fbpx
วิกิพีเดีย

ความจำโดยปริยาย

ความจำโดยปริยาย (อังกฤษ: Implicit memory) เป็นความจำประเภทหนึ่งที่ประสบการณ์ในอดีตช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งโดยที่ไม่ต้องมีการระลึกรู้ใต้อำนาจจิตใจถึงประสบการณ์ในอดีตนั้น หลักฐานว่ามีความจำโดยปริยายเห็นได้ในปรากฏการณ์ priming (การเตรียมการรับรู้) ซึ่งเป็นการวัดผู้รับการทดลองว่ามีทักษะในงานหนึ่ง ๆ ดีขึ้นเท่าไรเพราะการเตรียมตัวที่ให้กับผู้ทดลองโดยที่ไม่รู้ตัว

ประเภทและกิจหน้าที่ของความจำในวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ

ความจำโดยปริยายสามารถนำไปสู่ปรากฏการณ์ความจริงเทียม (illusion-of-truth effect) ซึ่งแสดงว่า เรามักจะคิดว่าคำอ้างอิงหนึ่ง ๆ ว่าเป็นจริงถ้าเคยได้ยินมาก่อน ไม่ว่าคำนั้นจะตรงกับความจริงแค่ไหน ในชีวิตประจำวัน เราพึ่งความจำโดยปริยายทุก ๆ วันในรูปแบบของความจำเชิงกระบวนวิธี (procedural memory) ซึ่งเป็นรูปแบบของความจำที่ทำให้เราสามารถจำได้ว่า จะผูกเชือกรองเท้าอย่างไร หรือจะขี่จักรยานอย่างไร โดยไม่ต้องคิดถึงวิธีการทำกิจเหล่านั้น งานวิจัยเกี่ยวกับความจำโดยปริยายแสดงว่า ความจำนี้เกิดขึ้นผ่านกระบวนการทางจิตใจที่ต่างไปจากความจำชัดแจ้ง (explicit memory)

หลักฐานและงานวิจัยปัจจุบัน

งานศึกษาในระดับสูงเกี่ยวกับความจำโดยปริยายพึ่งเกิดขึ้นภายใน 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา งานวิจัยเป็นจำนวนมากได้พุ่งความสนใจไปที่ปรากฏการณ์/ผลของความจำโดยปริยายที่เรียกว่า priming (การเตรียมการรับรู้) งานวิจัยหลายงานยืนยันถึงความมีอยู่ของระบบความจำต่างหากซึ่งก็คือความจำโดยปริยาย ในการทดลองหนึ่ง ผู้ร่วมการทดลองฟังเพลงหลายเพลงแล้วตัดสินใจว่าคุ้นเคยกับเพลง ๆ หนึ่งหรือไม่ ผู้ร่วมการทดลองครึ่งหนึ่งฟังเพลงพื้นบ้านอเมริกัน และอีกครึ่งหนึ่งฟังเพลงที่แต่งโดยใช้ทำนองของเพลงที่กลุ่มแรกได้ยินแต่ใช้เนื้อร้องที่แต่งใหม่ ผลแสดงว่า ผู้ร่วมการทดลองกลุ่มแรกมีโอกาสสูงกว่าที่จะรู้สึกว่าเพลงเหล่านั้นเป็นเพลงที่คุ้นเคย ทั้ง ๆ ที่ในกลุ่มทั้งสอง ทำนองเพลงต่างเหมือนกัน งานวิจัยนี้แสดงว่า เราทำการเชื่อมต่อกันระหว่างความจำต่าง ๆ โดยปริยาย (คือไม่ใช่เป็นสิ่งที่ทำใต้อำนาจจิตใจ) และงานวิจัยเป็นจำนวนมากพุ่งความสนใจไปที่ ความจำเชิงสัมพันธ์ (associative memory) ซึ่งเป็นความจำที่เชื่อมสิ่งสองสิ่งเข้าด้วยกัน ส่วนงานวิจัยนี้แสดงว่า เราทำความเชื่อมโยง (โดยปริยาย) ที่มีกำลังระหว่างทำนองเพลงกับเนื้อร้องที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ในภายหลัง

งานวิจัยปัจจุบัน

นักจิตวิทยาชาวอเมริกันแดเนียล สแค็กเตอร์ ได้กล่าวไว้ว่า

ปัญหาว่าความจำโดยปริยายและความจำชัดแจ้งอาศัยระบบ (ประสาท) ที่เป็นรากฐานเดียวกันหรืออาศัยหลายระบบยังไม่มีคำตอบ

สิ่งที่ค้นพบในงานวิจัยต่าง ๆ เป็นปรากฏการณ์จำนวนมากมายจนกระทั่งว่ายังไม่มีทฤษฎีใดเดี่ยว ๆ ที่สามารถอธิบายสังเกตการณ์เหล่านั้นได้ทั้งหมด แต่ต้องมีทฤษฎี 2 ทฤษฎีที่ใช้อธิบายข้อมูลในส่วนต่าง ๆ กัน

มีแนวทางสองแนวในการศึกษาความจำโดยปริยาย แนวทางแรกคือการกำหนดลักษณะของความจำชัดแจ้ง (คืออะไรที่ไม่ใช่หน้าที่ของความจำชัดแจ้งก็ต้องเป็นหน้าที่ของความจำโดยปริยาย) ถ้าคนที่มีความจำปกติสามารถผ่านการทดสอบเช่น จำรายการศัพท์ได้ คนนั้นกำลังระลึกถึงความจำนั้นใต้อำนาจจิตใจ แนวทางที่สองไม่ได้ขึ้นอยู่กับการตอบสนองทั้งที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจและที่อยู่นอกอำนาจจิตใจ แต่ขึ้นอยู่กับตัวแปรอิสระหลายอย่างซึ่งมีผลต่อการตอบสนองของความจำโดยปริยายและความจำชัดแจ้ง

ช่วงพัฒนาการ

มีหลักฐานโดยการทดลองที่บอกเป็นนัยว่า ทารกมีแต่ความจำโดยปริยายเพราะยังไม่สามารถที่จะดึงความรู้จากความทรงจำ (ชัดแจ้ง) ที่มีอยู่ โดยปกติแล้วเมื่อเจริญวัยขึ้น ก็จะสามารถระลึกถึงความจำได้อย่างจงใจ คือระลึกถึงความจำชัดแจ้งได้ แต่ว่า ก็มีข้อยกเว้นในคนไข้ภาวะเสียความจำ (amnesia) คือ แม้ว่าคนไข้จะยังสามารถเกิดความจำโดยปริยายอาศัยกระบวนการ priming ในระดับหนึ่ง และเนื่องจากว่า ความจำเชิงกระบวนวิธี (procedural memory) เป็นการตอบสนองโดยอัตโนมัติต่อสิ่งเร้าบางอย่าง เป็นความจำประเภทหนึ่งของความจำปริยาย คนไข้ภาวะเสียความความจำจึงไม่ปรากฏอาการผิดปรกติเมื่อมีพฤติกรรมโดยนิสัย (habit) ที่เกิดขึ้นอาศัยความจำเชิงกระบวนวิธี

ทฤษฎีสองกระบวนการ

กระบวนการเริ่มการทำงาน (activation processing) เป็นส่วนแรกของทฤษฎีสองกระบวนการ (dual processing theory) ของ ศ. แมนด์เลอร์ ผู้เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกันชั้นแนวหน้ากลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ศ. แมนด์เลอร์แสดงว่า มีกระบวนการสองอย่างที่ทำงานกับแบบจำลอง (mental representation) ในสมอง กระบวนการแรกคือ การเริ่มทำ (activation) ซึ่งเพิ่มการทำงานที่ทำให้ความจำหนึ่ง ๆ เด่นขึ้น เป็นการเพิ่มความคุ้นเคยให้กับความจำนั้น ซึ่งสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ priming ส่วนกระบวนการที่สองก็คือ การทำเพิ่ม (elaboration) ซึ่งเป็นการเข้ารหัสความจำชัดแจ้งที่มีส่วนในกระบวนการเริ่มทำ เป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับการสร้างความสัมพันธ์ใหม่ ๆ ระหว่างความจำต่าง ๆ ที่มีอยู่

ระบบความจำต่าง ๆ

ทฤษฎีระบบความจำหลายระบบแสดงว่า ความจำโดยปริยาย (implicit memory) และความจำชัดแจ้ง (explicit memory) ต่างกันเพราะมีโครงสร้างที่เป็นมูลฐานต่างกัน คือบอกว่า ความจำชัดแจ้งเป็นส่วนของระบบความจำเชิงประกาศ (declarative memory) ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างตัวแทน (ทางประสาท) ของข้อมูล โดยเปรียบเทียบกัน ความจำโดยปริยายเป็นส่วนของระบบความจำเชิงกระบวนวิธี (procedural memory) ที่ความจำเป็นเพียงแค่การปรับปรุงกระบวนการหรือวิธีการปฏิบัติที่มีอยู่แล้ว

ปรากฏการณ์ความจริงลวง

ทฤษฎีเกี่ยวกับ "ปรากฏการณ์ความจริงลวง" (illusion-of-truth effect) แสดงว่า เรามีโอกาสที่จะเชื่อข้อความที่คุ้นเคยมากกว่าข้อความที่ไม่คุ้นเคย ในการทดลองในปี ค.ศ. 1977 มีการให้ผู้ร่วมการทดลองอ่านข้อความ 60 ข้อความที่อาจเป็นไปได้ทุก ๆ 2 อาทิตย์แล้วให้ตัดสินใจว่า เป็นจริงหรือเท็จ ข้อความที่ให้อ่านบางส่วน (เป็นจริงบ้าง เท็จบ้าง) ปรากฏเกินกว่า 1 ครั้งในช่วงการทดลองต่าง ๆ ผลการทดลองแสดงว่า ผู้ร่วมการทดลองมีโอกาสมากกว่าที่จะตัดสินใจว่าข้อความเป็นจริง ถ้าเป็นข้อความที่เคยได้ยินมาแล้ว แม้ว่าจะจำไม่ได้ว่าเคยได้ยินมาแล้ว ไม่ว่าข้อความนั้นจะเป็นจริงหรือเท็จ

เนื่องจากว่าปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นแม้ไม่รู้ตัว จึงเป็นผลของความจำโดยปริยาย ผู้ร่วมการทดลองบางพวกตัดสินข้อความที่เคยได้ยินแล้วว่าเป็นจริง แม้ว่าจะได้รับแจ้งมาก่อนแล้วว่าเป็นข้อความเท็จ ปรากฏการณ์นี้แสดงภัยที่อาจจะมีเพราะความจำโดยปริยาย เพราะว่า สามารถที่จะนำไปสู่การตัดสินใจที่ไม่รู้ตัวเกี่ยวกับความถูกต้องของข้อความ

ความจำเชิงกระบวนวิธี

ดูบทความหลักที่: ความจำเชิงกระบวนวิธี

ความจำโดยปริยายที่เราใช้ทุกวันอย่างนี้เรียกว่า ความจำเชิงกระบวนวิธี หรือ ความจำเชิงดำเนินการ หรือ ความจำเชิงกระบวนการ (procedural memory) ซึ่งทำให้เราสามารถทำกิจต่าง ๆ (เช่นเขียนหนังสือหรือขี่จักรยาน) แม้ว่าเราจะไม่ใส่ใจ หรือไม่ได้คิดถึงการกระทำนั้น

ในงานทดลองหนึ่ง มีผู้รับการทดลองสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งเป็นคนไข้ภาวะเสียความจำ (amnesia) ที่มีความจำระยะยาวเสียหายเป็นอย่างยิ่ง และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นคนปกติ มีการให้ผู้รับการทดลองเล่นเกมหอคอยแห่งฮานอย (เป็นเกมซับซ้อนที่ต้องผ่านขั้นตอน 31 ขั้นจึงจะผ่านได้) หลายครั้งหลายคราว ผู้รับการทดลองกลุ่มแรกปรากฏการพัฒนาขึ้นในเกมต่อ ๆ มา เท่ากับผู้ร่วมการทดลองในกลุ่มที่สอง แม้ว่า ผู้ร่วมการทดลองกลุ่มแรกบางคนจะยืนยันว่า จำไม่ได้ว่าเคยเห็นเกมนี้มาก่อน ผลงานวิจัยนี้บอกเป็นนัยอย่างมีกำลังว่า ความจำเชิงกระบวนวิธีเป็นอิสระอย่างสิ้นเชิงจากความจำเชิงประกาศ (declarative memory)

ในอีกการทดลองหนึ่ง คนสองกลุ่มได้รับเครื่องดื่มอัดลม กลุ่มแรกภายหลังมีการทำให้เกิดความคลื่นไส้ และดังนั้นจึงเริ่มไม่ชอบใจรส (taste aversion) ของเครื่องดื่มอัดลม แม้ว่าจะได้รับแจ้งว่า เครื่องดื่มนั้นไม่ได้ทำให้คลื่นไส้ ผลงานวิจัยนี้แสดงว่า มีความจำเชิงกระบวนวิธี ที่เป็นความจำโดยปริยาย ที่สัมพันธ์ความคลื่นไส้กับรสเครื่องดื่มที่ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ

ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่า ทัศนคติโดยปริยาย (คือทัศนคติที่เรามีโดยไม่รู้ตัว) ควรจะจัดอยู่ใต้ความจำโดยปริยาย (คือ โดยบางส่วนแล้ว ทัศนคติโดยปริยายมีความเหมือนกับความจำเชิงกระบวนวิธีเพราะว่าอาศัยความรู้โดยปริยาย ที่ไม่สำนึกตัว ที่ได้เรียนรู้มาก่อนแล้วในอดีต) หรือว่า นี้เป็นเพียงปรากฏการณ์ที่อธิบายได้โดยวิธีอื่น

หลักฐานว่าความจำชัดแจ้งและความจำปริยายเป็นระบบต่างกัน

มีหลักฐานที่ชัดเจนที่แสดงว่า ความจำโดยปริยายโดยมากต่างจากความจำชัดแจ้ง และทำงานภายใต้กระบวนการที่ต่างกันในสมอง งานวิจัยเร็ว ๆ นี้ได้พุ่งความสนใจไปในการศึกษาความแตกต่าง โดยเฉพาะในการศึกษาคนไข้ภาวะเสียความจำและผลของปรากฏการณ์ priming

ความจำโดยปริยายในคนไข้ภาวะเสียความจำ

หลักฐานที่ชัดเจนที่สุดเกี่ยวกับความต่างกันของความจำโดยปริยายและความจำชัดแจ้งอยู่ในงานวิจัยที่ศึกษาคนไข้ภาวะเสียความจำ (amnesia) ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วในเรื่องความจำเชิงกระบวนวิธี คนไข้ภาวะเสียความจำไม่มีความบกพร่องในการเรียนรู้งานและกระบวนวิธีที่ไม่ใช้ความจำชัดแจ้ง

 
รูปถ่ายจอคอมพิวเตอร์แสดง pursuit rotor task ในงานนี้ ผู้รับการทดสอบต้องใช้เมาส์หรือปากกาคอมพิวเตอร์ในการติดตามวงกลมสีแดงที่วิ่งเป็นวงกลมรอบ ๆ วงสีเทา

ในงานวิจัยหนึ่ง คนไข้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงเกี่ยวกับความจำศัพท์แบบระยะยาว แต่ไม่มีความเสียหายในการเรียนรู้การงานใหม่ที่เรียกว่า pursuit rotor (ดูรูป) คนไข้แสดงการพัฒนาขึ้นเมื่อทำงานซ้ำ ๆ แม้ว่าในแต่ละครั้งจะยืนยันว่าไม่เคยเห็นเกมนี้มาก่อน ผลงานวิจัยนี้แสดงว่า กลไกของความจำเชิงประกาศระยะยาวไม่เหมือนกับความจำโดยปริยาย นอกจากนั้นแล้ว งานวิจัยหลายงานที่ใช้เทคนิค priming ในคนไข้ภาวะเสียความจำยังแสดงว่า ความจำโดยปริยายไม่เกิดความเสียหายแม้ว่าจะมีความเสียหายต่อความจำชัดแจ้งอย่างรุนแรง ยกตัวอย่างเช่น คนไข้และกลุ่มควบคุมแสดงการทำได้ดีขึ้นในระดับเท่า ๆ กันในเรื่องการเติมคำให้เต็มที่เป็นผลจากปรากฏการณ์ priming แม้ว่าจะจำไม่ได้ว่าได้ทำบททดสอบนั้นมาก่อนแล้ว การที่ปรากฏการณ์ priming เกิดขึ้นโดยไม่มีส่วนเกี่ยวข้องจากความจำชัดแจ้งแสดงว่า ระบบความจำทั้งสองมีหน้าที่ต่าง ๆ กันในสมอง

ความต่างกันอื่น ๆ ระหว่างความจำโดยปริยายและความจำชัดแจ้ง

นอกจากงานวิจัยเกี่ยวกับคนไข้ภาวะเสียความจำ ยังมีหลักฐานอื่น ๆ ที่แสดงความต่างกันของความจำโดยปริยายและความจำชัดแจ้ง คือ รูปแบบการพัฒนาของความจำชัดแจ้งไม่เกี่ยวกับความจำโดยปริยาย ซึ่งบอกเป็นนัยว่า ระบบทั้งสองอาศัยกระบวนการที่แตกต่างกัน การทดสอบเด็กวัยต่าง ๆ กันที่อยู่ในระยะการพัฒนาต่าง ๆ กัน ไม่แสดงความพัฒนาขึ้นของความจำโดยปริยายไม่เหมือนกับความจำชัดแจ้ง นี้ก็เป็นความจริงด้วยสำหรับผู้ใหญ่วัยชรา คือ ผลงานวิจัยต่าง ๆ แสดงว่า เมื่อเราถึงวัยชรา การทำงานของความจำชัดแจ้งก็จะเสื่อมลง แต่ว่า การทำงานของความจำโดยปริยายไม่เสื่อมลงเลยโดยประการทั้งปวง

มีงานทดลองมากมายที่ทำเพื่อแสดงความแตกต่างกันระหว่างความจำโดยปริยายและความจำชัดแจ้ง วิธีการหนึ่งที่ใช้ก็คือ depth-of-processing effect (ผลจากการประมวลผลอย่างลึกซึ้ง) ในงานวิจัยปี ค.ศ. 1981 โดยจาคอบีและดัลลัส มีการให้ผู้รับการทดลองรายการคำศัพท์เพื่อที่จะทำการปฏิสัมพันธ์แบบต่าง ๆ ในคำเหล่านั้น ในศัพท์บางคำ มีการให้ผู้การทดลองทำปฏิสัมพันธ์กับคำเหล่านั้นอย่างตื้น ๆ เช่นนับจำนวนอักษรในคำ ในศัพท์บางคำ ก็ให้ผู้รับการทดลองทำปฏิสัมพันธ์กับคำเหล่านั้นอย่างลึกซึ้ง เช่นตอบคำถามเกี่ยวกับควาหมายของศัพท์นั้น หลังจากนั้น ก็มีการทดสอบว่า ผู้รับการทดลองสามารถจำได้หรือไม่ว่าได้เห็นคำนั้นมาแล้ว เพราะว่า การประมวลผลอย่างลึกซึ้งช่วยความจำชัดแจ้งของคำ ๆ หนึ่ง ดังนั้น ผู้รับการทดลองจึงจำคำที่ต้องทำปฏิสัมพันธ์อย่างลึกซึ้งได้ดีกว่า แต่ว่า ถ้ามีการทดสอบความจำโดยปริยายโดยวิธี priming คือแสดงคำศัพท์อย่างรวดเร็วแล้วให้ผู้รับการทดลองเลือกศัพท์ที่เคยเห็นแล้ว ปรากฏว่ามีผลเท่ากันระหว่างศัพท์ที่ให้ทำปฏิสัมพันธ์อย่างลึกซึ้งกับคำที่ไม่ได้ให้ทำ นี้บอกเป็นนัยว่า ความจำโดยปริยายไม่ได้อาศัยการประมวลผลอย่างลึกซึ้งเหมือนกับความจำชัดแจ้ง

งานวิจัยเดียวกันทดสอบผลต่อความจำโดยการเตรียมการรับรู้ (priming) ทางการได้ยิน แล้วทดสอบโดยใช้สิ่งเร้าทางตา ในกรณีนี้ ผลที่เกิดจากการเตรียมการรับรู้ไม่ลดน้อยถอยหลงไปเมื่อทดสอบความจำชัดแจ้งโดยถามตรง ๆ ว่า สามารถจำว่าได้ยินคำนี้มาก่อนในส่วนแรกของการทดลองบ้างไหม แต่ในการทดสอบความจำโดยปริยาย ผลของการเตรียมการรับรู้ลดน้อยถอยลงไปอย่างยิ่งเพราะการเปลี่ยนประสาทสัมผัส ระหว่างส่วนที่ศึกษาคำ (ด้วยการได้ยิน) และส่วนที่มีการทดสอบ (ด้วยการเห็น)

งานวิจัยต่อมาในปี ค.ศ. 1987 พบว่าการเข้าไปกวนความจำของรายการศัพท์ มีผลเป็นนัยสำคัญต่อความสามารถของผู้ร่วมการทดลองในการรู้จำคำในการทดสอบการรู้จำชัดแจ้ง แต่ว่า การกวนนั้นไม่มีผลต่อความจำโดยปริยายเกี่ยวกับรายการศัพท์นั้น นอกจากนั้นแล้ว ดูเหมือนว่าจะไม่มีสหสัมพันธ์โดยสถิติระหว่างความสามารถในการจำรายการศัพท์โดยชัดแจ้ง กับความสามารถที่ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจที่ได้รับประโยชน์จากปรากฏการณ์ priming เพื่อช่วยในการระบุคำที่เห็นมาแล้วในการทดสอบเติมคำให้เต็ม ผลเหล่านี้แสดงผลที่ชัดเจนว่า ความจำโดยปริยายไม่ใช่เพียงแค่มีอยู่เท่านั้น แต่มีอยู่โดยเป็นระบบต่างหาก มีกระบวนการของตนเองที่ต่างจากความจำชัดแจ้งโดยนัยสำคัญ

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑"
  2. Schacter, D. L. (1987) ."Implicit memory: history and current status" 2009-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Journal of Experimental Psychology: Learning, Memory, and Cognition, 13, 501-518.
  3. Hamilton, Marryellen. "Measuring Implicit Memory". youtube.com. St. Peter's College. สืบค้นเมื่อ 2012-04-21.
  4. Graf, P. & Mandler, G. (1984) . Activation makes words more accessible, but not necessarily more retrievable. Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior, 23, 553-568.
  5. Hasher, L., Goldstein, D., & Toppino, T. (1977) . Frequency and the conference of referential validity. Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior, 16, 107-112.
  6. Crowder, Robert G. (1984). "Integration of Melody and Test in Memory for Songs". Cognition. 16 (3): 285–303. Unknown parameter |month= ignored (help); Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  7. Harlene Rovee-Collier, Hayne (2001). "The Development of Implicit and Explicit Memory". John Benjamins Publishing Company. สืบค้นเมื่อ 2012-04-18.
  8. Mandler, George (1994). "Implicit and explicit forgetting: When is gist remembered?". The Quarterly Journal of Experimental Psychology: 651–672. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  9. Begg, I.M., Anas, A., & Farinacci, S. (1992) . Dissociation of processes in belief: source recollection, statement familiarity, and the illusion of truth. Journal of Experimental Psychology, 121, 446-458.
  10. Cohen, N.J., Eichenbaum, H., Deacedo, B.S., & Corkin, S. (1985) . Different memory systems underlying acquisition of procedural and declarative knowledge. Annals of the New York Academy of Sciences, 444, 54-71.
  11. Arwas, S., Rolnick, A., & Lubow, R.E. (1989) . Conditioned taste aversion in humans using motion-induced sickness as the US. Behavioral Research Therapy, 27 (3), 295-301.
  12. doi:10.1176/appi.ajp.160.2.396
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand The Nature of Remembering: Essays in Honor of Robert G. Crowder (Full Web Article)
  13. Brooks, D.N. & Baddeley, A.D. (1976) . What can amnesic patients learn? Neuropsychologia, 14, 111-129.
  14. Graf, P. & Schacter, D.L. (1985) . Implicit and explicit memory for new associations in normal and amnesic subjects. Journal of Experimental Psychology: Learning, Memory, and Cognition, 11, 501-518.
  15. Roediger, Henry L. (1990). "Implicit Memory: Retention without remembering". American Psychologist. 45 (9): 1043–1056. Unknown parameter |month= ignored (help)
  16. Jacoby, L.L. & Dallas, M. (1981) . On the relationship between autobiographical and perceptual learning. Journal of Experimental Psychology: General, 110, 306-340.
  17. Graf, P. & Schacter, D.L. (1987) . Selective effects of interference on implicit and explicit memory for new associations. Journal of Experimental Psychology: Learning, Memory, and Cognition, 13, 45-53.
  18. Tulving, E., Schacter, D.L., & Stark, H.A. (1982) . Priming effects in word-fragment completion are independent of recognition memory. Journal of Experimental Psychology: Learning, Memory, and Cognition, 8 (4), 336-342.

ความจำโดยปร, ยาย, งกฤษ, implicit, memory, เป, นความจำประเภทหน, งท, ประสบการณ, ในอด, ตช, วยเพ, มประส, ทธ, ภาพการทำงานอย, างใดอย, างหน, งโดยท, ไม, องม, การระล, กร, ใต, อำนาจจ, ตใจถ, งประสบการณ, ในอด, ตน, หล, กฐานว, าม, เห, นได, ในปรากฏการณ, priming, การเตร, ยมกา. khwamcaodypriyay 1 xngkvs Implicit memory epnkhwamcapraephthhnungthiprasbkarninxditchwyephimprasiththiphaphkarthanganxyangidxyanghnungodythiimtxngmikarralukruitxanacciticthungprasbkarninxditnn 2 hlkthanwamikhwamcaodypriyayehnidinpraktkarn priming karetriymkarrbru sungepnkarwdphurbkarthdlxngwamithksainnganhnung dikhunethairephraakaretriymtwthiihkbphuthdlxngodythiimrutw 3 4 praephthaelakichnathikhxngkhwamcainwithyasastrsakhatang khwamcaodypriyaysamarthnaipsupraktkarnkhwamcringethiym illusion of truth effect sungaesdngwa eramkcakhidwakhaxangxinghnung waepncringthaekhyidyinmakxn imwakhanncatrngkbkhwamcringaekhihn 5 inchiwitpracawn eraphungkhwamcaodypriyaythuk wninrupaebbkhxngkhwamcaechingkrabwnwithi procedural memory sungepnrupaebbkhxngkhwamcathithaiherasamarthcaidwa caphukechuxkrxngethaxyangir hruxcakhickryanxyangir odyimtxngkhidthungwithikarthakicehlann nganwicyekiywkbkhwamcaodypriyayaesdngwa khwamcaniekidkhunphankrabwnkarthangciticthitangipcakkhwamcachdaecng explicit memory 2 enuxha 1 hlkthanaelanganwicypccubn 1 1 nganwicypccubn 2 chwngphthnakar 3 thvsdisxngkrabwnkar 4 rabbkhwamcatang 5 praktkarnkhwamcringlwng 6 khwamcaechingkrabwnwithi 7 hlkthanwakhwamcachdaecngaelakhwamcapriyayepnrabbtangkn 7 1 khwamcaodypriyayinkhnikhphawaesiykhwamca 7 2 khwamtangknxun rahwangkhwamcaodypriyayaelakhwamcachdaecng 8 echingxrrthaelaxangxinghlkthanaelanganwicypccubn aekikhngansuksainradbsungekiywkbkhwamcaodypriyayphungekidkhunphayin 2 3 thswrrsthiphanma nganwicyepncanwnmakidphungkhwamsnicipthipraktkarn phlkhxngkhwamcaodypriyaythieriykwa priming karetriymkarrbru 2 nganwicyhlaynganyunynthungkhwammixyukhxngrabbkhwamcatanghaksungkkhuxkhwamcaodypriyay inkarthdlxnghnung phurwmkarthdlxngfngephlnghlayephlngaelwtdsinicwakhunekhykbephlng hnunghruxim phurwmkarthdlxngkhrunghnungfngephlngphunbanxemrikn aelaxikkhrunghnungfngephlngthiaetngodyichthanxngkhxngephlngthiklumaerkidyinaetichenuxrxngthiaetngihm phlaesdngwa phurwmkarthdlxngklumaerkmioxkassungkwathicarusukwaephlngehlannepnephlngthikhunekhy thng thiinklumthngsxng thanxngephlngtangehmuxnkn 6 nganwicyniaesdngwa erathakarechuxmtxknrahwangkhwamcatang odypriyay khuximichepnsingthithaitxanaccitic aelanganwicyepncanwnmakphungkhwamsnicipthi khwamcaechingsmphnth associative memory sungepnkhwamcathiechuxmsingsxngsingekhadwykn swnnganwicyniaesdngwa erathakhwamechuxmoyng odypriyay thimikalngrahwangthanxngephlngkbenuxrxngthiimsamarthaeykxxkcakknidinphayhlng nganwicypccubn aekikh nkcitwithyachawxemriknaedeniyl saekhketxr idklawiwwa pyhawakhwamcaodypriyayaelakhwamcachdaecngxasyrabb prasath thiepnrakthanediywknhruxxasyhlayrabbyngimmikhatxb 2 singthikhnphbinnganwicytang epnpraktkarncanwnmakmaycnkrathngwayngimmithvsdiidediyw thisamarthxthibaysngektkarnehlannidthnghmd aettxngmithvsdi 2 thvsdithiichxthibaykhxmulinswntang knmiaenwthangsxngaenwinkarsuksakhwamcaodypriyay aenwthangaerkkhuxkarkahndlksnakhxngkhwamcachdaecng khuxxairthiimichhnathikhxngkhwamcachdaecngktxngepnhnathikhxngkhwamcaodypriyay thakhnthimikhwamcapktisamarthphankarthdsxbechn caraykarsphthid khnnnkalngralukthungkhwamcannitxanaccitic aenwthangthisxngimidkhunxyukbkartxbsnxngthngthixyuitxanacciticaelathixyunxkxanaccitic aetkhunxyukbtwaeprxisrahlayxyangsungmiphltxkartxbsnxngkhxngkhwamcaodypriyayaelakhwamcachdaecng 7 chwngphthnakar aekikhmihlkthanodykarthdlxngthibxkepnnywa tharkmiaetkhwamcaodypriyayephraayngimsamarththicadungkhwamrucakkhwamthrngca chdaecng thimixyu odypktiaelwemuxecriywykhun kcasamarthralukthungkhwamcaidxyangcngic khuxralukthungkhwamcachdaecngid aetwa kmikhxykewninkhnikhphawaesiykhwamca amnesia khux aemwakhnikhcayngsamarthekidkhwamcaodypriyayxasykrabwnkar priming inradbhnung aelaenuxngcakwa khwamcaechingkrabwnwithi procedural memory epnkartxbsnxngodyxtonmtitxsingerabangxyang epnkhwamcapraephthhnungkhxngkhwamcapriyay khnikhphawaesiykhwamkhwamcacungimpraktxakarphidprktiemuxmiphvtikrrmodynisy habit thiekidkhunxasykhwamcaechingkrabwnwithi 7 thvsdisxngkrabwnkar aekikhkrabwnkarerimkarthangan activation processing epnswnaerkkhxngthvsdisxngkrabwnkar dual processing theory khxng s aemndelxr phuepnnkcitwithyachawxemriknchnaenwhnaklangkhriststwrrsthi 20 s aemndelxraesdngwa mikrabwnkarsxngxyangthithangankbaebbcalxng mental representation insmxng krabwnkaraerkkhux karerimtha activation sungephimkarthanganthithaihkhwamcahnung ednkhun epnkarephimkhwamkhunekhyihkbkhwamcann sungsamarthichxthibaypraktkarn priming swnkrabwnkarthisxngkkhux karthaephim elaboration sungepnkarekharhskhwamcachdaecngthimiswninkrabwnkarerimtha epnkrabwnkarthiekiywkbkarsrangkhwamsmphnthihm rahwangkhwamcatang thimixyu 8 rabbkhwamcatang aekikhthvsdirabbkhwamcahlayrabbaesdngwa khwamcaodypriyay implicit memory aelakhwamcachdaecng explicit memory tangknephraamiokhrngsrangthiepnmulthantangkn khuxbxkwa khwamcachdaecngepnswnkhxngrabbkhwamcaechingprakas declarative memory sungmihnathiekiywkbkarsrangtwaethn thangprasath khxngkhxmul odyepriybethiybkn khwamcaodypriyayepnswnkhxngrabbkhwamcaechingkrabwnwithi procedural memory thikhwamcaepnephiyngaekhkarprbprungkrabwnkarhruxwithikarptibtithimixyuaelw 2 praktkarnkhwamcringlwng aekikhthvsdiekiywkb praktkarnkhwamcringlwng illusion of truth effect aesdngwa eramioxkasthicaechuxkhxkhwamthikhunekhymakkwakhxkhwamthiimkhunekhy inkarthdlxnginpi kh s 1977 mikarihphurwmkarthdlxngxankhxkhwam 60 khxkhwamthixacepnipidthuk 2 xathityaelwihtdsinicwa epncringhruxethc khxkhwamthiihxanbangswn epncringbang ethcbang praktekinkwa 1 khrnginchwngkarthdlxngtang phlkarthdlxngaesdngwa phurwmkarthdlxngmioxkasmakkwathicatdsinicwakhxkhwamepncring thaepnkhxkhwamthiekhyidyinmaaelw aemwacacaimidwaekhyidyinmaaelw imwakhxkhwamnncaepncringhruxethcenuxngcakwapraktkarnniekidkhunaemimrutw cungepnphlkhxngkhwamcaodypriyay phurwmkarthdlxngbangphwktdsinkhxkhwamthiekhyidyinaelwwaepncring aemwacaidrbaecngmakxnaelwwaepnkhxkhwamethc 9 praktkarnniaesdngphythixaccamiephraakhwamcaodypriyay ephraawa samarththicanaipsukartdsinicthiimrutwekiywkbkhwamthuktxngkhxngkhxkhwamkhwamcaechingkrabwnwithi aekikhdubthkhwamhlkthi khwamcaechingkrabwnwithi khwamcaodypriyaythieraichthukwnxyangnieriykwa khwamcaechingkrabwnwithi hrux khwamcaechingdaeninkar hrux khwamcaechingkrabwnkar 1 procedural memory sungthaiherasamarththakictang echnekhiynhnngsuxhruxkhickryan aemwaeracaimisic hruximidkhidthungkarkrathanninnganthdlxnghnung miphurbkarthdlxngsxngklum klumhnungepnkhnikhphawaesiykhwamca amnesia thimikhwamcarayayawesiyhayepnxyangying aelaxikklumhnungepnkhnpkti mikarihphurbkarthdlxngelnekmhxkhxyaehnghanxy epnekmsbsxnthitxngphankhntxn 31 khncungcaphanid hlaykhrnghlaykhraw phurbkarthdlxngklumaerkpraktkarphthnakhuninekmtx ma ethakbphurwmkarthdlxnginklumthisxng aemwa phurwmkarthdlxngklumaerkbangkhncayunynwa caimidwaekhyehnekmnimakxn phlnganwicynibxkepnnyxyangmikalngwa khwamcaechingkrabwnwithiepnxisraxyangsinechingcakkhwamcaechingprakas declarative memory 10 inxikkarthdlxnghnung khnsxngklumidrbekhruxngdumxdlm klumaerkphayhlngmikarthaihekidkhwamkhlunis aeladngnncungerimimchxbicrs taste aversion khxngekhruxngdumxdlm aemwacaidrbaecngwa ekhruxngdumnnimidthaihkhlunis phlnganwicyniaesdngwa mikhwamcaechingkrabwnwithi thiepnkhwamcaodypriyay thismphnthkhwamkhluniskbrsekhruxngdumthiimidxyuitxanaccitic 11 yngepnthithkethiyngknxyuwa thsnkhtiodypriyay khuxthsnkhtithieramiodyimrutw khwrcacdxyuitkhwamcaodypriyay khux odybangswnaelw thsnkhtiodypriyaymikhwamehmuxnkbkhwamcaechingkrabwnwithiephraawaxasykhwamruodypriyay thiimsanuktw thiideriynrumakxnaelwinxdit hruxwa niepnephiyngpraktkarnthixthibayidodywithixun 12 hlkthanwakhwamcachdaecngaelakhwamcapriyayepnrabbtangkn aekikhmihlkthanthichdecnthiaesdngwa khwamcaodypriyayodymaktangcakkhwamcachdaecng aelathanganphayitkrabwnkarthitangkninsmxng nganwicyerw niidphungkhwamsnicipinkarsuksakhwamaetktang odyechphaainkarsuksakhnikhphawaesiykhwamcaaelaphlkhxngpraktkarn priming khwamcaodypriyayinkhnikhphawaesiykhwamca aekikh hlkthanthichdecnthisudekiywkbkhwamtangknkhxngkhwamcaodypriyayaelakhwamcachdaecngxyuinnganwicythisuksakhnikhphawaesiykhwamca amnesia dngthiidklawiwaelwineruxngkhwamcaechingkrabwnwithi khnikhphawaesiykhwamcaimmikhwambkphrxnginkareriynrunganaelakrabwnwithithiimichkhwamcachdaecng rupthaycxkhxmphiwetxraesdng pursuit rotor task innganni phurbkarthdsxbtxngichemashruxpakkakhxmphiwetxrinkartidtamwngklmsiaedngthiwingepnwngklmrxb wngsietha innganwicyhnung khnikhekidkhwamesiyhayxyangrunaerngekiywkbkhwamcasphthaebbrayayaw aetimmikhwamesiyhayinkareriynrukarnganihmthieriykwa pursuit rotor durup khnikhaesdngkarphthnakhunemuxthangansa aemwainaetlakhrngcayunynwaimekhyehnekmnimakxn 13 phlnganwicyniaesdngwa klikkhxngkhwamcaechingprakasrayayawimehmuxnkbkhwamcaodypriyay nxkcaknnaelw nganwicyhlaynganthiichethkhnikh priming inkhnikhphawaesiykhwamcayngaesdngwa khwamcaodypriyayimekidkhwamesiyhayaemwacamikhwamesiyhaytxkhwamcachdaecngxyangrunaerng yktwxyangechn khnikhaelaklumkhwbkhumaesdngkarthaiddikhuninradbetha knineruxngkaretimkhaihetmthiepnphlcakpraktkarn priming aemwacacaimidwaidthabththdsxbnnmakxnaelw 14 karthipraktkarn priming ekidkhunodyimmiswnekiywkhxngcakkhwamcachdaecngaesdngwa rabbkhwamcathngsxngmihnathitang kninsmxng khwamtangknxun rahwangkhwamcaodypriyayaelakhwamcachdaecng aekikh nxkcaknganwicyekiywkbkhnikhphawaesiykhwamca yngmihlkthanxun thiaesdngkhwamtangknkhxngkhwamcaodypriyayaelakhwamcachdaecng khux rupaebbkarphthnakhxngkhwamcachdaecngimekiywkbkhwamcaodypriyay sungbxkepnnywa rabbthngsxngxasykrabwnkarthiaetktangkn karthdsxbedkwytang knthixyuinrayakarphthnatang kn imaesdngkhwamphthnakhunkhxngkhwamcaodypriyayimehmuxnkbkhwamcachdaecng nikepnkhwamcringdwysahrbphuihywychra khux phlnganwicytang aesdngwa emuxerathungwychra karthangankhxngkhwamcachdaecngkcaesuxmlng aetwa karthangankhxngkhwamcaodypriyayimesuxmlngelyodyprakarthngpwng 15 minganthdlxngmakmaythithaephuxaesdngkhwamaetktangknrahwangkhwamcaodypriyayaelakhwamcachdaecng withikarhnungthiichkkhux depth of processing effect phlcakkarpramwlphlxyangluksung innganwicypi kh s 1981 odycakhxbiaeladlls mikarihphurbkarthdlxngraykarkhasphthephuxthicathakarptismphnthaebbtang inkhaehlann insphthbangkha mikarihphukarthdlxngthaptismphnthkbkhaehlannxyangtun echnnbcanwnxksrinkha insphthbangkha kihphurbkarthdlxngthaptismphnthkbkhaehlannxyangluksung echntxbkhathamekiywkbkhwahmaykhxngsphthnn hlngcaknn kmikarthdsxbwa phurbkarthdlxngsamarthcaidhruximwaidehnkhannmaaelw ephraawa karpramwlphlxyangluksungchwykhwamcachdaecngkhxngkha hnung dngnn phurbkarthdlxngcungcakhathitxngthaptismphnthxyangluksungiddikwa aetwa thamikarthdsxbkhwamcaodypriyayodywithi priming khuxaesdngkhasphthxyangrwderwaelwihphurbkarthdlxngeluxksphththiekhyehnaelw praktwamiphlethaknrahwangsphththiihthaptismphnthxyangluksungkbkhathiimidihtha nibxkepnnywa khwamcaodypriyayimidxasykarpramwlphlxyangluksungehmuxnkbkhwamcachdaecng 16 nganwicyediywknthdsxbphltxkhwamcaodykaretriymkarrbru priming thangkaridyin aelwthdsxbodyichsingerathangta inkrnini phlthiekidcakkaretriymkarrbruimldnxythxyhlngipemuxthdsxbkhwamcachdaecngodythamtrng wa samarthcawaidyinkhanimakxninswnaerkkhxngkarthdlxngbangihm aetinkarthdsxbkhwamcaodypriyay phlkhxngkaretriymkarrbruldnxythxylngipxyangyingephraakarepliynprasathsmphs 16 rahwangswnthisuksakha dwykaridyin aelaswnthimikarthdsxb dwykarehn nganwicytxmainpi kh s 1987 phbwakarekhaipkwnkhwamcakhxngraykarsphth miphlepnnysakhytxkhwamsamarthkhxngphurwmkarthdlxnginkarrucakhainkarthdsxbkarrucachdaecng aetwa karkwnnnimmiphltxkhwamcaodypriyayekiywkbraykarsphthnn 17 nxkcaknnaelw duehmuxnwacaimmishsmphnthodysthitirahwangkhwamsamarthinkarcaraykarsphthodychdaecng kbkhwamsamarththiimidxyuitxanacciticthiidrbpraoychncakpraktkarn priming ephuxchwyinkarrabukhathiehnmaaelwinkarthdsxbetimkhaihetm 18 phlehlaniaesdngphlthichdecnwa khwamcaodypriyayimichephiyngaekhmixyuethann aetmixyuodyepnrabbtanghak mikrabwnkarkhxngtnexngthitangcakkhwamcachdaecngodynysakhyechingxrrthaelaxangxing aekikh 1 0 1 1 sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 Schacter D L 1987 Implicit memory history and current status Archived 2009 02 19 thi ewyaebkaemchchin Journal of Experimental Psychology Learning Memory and Cognition 13 501 518 Hamilton Marryellen Measuring Implicit Memory youtube com St Peter s College subkhnemux 2012 04 21 Graf P amp Mandler G 1984 Activation makes words more accessible but not necessarily more retrievable Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior 23 553 568 Hasher L Goldstein D amp Toppino T 1977 Frequency and the conference of referential validity Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior 16 107 112 Crowder Robert G 1984 Integration of Melody and Test in Memory for Songs Cognition 16 3 285 303 Unknown parameter month ignored help Unknown parameter coauthors ignored author suggested help 7 0 7 1 Harlene Rovee Collier Hayne 2001 The Development of Implicit and Explicit Memory John Benjamins Publishing Company subkhnemux 2012 04 18 Mandler George 1994 Implicit and explicit forgetting When is gist remembered The Quarterly Journal of Experimental Psychology 651 672 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Begg I M Anas A amp Farinacci S 1992 Dissociation of processes in belief source recollection statement familiarity and the illusion of truth Journal of Experimental Psychology 121 446 458 Cohen N J Eichenbaum H Deacedo B S amp Corkin S 1985 Different memory systems underlying acquisition of procedural and declarative knowledge Annals of the New York Academy of Sciences 444 54 71 Arwas S Rolnick A amp Lubow R E 1989 Conditioned taste aversion in humans using motion induced sickness as the US Behavioral Research Therapy 27 3 295 301 doi 10 1176 appi ajp 160 2 396This citation will be automatically completed in the next few minutes You can jump the queue or expand by hand The Nature of Remembering Essays in Honor of Robert G Crowder Full Web Article Brooks D N amp Baddeley A D 1976 What can amnesic patients learn Neuropsychologia 14 111 129 Graf P amp Schacter D L 1985 Implicit and explicit memory for new associations in normal and amnesic subjects Journal of Experimental Psychology Learning Memory and Cognition 11 501 518 Roediger Henry L 1990 Implicit Memory Retention without remembering American Psychologist 45 9 1043 1056 Unknown parameter month ignored help 16 0 16 1 Jacoby L L amp Dallas M 1981 On the relationship between autobiographical and perceptual learning Journal of Experimental Psychology General 110 306 340 Graf P amp Schacter D L 1987 Selective effects of interference on implicit and explicit memory for new associations Journal of Experimental Psychology Learning Memory and Cognition 13 45 53 Tulving E Schacter D L amp Stark H A 1982 Priming effects in word fragment completion are independent of recognition memory Journal of Experimental Psychology Learning Memory and Cognition 8 4 336 342 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamcaodypriyay amp oldid 9561620, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม