม่ อันจะทำให้นักศึกษาใหม่สามารถปรับตัวและเตรียมพร้อมสำหรับการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยได้ดียิ่งขึ้น

กลุ่มโต๊ะและตระกูล

คณะศิลปศาสตร์ แบ่งกลุ่มนักศึกษาหรือที่เรียกว่า "โต๊ะ" ออกเป็น 6 ตระกูล และแต่ละตระกูลก็จะแบ่งย่อยไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ อีก เช่น จอว์ 1 จอว์ 2 จอว์ 3 เป็นต้น โดยนักศึกษาใหม่แต่ละคนจะต้องสุ่มจับฉลากเพื่อเข้าร่วมเป็นสมาชิกโต๊ะได้เพียง 1 โต๊ะเท่านั้น และจะเป็นสมาชิกโต๊ะนั้นไปตลอดตั้งแต่เรียนไปจนจบจนถึงทำงานก็จะมีกิจกรรมที่ให้ทำร่วมกันเสมือนเป็นครอบครัวในมหาวิทยาลัยที่ช่วยเสริมสัมพันธ์พี่น้อง ดังนั้นจุดประสงค์ในการที่ทุกคนควรมีโต๊ะ—ตระกูลเป็นของตัวเองก็เพื่อสะดวกในการให้คำแนะนำหรือให้ปรึกษา การทำกิจกรรมก่อให้เกิดความคุ้นเคยสนิทสนมกลมเกลียวกันระหว่าง "เพื่อนใหม่" ซึ่งเป็นอุดมการณ์ของมหาวิทยาลัยที่ผู้ที่เข้ามาศึกษา ณ มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีความเท่าเทียมกัน ไม่มีรุ่นพี่รุ่นน้อง เราคือเพื่อนกัน และได้ตั้งชื่อกลุ่มโต๊ะต่าง ๆ ตามสถานที่สำคัญในบริเวณอาคารของคณะศิลปศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ดังนี้

  • จิ๊งหน่อง — ตั้งตามชื่อเล่นของประติมากรรมที่ตั้งอยู่ใจกลางลานน้ำพุฝั่งที่ติดกับอาคารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีชื่อทางการแต่เดิมว่า "นักศึกษา" ปั้นขึ้นโดยเขียน ยิ้มศิริ ประติมากรชาวไทย ซึ่งได้แนวคิดมาจากประติมากรรม "นักคิด" (Le Penseur) ของฝรั่งเศส ซึ่งแต่ละท่าทางของหุ่นมีดังนี้ มือขวาแตะมุมปาก มือซ้ายถือตำราเรียน เท้าซ้ายก้าวไปข้างหน้า หมายความว่า เป็นผู้คงแก่การศึกษา ที่เปี่ยมด้วยวิชาความรู้ และเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ ก้าวไปข้างหน้าเสมอ

"เราเริงรื่นชื่นบานวันวัยใส

เป็นสายใยถักทอสานต่อฝัน

จิ๊งคือเราเราคือจิ๊งไม่ทิ้งกัน ร้อยใจมั่นรวมกันเป็นหนึ่งเดียว"

  • ลานโพ — ตั้งชื่อตามลานหน้าอาคารคณะฯ ซึ่งมีต้นโพปลูกไว้กลางลาน โดยเป็นจุดนัดหมายรวมพลของนักศึกษาในเหตุการณ์เดือนตุลาคม

"ลานโพเรา นามนี้ นั้นมีศักดิ์

โพปกปักษ์ ประวัติศาสตร์ คู่สยาม

รอต้นกล้า ต้นใหม่ ใต้ฟ้าคราม เจริญงาม เคียงคู่ ดินสอโดม"

  • สวนศิลป์ — ตั้งชื่อตามลานกว้างภายในอาคารคณะฯ ซึ่งเป็นลานพักผ่อนหย่อนใจที่ร่มรื่นด้วยต้นไม้มากมาย

"สวนศิลป์นี้ดูแลกันฉันท์พี่น้อง

รักปรองดองกลมเกลียวกันไม่ขาดสาย

เริ่มแรกพบแม้จากกันไม่เสื่อมคลาย ผูกเป็นสายสินสัมพันธ์ไม่เปลี่ยนแปลง"

  • ปากจอว์ — เป็นประติมากรรมทรงโค้งคร่อมบนประตูทางเข้าอาคารคณะศิลปศาสตร์ที่ท่าพระจันทร์ มีลักษณะคล้ายขากรรไกรบนของปลาฉลาม นักศึกษาจึงมักนิยมเรียกว่า "จอว์" (Jaw)

"ชาตินักรบไว้ลายใครท้าสู้

มาลองดูคมเขี้ยวกัดไม่ปล่อย

ตระกูลจอว์เลือดร้อนเราเฝ้าคอย ฉลามน้อยฝูงใหม่มาพบกัน"

  • ลายสือ — ตั้งชื่อตามลายสลักอักษรลายสือไทยขนาดใหญ่ด้านข้างอาคารคณะฯ เพื่อแสดงถึงการระลึกถึงรากเหง้าและความเป็นไทย ทั้งนี้ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบุว่ามีอยู่สองตัวอักษรที่สลักตัวลายสือผิดไป

"คืออักษรที่สลักปักตรงหน้า

เปล่งเสียงว่า'ลายสือ'ชื่อเล่าขาน

เกียรติประวัติตระกูลเรามีมานาน ไม่ว่าใครต่างเล่าขาน "ลายสือไทย""

  • น้ำพุ — ตั้งชื่อตามลานน้ำพุด้านในอาคารด้านติดกับอาคารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ปัจจุบันคือตึกบัณฑิตศึกษา 3 ชั้น) ให้ความร่มรื่นร่มเย็นแก่บริเวณอาคารด้านนั้น มักจะเปิดเฉพาะในวันสำคัญ เช่น วันพิธีพระราชทานปริญญาบัตร และยังเป็นที่ตั้งของประติมากรรม "นักศึกษา" หรือจิ๊งหน่องอีกด้วย

"คือสายน้ำ ที่ไม่พบ เพื่อเพียงผ่าน

คือสายธาร ที่กลมเกลียว ไม่เปลี่ยนผัน

คือสายใย ที่ผูกเรา เข้าด้วยกัน คือน้ำพุ สัมพันธ์ ของพวกเรา"

โครงการสานสัมพันธ์อักษรศิลป์ (One Arts)

งานกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง 4 คณะวิชาด้านภาษาและมนุษยศาสตร์ ได้แก่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แต่เดิมใช้ชื่อว่า "งานสานสัมพันธ์อักษร" โดยเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง 2 คณะอักษรศาสตร์ของประเทศไทย แต่ทางคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้มาเข้าร่วมด้วยในภายหลัง จึงเปลี่ยนชื่อเป็นงาน Tri Arts และล่าสุด ทางคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลก็ได้เข้ามาร่วมกิจกรรมด้วยเช่นกัน ทำให้มีมากกว่า 3 มหาวิทยาลัย จึงตั้งชื่อกิจกรรมขึ้นมาใหม่ว่างาน One Arts เพื่อแสดงความเป็นหนึ่งเดียวกันของทั้ง 4 มหาวิทยาลัย ภายในงานมีการแข่งขันกีฬา การแบ่งกลุ่มทำกิจกรรมต่าง ๆ การเชียร์โต้ และโชว์เชียร์ลีดเดอร์จากแต่ละคณะ

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เว็บไซต์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • เฟซบุ๊กคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะศ, ลปศาสตร, มหาว, ทยาล, ยธรรมศาสตร, งกฤษ, faculty, liberal, arts, thammasat, university, อต, งข, นเม, 2504, โดยเป, นคณะลำด, บท, ของประเทศท, ดการเร, ยนการสอนด, านศ, ลปศาสตร, ภารก, จเบ, องต, นในการจ, ดการเร, ยนการสอนว, ชาพ, นฐานให, แก, กศ, กษาท, กคณะในมหาว, ท. khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr xngkvs Faculty of Liberal Arts Thammasat University kxtngkhunemux ph s 2504 odyepnkhnaladbthi 2 khxngpraethsthicdkareriynkarsxndansilpsastr mipharkicebuxngtninkarcdkareriynkarsxnwichaphunthanihaeknksuksathukkhnainmhawithyalykxncaeluxkekhasuksaaekhwngwichaechphaadansahrbkhnatn pccubn khnasilpsastrmihnathithakarsxnwichadanwithyasastr sngkhmsastr aelamnusysastr xikthngphasatangpraeths odymikarcdkareriynkarsxndansilpsastrthnginradbpriyyatri priyyaoth aelapriyyaexk thnghlksutrphasaithyaelahlksutrnanachati xikthngepnwichaeluxkihaeknksuksathwthngmhawithyalythrrmsastriheluxkeriynidxyangesrikhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastrchuxxngkvsFaculty of Liberal Arts Thammasat Universitythixyukhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr thaphracnthr elkhthi 2 thnnphracnthr aekhwngphrabrmmharachwng ekhtphrankhr krungethphmhankhr 10200 khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr sunyrngsit elkhthi 99 hmu 18 tablkhlxnghnung xaephxkhlxnghlwng cnghwdpthumthani 12120wnkxtngph s 2504khnbdiphs dr phasphngs sriphicarnwarsarwarsarsilpsastr Journal of Liberal Arts warsarphasaaelaphasasastr Journal of Languages and Linguistics warsarwrrnwithsn Wannawithat Journal warsarphasaxngkvssuksa Journal of English Studies sipracakhna siaesdsylksnkhbephlingewbistwww arts tu ac thefsbukwww facebook com pr larts tu fref tsdkhkkhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr yngepnkhnathikhxnkhangmikaraekhngkhnsungmak odyrbnksuksaradbpriyyatrithimikhaaennsxbaexdmichchnthngpraethssungsud 1 in 10 khxngpraethsmaodytlxd odypikarsuksa 2559 aela 2560 rbnkeriynthimikhaaennaexdmichchnsungsudxndb 3 khxngpraeths aelainpikarsuksa 2561 inrabbkarrbtrngihmhrux TCAS khnasilpsastrmikhaaennsxbekhasungthisudinmhawithyalythrrmsastrdwykhaaenn 94 45 khaaenn 1 2 3 khnasilpsastryngidrbkarcdxndbnganwicymhawithyalythwolk QS World University Rankings by Subject ihepnxndb 2 khxngpraethsithyinsakhaprchya sakhaprawtisastr aelasakhaphasasmyihm aelaxikthngyngtid 3 khxngpraethsxndbinsakhaphasaaelawrrnkhdixngkvs aelasakhaphasasastr 4 enuxha 1 prawti 2 hnwyngan 3 hlksutr 3 1 hlksutrwithyasastrbnthit wth b 4 thaeniybkhnbdi 5 kickrrmnksuksa 5 1 karrbephuxnihmkhxngkhna 5 2 klumotaaelatrakul 5 3 okhrngkarsansmphnthxksrsilp One Arts 6 xangxing 7 duephim 8 aehlngkhxmulxunprawti aekikhkhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr cdtngkhuntamprakasinrachkiccanuebksa emuxwnthi 31 thnwakhm ph s 2504 dwydarikhxngsastracary dr xdul wiechiyrecriy sungdarngtaaehnngkhnbdikhnaerkkhxngkhnadwy odymiwtthuprasngkhephuxcdkareriynkarsxnwichaphunthanthwipihaeknksuksathukkhnainmhawithyaly kxneluxkaekhnngwichaechphaathangkhxngkhnatang thngni epniptamcudmunghmaysxngprakarkhux ephuxcdkarsxnwichakhwamruphunthanthwipthangsngkhmsastr mnusysastr aelawithyasastr aeknksuksachnpriyyatrithukkhnkhxngmhawithyalythrrmsastr ephuxihphusaerckarsuksa mikhwamrukhwamekhaicxyangkwangkhwanginsphaphaewdlxmthangthrrmchatiaelasngkhm tlxdcnmikhwamekhaicineruxngciticmnusy ehnkhwamtxenuxngkhxngwithyakaraekhnngtang sungkxihekidwicarnyanxndi samarthnakhwamruechphaadaninaekhnngthitnsuksaipichihekidpraoychnaeksngkhmihdiyingkhun ephuxcdkarsxncnthungradbpriyyasakhatang thangmnusysastr sngkhmsastr aelawithyasastr thiyngmiidmikarcdsxninmhawithyalythrrmsastr hruxthimikarcdsxnaelw aetyngimthungkhnprasathpriyyaodyinyukherimaerk khnasilpsastr idthakarsxndansilpsastraelawithyasastrihaekthngmhawithyalysungepnwichaphunthan aelaxikthngprasathpriyyasilpsastrbnthit 5 sakhawichaxnidaek sakhawichakhnitsastr sakhawichasthiti sakhawichabrrnarkssastr sakhawichaprawtisastr aelasakhawichaphasasastr sungsakhaehlanikxtnginpiph s 2504 xnepnsakhapiediywknkbkartxtngkhnasilpsastraetedim odychuxkhnasilpsastrnnidrbprathannamcak phraxngkhecawrrniwthyakrn odyerimthakarsxnkhrngaerkinwnthi 15 singhakhm ph s 2505 odyepidsxnraywichasilpsastrihaeknksuksachnpithi 1 khxngthwthngmhawithyalythrrmsastrkxnthicaeluxkekhasuksatamkhnahruxsakhawichatanginchnpitxip odydngnicungthuxexawnthi 15 singhakhm ph s 2505 epnwnsthapna khnasilpsastr inaetedimthikhnasilpsastrinphunthibriewniklekhiyngkbthaphracnthrinkarsrangtukodysrangtuk khnasilpsastr epnsxngtukodyaetedimepntuk 5 chn aela 3 chn odyepnxakhartnaebbsthaptykrrmrupaebbsmyniym Modernism txmainpi ph s 2516 idkhyayxakhar 5 chntxetimephimepn 8 chn kxnkarkhyaykarsuksaipyngsunyrngsitxakharkhnasilpsastrcungepnxakharthisamarthrxngrbnksuksathngthaphracnthridinsmynn txmaemuxmikarkhyaykarsuksaipyngsunyrngsit khnasilpsastrcungerimphicarnakareriynkarsxnbangsakhawichaihyayipyngsunyrngsitdwy odyerimaerkmikaryaysakhacitwithyaaelasakhawichaphumisastripyngsunyrngsitepnklumaerk odyphicarnakarsuksaraywichabangwichaihipsuksathisunyrngsitaelwihmasuksathithaphracnthrinchwngchnpisudthay aemkranndwykarkhyaytwkhxngkhnaaelamhawithyalyexng karbriharaelasakhawichatangidminoybaytamnoybaymhawithyalythirabuwaihnksuksapriyyatriphakhpktierimsuksathimhawithyalythrrmsastr sunyrngsit tngaetpi ph s 2549 etmrupaebbodyichxakharkhnasilpsastr 9 chn 2 pik khxngsunyrngsitsungmienuxthirxngrbtxkarkhyaytwkhxngsakhawichaaelanksuksaepnthisthanthisahrbkarsuksahlkinradbchypriyyatriepntnmainswnkhxngsakhawichatang khnasilpsastridkhyaykareriynkarsxninsaymnusysastraelawithyasastrihkwangkhunephuxtxbsnxngkhwamtxngkarkhxngprachachnmakih odymikarbukebiksakhaaelasastrtangeruxymatamladbhlngcak 5 sakhakxtngxathi sakhawichacitwithya ph s 2507 sakhawichaphasaaelawrrnkhdixngkvs ph s 2509 sakhawichaphasaxngkvs ph s 2513 sakhawichaphasayipun sakhawichaprchya sakhawichaphasaeyxrmn sakhawichafrngess aela sakhawichaphumisastr ph s 2514 sakhawichaphasacin aela sakhawichaphasaithy ph s 2518 sakhawichakarlakhxn ph s 252X sakhawichasasna ph s 2525 txmasakhawichakhnitsastraelasakhawichasthitiidrbkarykthanaihkhuntrngkbkhnawithyasastraelaethkhonolyiphrxmkbkarkxtngaelakhyaykarsuksaipsunyrngsitinpi ph s 2529 aelasakhawichakarlakhxnidrbkarykthanacakngbpramancdtngkhnasilpkrrmsastraelaoxnsakhawichakarlakhxnipsngkdkhnasilpkrrmsastrtngaet ph s 2539 epntnma swnsakhawichasasnaidthakarpidkareriynkarsxnaelayubehluxaekhwichaoth sakhawichaphasarsechiy ph s 2518 aelaidrbkarykepnphakhwichainpi 2536 khnasilpsastryngidrierimkarsxnhlksutrnanachatiephuxtxbsnxngkhwamtxngkarinyukhsmyihmodyepidsxn sakhawichaxngkvs xemriknsuksa inpi ph s 2541hnwyngan aekikhphakhwichaphayinkhxngkhnasilpsastr phakhwichacitwithya brrnarkssastr phumisastr phakhwichaprawtisastr prchya phasaaelawrrnkhdixngkvs phasasepnaelalatinxemriknsuksa phakhwichaphasaithyaelawthnthrrmtawnxxk phasaaelawrrnkhdiithy phasayipun phasacin phasaekahli phakhwichaphasaaelawthnthrrmtawntk phasafrngess phasaeyxrmn phasarsesiy phakhwichaxngkvsaelaphasasastr okhrngkarphiessradbpriyyatri okhrngkarxngkvs xemriknsuksa British and American Studies Program okhrngkarexechiytawnxxkechiyngitsuksa Southeast Asian Studies Program phasalaw phasaekhmr phasaewiydnam phasaphma phasamaelechiy phasaxinodniechiy okhrngkarrsesiysuksa Russian Studies Program okhrngkarsuxsarphasaxngkvsechingthurkic Business English Communication Program okhrngkarwiethskhdisuksa xaesiyn cin ASEAN China okhrngkarphiessradbbnthitsuksa okhrngkarpriyyaoth sakhacitwithyaxutsahkrrmaelaxngkhkar Organization Psychology okhrngkarpriyyaoth exk sakhaphasaxngkvssuksa M A Ph D in English Language Studies okhrngkarpriyyaoth sakhawichakaraeplphasaxngkvsaelaithy M A in Translation okhrngkarpriyyaoth sakhawthnthrrmcinsuksa M A in Chinese Culture Studies okhrngkarpriyyaexk sakhawichaphasasastr Doctor of Philosophy in Linguistics radbprakasniybtr okhrngkarprakasniybtrbnthit sakhawichaphasaxngkvssahrbthurkicaelakarcdkar English for Business and Management hnwynganbrikarwichakarephuxprachachn sunyxbrmphasatangpraeths n thaphracnthr sunyrngsit aelasthabnescng odyepidxbrmsxrsdngtxipni phthnathksa snthna iwyakrn karxxkesiyng TOEIC TOEFL IELTS TU GET cinklang yipun sepn eyxrmn phma frngess xitaeliyn xahrb ekahli aelarsesiyhlksutr aekikhpccubn khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr epidthakareriynkarsxninhlksutr dngtxipni priyyatri priyyaoth priyyaexkhlksutrsilpsastrbnthit ss b phakhpkti sakhawichabrrnarkssastraelasarsnethssastr sakhawichacitwithya sakhawichaprawtisastr sakhawichaphasasastr sakhawichaphasaxngkvs sakhawichaphasaaelawrrnkhdixngkvs sakhawichaphasafrngess sakhawichaphasaithy sakhawichaprchya sakhawichaphumisastr sakhawichaphasayipun sakhawichaphasaaelawthnthrrmcin hlksutr ph s 2561 sakhawichaphasaeyxrmn sakhawichaphasarsesiyhlksutrwithyasastrbnthit wth b aekikh phakhpkti sakhawichacitwithya hlksutr ph s 2561 sakhawichaphumisastraelaphumisarsneths hlksutr ph s 2561 hlksutrsilpsastrbnthit ss b okhrngkarphiess sakhawichaxngkvs xemriknsuksa hlksutrnanachati sakhawichaexechiytawnxxkechiyngitsuksa sakhawicharsesiysuksa sakhawichakarsuxsarphasaxngkvsechingthurkic hlksutrnanachati sakhawichawiethskhdisuksa hlksutrnanachati hlksutrsilpsastrmhabnthit ss m sakhawichaphasaithy sakhawichaphasaaelawrrnkhdixngkvs sakhawichafrngesssuksa sakhawichakaraeplphasafrngess ithy sakhawichayipunsuksa sakhawichaprawtisastr sakhawichacitwithyakarpruksa sakhawichaphasasastrephuxkarsuxsar sakhawichabrrnarkssastraelasarsnethssastr sakhawichaphuththsasnsuksa sakhawichakaraeplphasaxngkvs ithy sakhawichacitwithyaxutsahkrrmaelaxngkhkar sakhawichaphasaxngkvssuksa hlksutrnanachati khwbpriyyaoth exk sakhawichawthnthrrmcinsuksa hlksutrsilpsastrdusdibnthit ss d sakhawichaprawtisastr sakhawichaphasasastr sakhawichaphasaxngkvssuksa hlksutrnanachati thaeniybkhnbdi aekikhkhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr miraynamkhnbditngaetxditcnthungpccubn dngtxipni thaeniybkhnbdikhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastrraynamkhnbdi rayaewlainkardarngtaaehnng1 sastracary dr xdul wiechiyrecriy ph s 2505 25112 sastracary xrun rchtanawin ph s 2511 25173 phnexkhying dr nixxn snithwngs n xyuthya ph s 2517 25184 sastracary mngkhl sihosphn ph s 2519 25255 phuchwysastracary dr subaesng phrhmbuy ph s 2526 25286 phuchwysastracary thiphya binsri ph s 2529 25317 rxngsastracary khunhying wngcnthr phinynitisastr ph s 2531 25348 xacary dr chaywithy ekstrsiri ph s 2534 25379 phuchwysastracary dr ciraphrrs bunyekiyrti ph s 2537 253910 xacary dr sirini ecnwithykar ph s 2539 254111 rxngsastracary dr malini dilkwnich ph s 2542 254412 rxngsastracary dr phimphnthu ewssaoksl ph s 2544 254713 rxngsastracary dr siththiochkh wranusntikul ph s 2547 254914 rxngsastracary dr thens xaphrnsuwrrn ph s 2550 255215 rxngsastracary dr chchwdi srlmph ph s 2553 25550 sastracary dr xudm rthxmvt 1 tulakhm 2555 31 mkrakhm 2556 rksakar 16 rxngsastracary dr darngkh xdulyvththikul 1 kumphaphnth 2556 28 kumphaphnth 256217 phuchwysastracary dr phasphngs sriphicarn 1 minakhm 2562 pccubnkickrrmnksuksa aekikhkarrbephuxnihmkhxngkhna aekikh khnakrrmkarnksuksakhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr kns ss epnphucdkickrrmrbephuxnihmkhxngkhna hruxngan subsantanansilp khunepnpracathukpi cdkhun n khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr thaphracnthr inchwngrayaewlaiklekhiyngkbwnaerkphbkhxngmhawithyaly edimkahndepnwnthi 11 phvsphakhmkhxngthukpi xncatrngkbwnpridi txmahlngcakkarepliynaeplngnoybayepidphakheriynkhxngmhawithyalycungidepliynmacdrahwangeduxnkrkdakhm singhakhm kxnwnnganpthmniethsnksuksaihm inngancamikarcdkickrrmephuxihnksuksaihmidruckbriewnsakhytang rxbmhawithyaly ihnksuksaihmthakhwamruckkbnksuksarunphiaelaephuxnnksuksadwykn rwmthungihnksuksarunphithakhwamruckkbnksuksaihm thaihsamarthihkhwamchwyehluxaelaihkhapruksaknidinrahwangepidphakheriynihm xncathaihnksuksaihmsamarthprbtwaelaetriymphrxmsahrbkarsuksainradbmhawithyalyiddiyingkhun klumotaaelatrakul aekikh khnasilpsastr aebngklumnksuksahruxthieriykwa ota xxkepn 6 trakul aelaaetlatrakulkcaaebngyxyipepnklumelk xik echn cxw 1 cxw 2 cxw 3 epntn odynksuksaihmaetlakhncatxngsumcbchlakephuxekharwmepnsmachikotaidephiyng 1 otaethann aelacaepnsmachikotanniptlxdtngaeteriynipcncbcnthungthangankcamikickrrmthiihtharwmknesmuxnepnkhrxbkhrwinmhawithyalythichwyesrimsmphnthphinxng dngnncudprasngkhinkarthithukkhnkhwrmiota trakulepnkhxngtwexngkephuxsadwkinkarihkhaaenanahruxihpruksa karthakickrrmkxihekidkhwamkhunekhysnithsnmklmekliywknrahwang ephuxnihm sungepnxudmkarnkhxngmhawithyalythiphuthiekhamasuksa n mhawithyalyaehngnimikhwamethaethiymkn immirunphirunnxng erakhuxephuxnkn aelaidtngchuxklumotatang tamsthanthisakhyinbriewnxakharkhxngkhnasilpsastr thaphracnthr dngni cinghnxng tngtamchuxelnkhxngpratimakrrmthitngxyuicklanglannaphufngthitidkbxakharkhnawithyasastraelaethkhonolyi sungmichuxthangkaraetedimwa nksuksa pnkhunodyekhiyn yimsiri pratimakrchawithy sungidaenwkhidmacakpratimakrrm nkkhid Le Penseur khxngfrngess sungaetlathathangkhxnghunmidngni muxkhwaaetamumpak muxsaythuxtaraeriyn ethasaykawipkhanghna hmaykhwamwa epnphukhngaekkarsuksa thiepiymdwywichakhwamru aelaepnphumiwisythsn kawipkhanghnaesmx eraeringrunchunbanwnwyisepnsayiythkthxsantxfncingkhuxeraerakhuxcingimthingkn rxyicmnrwmknepnhnungediyw lanoph tngchuxtamlanhnaxakharkhna sungmitnophplukiwklanglan odyepncudndhmayrwmphlkhxngnksuksainehtukarneduxntulakhm lanophera namni nnmiskdiophpkpks prawtisastr khusyamrxtnkla tnihm itfakhram ecriyngam ekhiyngkhu dinsxodm swnsilp tngchuxtamlankwangphayinxakharkhna sungepnlanphkphxnhyxnicthirmrundwytnimmakmay swnsilpniduaelknchnthphinxngrkprxngdxngklmekliywknimkhadsayerimaerkphbaemcakknimesuxmkhlay phukepnsaysinsmphnthimepliynaeplng pakcxw epnpratimakrrmthrngokhngkhrxmbnpratuthangekhaxakharkhnasilpsastrthithaphracnthr milksnakhlaykhakrrikrbnkhxngplachlam nksuksacungmkniymeriykwa cxw Jaw chatinkrbiwlayikhrthasumalxngdukhmekhiywkdimplxytrakulcxweluxdrxneraefakhxy chlamnxyfungihmmaphbkn laysux tngchuxtamlayslkxksrlaysuxithykhnadihydankhangxakharkhna ephuxaesdngthungkarralukthungrakehngaaelakhwamepnithy thngni sastracaryphiess dr chaywithy ekstrsiri xditkhnbdikhnasilpsastr aelaxditxthikarbdimhawithyalythrrmsastr rabuwamixyusxngtwxksrthislktwlaysuxphidip khuxxksrthislkpktrnghnaeplngesiyngwa laysux chuxelakhanekiyrtiprawtitrakuleramimanan imwaikhrtangelakhan laysuxithy naphu tngchuxtamlannaphudaninxakhardantidkbxakharkhnawithyasastraelaethkhonolyi pccubnkhuxtukbnthitsuksa 3 chn ihkhwamrmrunrmeynaekbriewnxakhardannn mkcaepidechphaainwnsakhy echn wnphithiphrarachthanpriyyabtr aelayngepnthitngkhxngpratimakrrm nksuksa hruxcinghnxngxikdwy khuxsayna thiimphb ephuxephiyngphankhuxsaythar thiklmekliyw imepliynphnkhuxsayiy thiphukera ekhadwykn khuxnaphu smphnth khxngphwkera okhrngkarsansmphnthxksrsilp One Arts aekikh ngankilaechuxmkhwamsmphnthrahwang 4 khnawichadanphasaaelamnusysastr idaek khnaxksrsastr culalngkrnmhawithyaly khnaxksrsastr mhawithyalysilpakr khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr aelakhnasilpsastr mhawithyalymhidl aetedimichchuxwa ngansansmphnthxksr odyepnkarechuxmkhwamsmphnthrahwang 2 khnaxksrsastrkhxngpraethsithy aetthangkhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastridmaekharwmdwyinphayhlng cungepliynchuxepnngan Tri Arts aelalasud thangkhnasilpsastr mhawithyalymhidlkidekhamarwmkickrrmdwyechnkn thaihmimakkwa 3 mhawithyaly cungtngchuxkickrrmkhunmaihmwangan One Arts ephuxaesdngkhwamepnhnungediywknkhxngthng 4 mhawithyaly phayinnganmikaraekhngkhnkila karaebngklumthakickrrmtang karechiyrot aelaochwechiyrlidedxrcakaetlakhnaxangxing aekikh https www dek d com board view 3516161 https www dek d com admission 41552 https www dek d com admission 46016 http stang sc mahidol ac th text pdf QS Thailand subject 2016 pdfduephim aekikhmhawithyalythrrmsastr raychuxkhnamnusysastrinpraethsithy sakhawichacitwithya khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastraehlngkhxmulxun aekikhewbistkhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr efsbukkhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr amp oldid 9379723, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม