fbpx
วิกิพีเดีย

ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ

ภาวะความเครียดผิดปกติหลังเหตุสะเทือนใจ (อังกฤษ: Posttraumatic stress disorder) มีชื่อย่ออย่างเป็นสากลว่า PTSD เป็นภาวะความเครียดที่ก่อให้เกิดอาการดังกล่าว อาการมักเป็นหลังจากเจอสถานการณ์ที่สะเทือนใจ ซึ่งต่างจาก Acute stress reaction ที่จะเกิดอาการขึ้นทันทีที่เจอเหตุการณ์นั้น ๆ

ภาวะความเครียดผิดปกติหลังเหตุสะเทือนใจ
(Posttraumatic stress disorder)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10F43.1
ICD-9309.81
DiseasesDB33846
MedlinePlus000925
eMedicinemed/1900
MeSHD013313

สาเหตุ

ได้พบเจอกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่สะเทือนใจมาก ๆ ซึ่งมักเป็นแบบเรื้อรัง และมักเป็นสถานการณ์พวกหายนะต่าง ๆ ได้แก่

  1. Natural disaster ภัยธรรมชาติ เช่น สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด
  2. Technological disaster ภัยที่เกิดจากความก้าวหน้าของมนุษย์ เช่น ระเบิดปรมาณู สารกัมมันตภาพรังสีรั่วไหล
  3. Man made disaster เช่น ก่อการร้าย ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ น่าสังเกตว่าสถานการณ์นี้ส่งผลให้เกิด PTSD ถึง 70% แสดงให้เห็นว่าสิ่งใดก็ตามที่มีผลด้านจิตใจเข้ามาเกี่ยวข้องจะยิ่งทำให้เกิด PTSD ง่ายขึ้น

เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นทั้งภาวะ Threatening (คุกคามต่อผู้ป่วยโดยตรง) หรือ Depressivness (ไม่ได้โดนกับตัวเอง แต่โดนกับคนที่ตนเองรัก)

อาการ

อาการทั่ว ๆ ไป ได้แก่ กลัว สิ้นหวัง หวาดผวา รู้สึกผิด ละอายใจ โกรธ ไม่มีใครหรืออะไรช่วยได้เลย

อาการสำคัญ
  1. เกิดภาพเหตุการณ์นั้น ๆ ซ้ำแล้วซ้ำอีก นึกถึงแล้วนึกถึงอีก
  2. มักจะพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่เชื่อมโยงกับสถานการณ์ดังกล่าว เช่น คนที่ขับรถชนคนตาย แล้วไม่กล้าขับรถอีกเลย ดูหนังหรือเห็นอะไรเกี่ยวกับรถก็ไม่ได้
  3. อาการทางจิตใจ ได้แก่ ตื่นตัว สะดุ้ง ตกใจ ไม่มีสมาธิ เครียดง่ายกับเรื่องธรรมดา

ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งสำคัญอาการดังกล่าวต้องเป็นต่อเนื่องกันนานกว่า 1 เดือน

แนวทางการรักษา

แนวทางการรักษาโดยการใช้ยา

  1. ใช้ยาแก้ซึมเศร้า เช่น ฟลูอ็อกเซทีน, พาโรเซทีน
  2. ใช้ยาพวก Adrenergic block agents
  3. ใช้ยาพวก Antianxiety เช่น Diazepham

แนวทางการรักษาโดยวิธีอื่น ๆ

  1. Hypnosis สะกดจิต
  2. Psychotherapy จิตบำบัด
  3. Anxiety management programme
  4. Group therapy ให้ผู้ป่วยมาคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ป่วยอื่นที่เป็นเหมือนกัน

อ้างอิง

  • Maxmen, J. S.; Ward, N. G. (2002). Psychotropic drugs: fast facts (third ed.). New York: W. W. Norton. pp. 347–349. ISBN 0-393-70301-0.

ความผ, ดปกต, เก, ดหล, งความเคร, ยดท, สะเท, อนใจ, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มก. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchay oprdduraylaexiydephimetiminhnaxphipray hakkhunmikhwamruekiywkberuxngni khunsamarthchwyprbprungenuxhaidthnthi odykarkdpum aekikh danbn sungemuxtrwcsxbaelaaekikhaelwihnapaynixxkphawakhwamekhriydphidpktihlngehtusaethuxnic xngkvs Posttraumatic stress disorder michuxyxxyangepnsaklwa PTSD epnphawakhwamekhriydthikxihekidxakardngklaw xakarmkepnhlngcakecxsthankarnthisaethuxnic sungtangcak Acute stress reaction thicaekidxakarkhunthnthithiecxehtukarnnn phawakhwamekhriydphidpktihlngehtusaethuxnic Posttraumatic stress disorder bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F43 1ICD 9309 81DiseasesDB33846MedlinePlus000925eMedicinemed 1900MeSHD013313 enuxha 1 saehtu 2 xakar 3 aenwthangkarrksa 4 xangxingsaehtu aekikhidphbecxkberuxngrawhruxsthankarnthisaethuxnicmak sungmkepnaebberuxrng aelamkepnsthankarnphwkhaynatang idaek Natural disaster phythrrmchati echn sunami phuekhaifraebid Technological disaster phythiekidcakkhwamkawhnakhxngmnusy echn raebidprmanu sarkmmntphaphrngsirwihl Man made disaster echn kxkarray khalangephaphnthu nasngektwasthankarnnisngphlihekid PTSD thung 70 aesdngihehnwasingidktamthimiphldanciticekhamaekiywkhxngcayingthaihekid PTSD ngaykhunehtukarndngklawepnthngphawa Threatening khukkhamtxphupwyodytrng hrux Depressivness imidodnkbtwexng aetodnkbkhnthitnexngrk xakar aekikhxakarthw ip idaek klw sinhwng hwadphwa rusukphid laxayic okrth immiikhrhruxxairchwyidely xakarsakhyekidphaphehtukarnnn saaelwsaxik nukthungaelwnukthungxik mkcaphyayamhlikeliyngsingthiechuxmoyngkbsthankarndngklaw echn khnthikhbrthchnkhntay aelwimklakhbrthxikely duhnnghruxehnxairekiywkbrthkimid xakarthangcitic idaek tuntw sadung tkic immismathi ekhriydngaykberuxngthrrmdathngnithngnnsingsakhyxakardngklawtxngepntxenuxngknnankwa 1 eduxnaenwthangkarrksa aekikhaenwthangkarrksaodykarichya ichyaaeksumesra echn fluxxkesthin phaoresthin ichyaphwk Adrenergic block agents ichyaphwk Antianxiety echn Diazephamaenwthangkarrksaodywithixun Hypnosis sakdcit Psychotherapy citbabd Anxiety management programme Group therapy ihphupwymakhuyaelkepliynprasbkarnkbphupwyxunthiepnehmuxnknxangxing aekikhMaxmen J S Ward N G 2002 Psychotropic drugs fast facts third ed New York W W Norton pp 347 349 ISBN 0 393 70301 0 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamphidpktithiekidhlngkhwamekhriydthisaethuxnic amp oldid 8537068, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม