fbpx
วิกิพีเดีย

ความเหลื่อมล้ำทางสังคม

ความเหลื่อมล้ำทางสังคมเกิดขึ้นเมื่อทรัพยากรในสังคมมีการกระจายอย่างไม่เสมอภาค ซึ่งก่อให้เกิดแบบรูปจำเพาะตามแนวจำพวกของบุคคลที่นิยามทางสังคม การเข้าถึงสินค้าสังคมในสังคมนั้นมีความแตกต่างกันเป็นลำดับมีสาเหตุจากอำนาจ ศาสนา เครือญาติ เกียรติภูมิ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ เพศ อายุ รสนิยมทางเพศและชนชั้น ความเหลื่อมล้ำปกติส่อความหมายถึงความไม่เสมอภาคของผลลัพธ์ แต่อาจสรุปอีกอย่างหนึ่งได้ว่าเป็นความไม่เสมอภาคในการเข้าถึงโอกาส สิทธิทางสังคม ประกอบด้วยตลาดแรงงาน บ่อเกิดของรายได้ บริการสาธารณสุข เสรีภาพในการพูด การศึกษา การมีผู้แทนทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมือง ความเหลื่อมล้ำทางสังคมนี้มีความเชื่อมโยงกับความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ปกติอธิบายบนพื้นฐานของการกระจายรายได้หรือความมั่งคั่งอย่างไม่เสมอภาค และเป็นความเหลื่อมล้ำทางสังคมชนิดที่มีการศึกษาอยู่บ่อยครั้ง ถึงแม้สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และสังคมวิทยาโดยทั่วไปใช้แนวทางเข้าสู่ทางทฤษฎีต่างกันเพื่อพิจารณาและอธิบายความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ แต่ทั้งสองวิชาก็วิจัยความเหลื่อมล้ำนี้เหมือนกัน อย่างไรก็ดีทรัพยากรสังคมและธรรมชาติก็มีการกระจายอย่างไม่เท่าเทียมในสังคมส่วนใหญ่นอกเหนือไปจากทรัพยากรทางเศรษฐกิจ และอาจช่วยส่งเสริมสถานภาพทางสังคมของบุคคล บรรทัดฐานของการจัดสรรยังมีผลต่อการกระจายสิทธิและเอกสิทธิ์ อำนาจทางสังคม การเข้าถึงสินค้าสาธารณะ เช่น การศึกษาหรือระบบตุลาการ การเคหะที่เพียงพอ การขนส่ง เครดิตและบริการทางการเงิน เช่น การธนาคาร ตลอดจนสินค้าและบริการทางสังคมอื่น

หอคอยหรูตั้งตระหง่านอยู่เหนือย่านคนจนในกรุงวิลนีอุส ประเทศลิทัวเนีย

หลายสังคมทั่วโลกต่างอวดอ้างว่าตนเป็นคุณธรรมนิยม หมายความว่า การกระจายทรัพยากรในสังคมอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรมหรือความดี (merit) แม้ว่าคุณธรรมนี้จะมีผลอยู่บ้างในบางสังคม แต่งานวิจัยแสดงว่าการกระจายทรัพยากรในสังคมมักเป็นไปตามการแบ่งประเภททางสังคมแบบมีลำดับชั้นจนไม่อาจเรียกสังคมเหล่านั้นว่า "คุณธรรมนิยม" ได้ ด้วยเหตุที่บุคคลที่มีสติปัญญา ความสามารถหรือคุณธรรมเป็นพิเศษก็ตามยังไม่อาจชดเชยการถูกเอาเปรียบทางสังคมที่เขาเหล่านั้นเผชิญ ในหลายกรณี ความเหลื่อมล้ำทางสังคมเชื่อมโยงกับความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติ ชาติพันธุ์และเพศ ตลอดจนสถานภาพทางสังคม ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้อาจเกี่ยวข้องกับการฉ้อราษฎร์บังหลวง

ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้ำทางสังคมที่ใช้บ่อยสุดในการเปรียบเทียบในประเทศต่าง ๆ ได้แก่ สัมประสิทธิ์จีนี อย่างไรก็ดี ประเทศที่มีสัมประสิทธิ์จีนีเท่ากันแต่มีเศรษฐกิจ และ/หรือ คุณภาพชีวิตต่างกันมากก็ได้ ฉะนั้นจึงต้องนำมาเปรียบเทียบโดยใช้บริบทอื่นประกอบด้วย

ภาพรวม

ความเหลื่อมล้ำทางสังคมพบในเกือบทุกสังคม ความเหลื่อมล้ำทางสังคมนั้นเกิดขึ้นจากปัจจัยเชิงโครงสร้างหลายประการ เช่น ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์และสถานภาพพลเมือง และมักมีวจนิพนธ์ทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์มานิยาม เช่น คนจน "สมควร" (สาเหตุเกิดจากคนคนนั้นเอง) หรือ "ไม่สมควร" หรือไม่ ในสังคมเรียบง่าย ผู้ที่มีบทบาทและสถานภาพทางสังคมน้อยกว่าสมาชิกอื่น ความเหลื่อมล้ำทางสังคมอาจมีต่ำมาก ตัวอย่างเช่นในสังคมชนเผ่า หัวหน้าเผ่าอาจมีเอกสิทธิ์บางอย่าง ใช้เครื่องมือบางชนิด หรือสวมสัญลักษณ์ประจำตำแหน่งที่ผู้อื่นห้ามสวม แต่ชีวิตประจำวันของหัวหน้าเผ่านั้นก็แทบไม่ต่างจากสมาชิกเผ่าคนอื่น นักมานุษยวิทยาเรียกวัฒนธรรมที่มีความสมภาคสูงนี้ว่า "เน้นความเป็นญาติ" (kinship-oriented) ซึ่งดูจะให้ค่าแก่ความปรองดองทางสังคมมากกว่าความมั่งคั่งหรือสถานภาพ วัฒนธรรมดังกล่าวแตกต่างจากวัฒนธรรมที่เน้นวัตถุซึ่งมีการให้รางวัลสถานภาพและความมั่งคั่ง ซึ่งมีการแข่งขันและความขัดแย้งเกิดขึ้นทั่วไป นอกจากนี้วัฒนธรรมเน้นความเป็นญาติอาจมุ่งมั่นขัดขวางมิให้เกิดลำดับชั้นทางสังคมเสียด้วยซ้ำ เพราะเชื่อว่าจะนำไปสู่ความขัดแย้งและขาดเสถียรภาพ ในโลกปัจจุบัน ประชากรส่วนใหญ่ของโลกอาศัยอยู่ในสังคมซับซ้อน และยิ่งสังคมมีความซับซ้อนมากขึ้น ความเหลื่อมล้ำก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามช่องว่างระหว่างคนจนสุดและรวยสุดในสังคม

ความเหลื่อมล้ำทางสังคมสามารถจำแนกได้เป็นสังคมสมภาค (egalitarian), สังคมมีชนชั้น (ranked) และสังคมมีการจัดช่วงชั้น (stratified) สังคมสมภาคได้แก่ชุมชนที่ส่งเสริมความเสมอภาคทางสังคมผ่านโอกาสและสิทธิเท่าเทียมกัน ฉะนั้นจึงไม่มีการเลือกปฏิบัติ บุคคลที่มีทักษะพิเศษไม่ถูกมองว่าเหนือกว่าคนที่เหลือ ผู้นำไม่มีอำนาจมีแต่อิทธิพล บรรทัดฐานและความเชื่อของสังคมสมภาคสนับสนุนการแบ่งปันและมีส่วนร่วมอย่างเท่ากัน ถัดมาสังคมมีชนชั้นส่วนใหญ่เป็นชุมชนเกษตรกรรมที่มีการจัดกลุ่มแบบลำดับชั้นจากหัวหน้าซึ่งมองว่ามีสถานภาพในสังคม ในสังคมนี้มีการจัดจำแนกบุคคลตามสถานภาพและเกียรติภูมิ ไม่ใช่ตามการเข้าถึงอำนาจและทรัพยากร หัวหน้าเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลมากที่สุด ตามด้วยครอบครัวและญาติของหัวหน้า และผู้ที่เกี่ยวดองกับเขาลดลงก็มีชนชั้นต่ำลงไปด้วย สังคมมีการจัดช่วงชั้นเป็นสังคมที่จัดบุคคลในแนวดิ่งเป็นชนชั้นสูง ชนชั้นกลางและชนชั้นล่าง การจัดจำแนกนี้คำนึงถึงทั้งความมั่งคั่ง อำนาจและเกียรติภูมิ ชนชั้นสูงส่วนใหญ่เป็นผู้นำและผู้ทรงอิทธิพลมากที่สุดในสังคม ทั้งนี้บุคคลสามารถเลื่อนจากชนชั้นหนึ่งไปอีกชนชั้นหนึ่งได้ และสถานภาพทางสังคมสามารถสืบทอดจากรุ่นหนึ่งไปอีกรุ่นหนึ่งได้

มีความเหลื่อมล้ำทางสังคม 5 ระบบหรือชนิด ได้แก่ ความเหลื่อมล้ำของความมั่งคั่ง ความเหลื่อมล้ำของการปฏิับติและความรับผิดชอบ ความเหลื่อมล้ำทางการเมือง ความเหลื่อมล้ำในชีวิต และความเหลื่อมล้ำของสมาชิกภาพ; ความเหลื่อมล้ำทางการเมืองเป็นความแตกต่างที่เเกิดจากความสามารถเข้าถึงทรัพยากรภาครัฐ จึงไม่มีความเสมอภาคของพลเมือง สำหรับความแตกต่างทางการปฏิบัติและความรับผิดชอบ บุคคลบางกลุ่มได้รับประโยชน์มากกว่าและได้เเอกสิทธิ์เร็วกว่าคนอื่น ในสถานีงาน บางกลุ่มมีความรับผิดชอบมากกว่า จึงได้รับค่าตอบแทนมากกว่าและผลประโยชน์ดีกว่ากลุ่มที่เหลือแม้มีคุณวุฒิเท่ากัน; ความเหลื่อมล้ำของสมาชิกภาพคือจำนวนสมาชิกในครอบครัว ชาติหรือศาสนา ความเหลื่อมล้ำของชีวิตเกิดจากความไม่เสมอภาคของโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนคนนั้น สุดท้ายความเหลื่อมล้ำของรายได้และความมั่งคั่งนั้นเกิดจากมีรายได้รวมไม่เท่ากัน

ตัวอย่างสำคัญของความเหลื่อมล้ำทางงสังคม ได้แก่ ช่องว่างของรายได้ ความเหลื่อมล้ำทางเพศ สาธารณสุขและชนชั้นทางสังคม ในด้านสาธารณสุข บุคคลบางกลุ่มได้รับการรักษาดีกว่าและเป็นวิชาชีพมากกว่ากลุ่มอื่น ความแตกต่างของชนชั้นทางสังคมยังประจักษ์ชัดในระหว่างการชุมนุมสาธารณะโดยที่ชนชั้นสูงได้รับที่นั่งดีที่สุด รวมทั้งการได้รับการต้อนรับและได้รับจัดลำดับความสำคัญก่อน

สถานภาพในสังคมมี 2 ประเภท แบ่งเป็นลักษณะที่ติดตัวมาแต่กำเนิด (ascribed) และลักษณะที่หามาได้ภายหลัง (achieved) ลักษณะที่ติดตัวมาแต่กำเนิดคือเกิดมาพร้อมกับมีลักษณะนั้น หรือได้รับกำหนดจากผู้อื่นซึ่งบุคลนั้นควบคุมแทบไม่ได้โดยสิ้นเชิง ตัวอย่างเช่น เพศ สีผิว รูปทรงตา สถานที่เกิด เพศสภาพ อัตลักษณ์ทางเพศ บิดามารดาและสถานภาพทางสังคมของบิดามารดา ลักษณะที่หามาได้ภายหลัง ได้แก่ ลักษณะที่บุคคลประสบความสำเร็จหรือเลือกเอง เช่น ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สถานะความเป็นผู้นำ และการชี้วัดคุณธรรมอย่างอื่น ในบางสังคม สถานภาพทางสังคมเกิดจากปัจจัยติดตัวมาแต่กำเนิดและที่หามาได้ภายหลังผสมกัน อย่างไรก็ดี ในบางสังคมคำนึงเฉพาะปัจจัยที่ติดตัวมาแต่กำเนิดในการตัดสินสถานภาพทางสังคมของบุคคล ฉะนั้นจึงมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคมน้อยถึงไม่มีเลย และช่องทางให้เกิดความเสมอภาคทางสังคมน้อยตามไปด้วย ความเหลื่อมล้ำทางสังคมประเภทนี้ทั่วไปเรียก ความเหลื่อมล้ำทางวรรณะ (caste)

ที่ทางทางสังคมของบุคคลในโครงสร้างภาพรวมของสังคมชนิดที่มีการจัดช่วงชั้นเป็นเหตุและผลของแทบทุกแง่มุมชีวิตสังคมและโอกาสในชีวิตของบุคคล ตัวชี้วัดดีที่สุดเลือกมาตัวเดียวที่บอกสถานภาพทางสังคมในอนาคตของบุคคล คือ สถานภาพทางสังคมที่เขาผู้นั้นเกิดมา แนวทางเข้าสู่ทางทฤษฎีที่อธิบายความเหลื่อมล้ำทางสังคมมุ่งสนใจปัญหาว่าการจำแนกทางสังคมเกิดขึ้นมาได้อย่างไร และมีการจัดสรรทรัพยากรประเภทใด (ตัวอย่างเช่น ปริมาณสำรองหรือทรัพยากร) บทบาทของความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษย์ในการจัดสรรของทรัพยากรคืออะไร และความเหลื่อมล้ำประเภทและแบบต่าง ๆ มีผลต่อการทำหน้าที่โดยรวมของสังคมอย่างไร

ตัวแปรที่พิจารณาว่ามีความสำคัญสูงสุดในการอธิบายความเหลื่อมล้ำและรูปแบบที่ตัวแปรเหล่านั้นประกอบกันให้เกิดความเหลื่อมล้ำและผลลัพธ์ทางสังคมในสังคมหนึ่ง ๆ นั้นเปลี่ยนแปลงได้ตามกาละเทศะ นอกเหนือไปจากความสนใจในการเปรียบเทียบและหาความแตกต่างของความเหลื่อมล้ำทางสังคมในระดับท้องถิ่นและรดับชาติ ในห้วงกระบวนการโลกาภิวัฒน์สมัยใหม่ ก่อให้เกิดคำถามน่าสนใจว่า ความเหลื่อมล้ำในระดับโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร และความเหลื่อมล้ำระดับโลกเช่นนั้นจะเป็นอย่างไรในอนาคต ผลของโลกาภิวัฒน์ลดระยะทางของกาละเทศะ ทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระดับโลกซึ่งวัฒนธรรมและสังคม และบทบาททางสังคมซึ่งสามารถเพิ่มความเหลื่อมล้ำระดับโลกให้สูงขึ้น

แผนที่โลกแสดงดัชนีการพัฒนามนุษย์ที่ปรับตามความเหลื่อมล้ำแล้ว (inequality-adjusted HDI) ในปี 2014 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดการพัฒนามนุษย์สำหรับบุคคลเฉลี่ยในสังคม
สัดส่วนการถือครองความมั่งคั่ง (สีแดง) แบ่งตามกลุ่มความมั่งคั่ง (สีน้ำเงิน) ข้อมูลจากเครดิตสวิส ปี 2017

เชิงอรรถ

  1. "Merit" ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสามารถ ความพยายามและความสำเร็จ เช่น มีการศึกษาสูง อาชีพการงานดี ประสบความสำเร็จในอาชีพการงาน เป็นต้น
  2. เป็นการวัดการกระจุกตัวของความมั่งคั่งและรายได้ในประเทศเป็นค่าระหว่าง 0 (กระจายเท่ากันหมด) ถึง 1 (กระจุกอยู่ที่คนคนเดียว)

อ้างอิง

  1. Caves, R. W. (2004). Encyclopedia of the City. Routledge. ISBN 9780415252256.
  2. Wade, Robert H. (2014). "The Piketty phenomenon and the future of inequality" (PDF). Real World Economics Review (69–7): 2–17. สืบค้นเมื่อ 26 June 2017.
  3. Rugaber, Christopher S.; Boak, Josh (27 January 2014). "Wealth gap: A guide to what it is, why it matters". AP News. สืบค้นเมื่อ 27 January 2014.
  4. "Reports | Human Development Reports". hdr.undp.org. สืบค้นเมื่อ 1 February 2017.
  5. Walker, Dr. Charles. . www.ceelbas.ac.uk. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2018-01-21. สืบค้นเมื่อ 22 September 2015.
  6. Deji, Olanike F. (2011). Gender and Rural Development. London: LIT Verlag Münster. p. 93. ISBN 978-3643901033.
  7. Osberg, L. (2015). Economic inequality in the United States. Routledge.
  8. Sernau, Scott (2013). Social Inequality in a Global Age (4th edition). Thousand Oaks, CA: Sage. ISBN 978-1452205403.
  9. Neckerman, Kathryn M. & Florencia Torche (2007). "Inequality: Causes and Consequences". Annual Review of Sociology. 33: 335–357. doi:10.1146/annurev.soc.33.040406.131755. JSTOR 29737766.
  10. Cullati, Stéphane; Kliegel, Matthias; Widmer, Eric (2018-07-30). "Development of reserves over the life course and onset of vulnerability in later life". Nature Human Behaviour. 2 (8): 551–558. doi:10.1038/s41562-018-0395-3. ISSN 2397-3374. PMID 31209322.

บทอ่านเพิ่มเติม

  • Abel, T (2008). "Cultural capital and social inequality in health". Journal of Epidemiology and Community Health. 62 (7): e13. doi:10.1136/jech.2007.066159. PMID 18572429.
  • Acker, Joan (1990). "Hierarchies, jobs, bodies: a theory of gendered organizations". Gender and Society. 4 (2): 139–58. CiteSeerX 10.1.1.693.1964. doi:10.1177/089124390004002002.
  • Bourdieu, Pierre. 1996.The State Nobility: Elite Schools in the Field of Power, translated by Lauretta C. Clough. Stanford: Stanford University Press.
  • Breman, Jan et al. (2019). The Social Question in the Twenty-First Century: A Global View. California: University of California Press. ISBN 0520302400.
  • Brennan, S (2009). "Feminist Ethics and Everyday Inequalities". Hypatia. 24 (1): 141–159. doi:10.1111/j.1527-2001.2009.00011.x.
  • Brenner, N (2010). "Variegated neoliberalization: geographies, modalities, pathways". Global Networks. 10 (2): 182–222. doi:10.1111/j.1471-0374.2009.00277.x.
  • Claudine, Burton-Jeangros; และคณะ (2016). "Cervical cancer screening in Switzerland: cross-sectional trends (1992-2012) in social inequalities". European Journal of Public Health. 27 (1): 167–173. doi:10.1093/eurpub/ckw113. PMC 5421499. PMID 28177486.
  • Coburn, D (2004). "Beyond the income inequality hypothesis: class, neo-liberalism, and health inequalities". Social Science & Medicine. 58 (1): 41–56. doi:10.1016/s0277-9536(03)00159-x. PMID 14572920.
  • Esping-Andersen, Gosta. 1999. "The Three Worlds of Welfare Capitalism." In The Welfare State Reader edited by Christopher Pierson and Francis G. Castles. Polity Press.
  • Frankfurt, H (1987). "Equality as a Moral Ideal". Ethics. 98 (1): 21–43. doi:10.1086/292913.
  • Cruz, Adrienne and Sabine Klinger (2011). Gender-based violence in the world of work International Labour Organization
  • Goldthorpe, J. H. (2010). "Analysing Social Inequality: A Critique of Two Recent Contributions from Economics and Epidemiology". European Sociological Review. 26 (6): 731–744. doi:10.1093/esr/jcp046.
  • Hickel, Jason (2018). The Divide: Global Inequality from Conquest to Free Markets. W. W. Norton & Company. ISBN 978-0393651362.
  • Irving, D (2008). "Normalized transgressions: Legitimizing the transsexual body as productive". Radical History Review. 2008 (100): 38–59. doi:10.1215/01636545-2007-021.
  • Jin, Y.; Li, H.; และคณะ (2011). "Income inequality, consumption, and social-status seeking". Journal of Comparative Economics. 39 (2): 191–204. doi:10.1016/j.jce.2010.12.004.
  • Lazzarato, M (2009). "Neoliberalism in Action: Inequality, Insecurity and the Reconstitution of the Social". Theory, Culture & Society. 26 (6): 109–133. doi:10.1177/0263276409350283.
  • Mandel, Hadas (2012). "Winners and Losers: The Consequences of Welfare State Policies for Gender Wage Inequality". European Sociological Review. 28 (2): 241–262. doi:10.1093/esr/jcq061. hdl:10419/95563.
  • Ortiz, Isabel & Matthew Cummins. 2011. Global Inequality: Beyond the Bottom Billion – A Rapid Review of Income Distribution in 141 Countries. United Nations Children's Fund (UNICEF), New York.
  • Pakulski, J.; Waters, M. (1996). "The Reshaping and Dissolution of Social Class in Advanced Society". Theory and Society. 25 (5): 667–691. doi:10.1007/bf00188101.
  • Piketty, Thomas (2014). Capital in the Twenty-First Century. Belknap Press.
  • Scheidel, Walter (2017). The Great Leveler: Violence and the History of Inequality from the Stone Age to the Twenty-First Century. Princeton University Press. ISBN 978-0691165028.
  • Sernau, Scott (2013). Social Inequality in a Global Age (4th edition). Thousand Oaks, CA: Sage.
  • Stanley, E. A. 2011. "Fugitive flesh: Gender self-determination, queer abolition, and trans resistance." In E. A. Stanley & N. Smith (Eds.), Captive genders: Trans embodiment and the prison industrial complex (pp. 1–14). Edinburgh, UK: AK Press.
  • Stiglitz, Joseph. 2012. The Price of Inequality. New York: Norton.
  • United Nations (UN) Inequality-adjusted Human Development Report (IHDR) 2013. United Nations Development Programme (UNDP).
  • Weber, Max. 1946. "Power." In Max Weber: Essays in Sociology. Translated and Edited by H.H. Gerth and C. Wright Mills. New York: Oxford University Press.
  • Weeden, K. A.; Grusky, D. B. (2012). "The Three Worlds of Inequality". American Journal of Sociology. 117 (6): 1723–1785. doi:10.1086/665035.
  • Wilkinson, Richard; Pickett, Kate (2009). The Spirit Level: Why More Equal Societies Almost Always Do Better. Allen Lane. ISBN 978-1-84614-039-6.
  • Wright, E. O. (2000). "Working-Class Power, Capitalist-Class Interests, and Class Compromise". American Journal of Sociology. 105 (4): 957–1002. doi:10.1086/210397.

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิคำคมภาษาอังกฤษ มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ: ความเหลื่อมล้ำทางสังคม
  • Inequality watch

ความเหล, อมล, ำทางส, งคม, เก, ดข, นเม, อทร, พยากรในส, งคมม, การกระจายอย, างไม, เสมอภาค, งก, อให, เก, ดแบบร, ปจำเพาะตามแนวจำพวกของบ, คคลท, ยามทางส, งคม, การเข, าถ, งส, นค, าส, งคมในส, งคมน, นม, ความแตกต, างก, นเป, นลำด, บม, สาเหต, จากอำนาจ, ศาสนา, เคร, อญาต, เก. khwamehluxmlathangsngkhmekidkhunemuxthrphyakrinsngkhmmikarkracayxyangimesmxphakh sungkxihekidaebbrupcaephaatamaenwcaphwkkhxngbukhkhlthiniyamthangsngkhm karekhathungsinkhasngkhminsngkhmnnmikhwamaetktangknepnladbmisaehtucakxanac sasna ekhruxyati ekiyrtiphumi echuxchati chatiphnthu ephs xayu rsniymthangephsaelachnchn khwamehluxmlapktisxkhwamhmaythungkhwamimesmxphakhkhxngphllphth aetxacsrupxikxyanghnungidwaepnkhwamimesmxphakhinkarekhathungoxkas 1 siththithangsngkhm prakxbdwytladaerngngan bxekidkhxngrayid brikarsatharnsukh esriphaphinkarphud karsuksa karmiphuaethnthangkaremuxng aelakarmiswnrwmthangkaremuxng 2 khwamehluxmlathangsngkhmnimikhwamechuxmoyngkbkhwamehluxmlathangesrsthkic pktixthibaybnphunthankhxngkarkracayrayidhruxkhwammngkhngxyangimesmxphakh aelaepnkhwamehluxmlathangsngkhmchnidthimikarsuksaxyubxykhrng thungaemsakhawichaesrsthsastraelasngkhmwithyaodythwipichaenwthangekhasuthangthvsditangknephuxphicarnaaelaxthibaykhwamehluxmlathangesrsthkic aetthngsxngwichakwicykhwamehluxmlaniehmuxnkn xyangirkdithrphyakrsngkhmaelathrrmchatikmikarkracayxyangimethaethiyminsngkhmswnihynxkehnuxipcakthrphyakrthangesrsthkic aelaxacchwysngesrimsthanphaphthangsngkhmkhxngbukhkhl brrthdthankhxngkarcdsrryngmiphltxkarkracaysiththiaelaexksiththi xanacthangsngkhm karekhathungsinkhasatharna echn karsuksahruxrabbtulakar karekhhathiephiyngphx karkhnsng ekhrditaelabrikarthangkarengin echn karthnakhar tlxdcnsinkhaaelabrikarthangsngkhmxunhxkhxyhrutngtrahnganxyuehnuxyankhncninkrungwilnixus praethslithweniy hlaysngkhmthwolktangxwdxangwatnepnkhunthrrmniym hmaykhwamwa karkracaythrphyakrinsngkhmxyubnphunthankhxngkhunthrrmhruxkhwamdi merit a aemwakhunthrrmnicamiphlxyubanginbangsngkhm aetnganwicyaesdngwakarkracaythrphyakrinsngkhmmkepniptamkaraebngpraephththangsngkhmaebbmiladbchncnimxaceriyksngkhmehlannwa khunthrrmniym id dwyehtuthibukhkhlthimistipyya khwamsamarthhruxkhunthrrmepnphiessktamyngimxacchdechykarthukexaepriybthangsngkhmthiekhaehlannephchiy inhlaykrni khwamehluxmlathangsngkhmechuxmoyngkbkhwamehluxmlathangechuxchati chatiphnthuaelaephs tlxdcnsthanphaphthangsngkhm sungthnghmdthiklawmanixacekiywkhxngkbkarchxrasdrbnghlwng 3 twchiwdkhwamehluxmlathangsngkhmthiichbxysudinkarepriybethiybinpraethstang idaek smprasiththicini b xyangirkdi praethsthimismprasiththiciniethaknaetmiesrsthkic aela hrux khunphaphchiwittangknmakkid channcungtxngnamaepriybethiybodyichbribthxunprakxbdwy 4 enuxha 1 phaphrwm 2 echingxrrth 3 xangxing 4 bthxanephimetim 5 aehlngkhxmulxunphaphrwm aekikhkhwamehluxmlathangsngkhmphbinekuxbthuksngkhm khwamehluxmlathangsngkhmnnekidkhuncakpccyechingokhrngsranghlayprakar echn thitngthangphumisastraelasthanphaphphlemuxng aelamkmiwcniphnththangwthnthrrmaelaxtlksnmaniyam echn khncn smkhwr saehtuekidcakkhnkhnnnexng hrux imsmkhwr hruxim 5 insngkhmeriybngay phuthimibthbathaelasthanphaphthangsngkhmnxykwasmachikxun khwamehluxmlathangsngkhmxacmitamak twxyangechninsngkhmchnepha hwhnaephaxacmiexksiththibangxyang ichekhruxngmuxbangchnid hruxswmsylksnpracataaehnngthiphuxunhamswm aetchiwitpracawnkhxnghwhnaephannkaethbimtangcaksmachikephakhnxun nkmanusywithyaeriykwthnthrrmthimikhwamsmphakhsungniwa ennkhwamepnyati kinship oriented sungducaihkhaaekkhwamprxngdxngthangsngkhmmakkwakhwammngkhnghruxsthanphaph wthnthrrmdngklawaetktangcakwthnthrrmthiennwtthusungmikarihrangwlsthanphaphaelakhwammngkhng sungmikaraekhngkhnaelakhwamkhdaeyngekidkhunthwip nxkcakniwthnthrrmennkhwamepnyatixacmungmnkhdkhwangmiihekidladbchnthangsngkhmesiydwysa ephraaechuxwacanaipsukhwamkhdaeyngaelakhadesthiyrphaph 6 inolkpccubn prachakrswnihykhxngolkxasyxyuinsngkhmsbsxn aelayingsngkhmmikhwamsbsxnmakkhun khwamehluxmlakmiaenwonmephimkhuntamchxngwangrahwangkhncnsudaelarwysudinsngkhm 3 khwamehluxmlathangsngkhmsamarthcaaenkidepnsngkhmsmphakh egalitarian sngkhmmichnchn ranked aelasngkhmmikarcdchwngchn stratified 7 sngkhmsmphakhidaekchumchnthisngesrimkhwamesmxphakhthangsngkhmphanoxkasaelasiththiethaethiymkn channcungimmikareluxkptibti bukhkhlthimithksaphiessimthukmxngwaehnuxkwakhnthiehlux phunaimmixanacmiaetxiththiphl brrthdthanaelakhwamechuxkhxngsngkhmsmphakhsnbsnunkaraebngpnaelamiswnrwmxyangethakn thdmasngkhmmichnchnswnihyepnchumchnekstrkrrmthimikarcdklumaebbladbchncakhwhnasungmxngwamisthanphaphinsngkhm insngkhmnimikarcdcaaenkbukhkhltamsthanphaphaelaekiyrtiphumi imichtamkarekhathungxanacaelathrphyakr hwhnaepnbukhkhlthithrngxiththiphlmakthisud tamdwykhrxbkhrwaelayatikhxnghwhna aelaphuthiekiywdxngkbekhaldlngkmichnchntalngipdwy sngkhmmikarcdchwngchnepnsngkhmthicdbukhkhlinaenwdingepnchnchnsung chnchnklangaelachnchnlang karcdcaaenknikhanungthungthngkhwammngkhng xanacaelaekiyrtiphumi chnchnsungswnihyepnphunaaelaphuthrngxiththiphlmakthisudinsngkhm thngnibukhkhlsamartheluxncakchnchnhnungipxikchnchnhnungid aelasthanphaphthangsngkhmsamarthsubthxdcakrunhnungipxikrunhnungid 2 mikhwamehluxmlathangsngkhm 5 rabbhruxchnid idaek khwamehluxmlakhxngkhwammngkhng khwamehluxmlakhxngkarptibtiaelakhwamrbphidchxb khwamehluxmlathangkaremuxng khwamehluxmlainchiwit aelakhwamehluxmlakhxngsmachikphaph khwamehluxmlathangkaremuxngepnkhwamaetktangthieekidcakkhwamsamarthekhathungthrphyakrphakhrth cungimmikhwamesmxphakhkhxngphlemuxng sahrbkhwamaetktangthangkarptibtiaelakhwamrbphidchxb bukhkhlbangklumidrbpraoychnmakkwaaelaideexksiththierwkwakhnxun insthaningan bangklummikhwamrbphidchxbmakkwa cungidrbkhatxbaethnmakkwaaelaphlpraoychndikwaklumthiehluxaemmikhunwuthiethakn khwamehluxmlakhxngsmachikphaphkhuxcanwnsmachikinkhrxbkhrw chatihruxsasna khwamehluxmlakhxngchiwitekidcakkhwamimesmxphakhkhxngoxkasinkarphthnakhunphaphchiwitkhxngkhnkhnnn sudthaykhwamehluxmlakhxngrayidaelakhwammngkhngnnekidcakmirayidrwmimethakn 7 twxyangsakhykhxngkhwamehluxmlathangngsngkhm idaek chxngwangkhxngrayid khwamehluxmlathangephs satharnsukhaelachnchnthangsngkhm indansatharnsukh bukhkhlbangklumidrbkarrksadikwaaelaepnwichachiphmakkwaklumxun khwamaetktangkhxngchnchnthangsngkhmyngprackschdinrahwangkarchumnumsatharnaodythichnchnsungidrbthinngdithisud rwmthngkaridrbkartxnrbaelaidrbcdladbkhwamsakhykxn 7 sthanphaphinsngkhmmi 2 praephth aebngepnlksnathitidtwmaaetkaenid ascribed aelalksnathihamaidphayhlng achieved lksnathitidtwmaaetkaenidkhuxekidmaphrxmkbmilksnann hruxidrbkahndcakphuxunsungbukhlnnkhwbkhumaethbimidodysineching twxyangechn ephs siphiw rupthrngta sthanthiekid ephssphaph xtlksnthangephs bidamardaaelasthanphaphthangsngkhmkhxngbidamarda lksnathihamaidphayhlng idaek lksnathibukhkhlprasbkhwamsaerchruxeluxkexng echn radbkarsuksa sthanphaphsmrs sthanakhwamepnphuna aelakarchiwdkhunthrrmxyangxun inbangsngkhm sthanphaphthangsngkhmekidcakpccytidtwmaaetkaenidaelathihamaidphayhlngphsmkn xyangirkdi inbangsngkhmkhanungechphaapccythitidtwmaaetkaenidinkartdsinsthanphaphthangsngkhmkhxngbukhkhl channcungmikarepliynaeplngsthanphaphthangsngkhmnxythungimmiely aelachxngthangihekidkhwamesmxphakhthangsngkhmnxytamipdwy 8 khwamehluxmlathangsngkhmpraephthnithwiperiyk khwamehluxmlathangwrrna caste thithangthangsngkhmkhxngbukhkhlinokhrngsrangphaphrwmkhxngsngkhmchnidthimikarcdchwngchnepnehtuaelaphlkhxngaethbthukaengmumchiwitsngkhmaelaoxkasinchiwitkhxngbukhkhl 9 twchiwddithisudeluxkmatwediywthibxksthanphaphthangsngkhminxnakhtkhxngbukhkhl khux sthanphaphthangsngkhmthiekhaphunnekidma aenwthangekhasuthangthvsdithixthibaykhwamehluxmlathangsngkhmmungsnicpyhawakarcaaenkthangsngkhmekidkhunmaidxyangir aelamikarcdsrrthrphyakrpraephthid twxyangechn primansarxnghruxthrphyakr 10 bthbathkhxngkhwamrwmmuxaelakhwamkhdaeyngkhxngmnusyinkarcdsrrkhxngthrphyakrkhuxxair aelakhwamehluxmlapraephthaelaaebbtang miphltxkarthahnathiodyrwmkhxngsngkhmxyangirtwaeprthiphicarnawamikhwamsakhysungsudinkarxthibaykhwamehluxmlaaelarupaebbthitwaeprehlannprakxbknihekidkhwamehluxmlaaelaphllphththangsngkhminsngkhmhnung nnepliynaeplngidtamkalaethsa nxkehnuxipcakkhwamsnicinkarepriybethiybaelahakhwamaetktangkhxngkhwamehluxmlathangsngkhminradbthxngthinaelardbchati inhwngkrabwnkarolkaphiwthnsmyihm kxihekidkhathamnasnicwa khwamehluxmlainradbolkmilksnaepnxyangir aelakhwamehluxmlaradbolkechnnncaepnxyangirinxnakht phlkhxngolkaphiwthnldrayathangkhxngkalaethsa thaihekidptismphnthradbolksungwthnthrrmaelasngkhm aelabthbaththangsngkhmsungsamarthephimkhwamehluxmlaradbolkihsungkhun 8 aephnthiolkaesdngdchnikarphthnamnusythiprbtamkhwamehluxmlaaelw inequality adjusted HDI inpi 2014 sungepntwchiwdkarphthnamnusysahrbbukhkhlechliyinsngkhm sdswnkarthuxkhrxngkhwammngkhng siaedng aebngtamklumkhwammngkhng sinaengin khxmulcakekhrditswis pi 2017echingxrrth aekikh Merit tngxyubnphunthankhxngkhwamsamarth khwamphyayamaelakhwamsaerc echn mikarsuksasung xachiphkarngandi prasbkhwamsaercinxachiphkarngan epntn epnkarwdkarkracuktwkhxngkhwammngkhngaelarayidinpraethsepnkharahwang 0 kracayethaknhmd thung 1 kracukxyuthikhnkhnediyw xangxing aekikh Caves R W 2004 Encyclopedia of the City Routledge ISBN 9780415252256 2 0 2 1 Wade Robert H 2014 The Piketty phenomenon and the future of inequality PDF Real World Economics Review 69 7 2 17 subkhnemux 26 June 2017 3 0 3 1 Rugaber Christopher S Boak Josh 27 January 2014 Wealth gap A guide to what it is why it matters AP News subkhnemux 27 January 2014 Reports Human Development Reports hdr undp org subkhnemux 1 February 2017 Walker Dr Charles New Dimensions of Social Inequality www ceelbas ac uk khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2018 01 21 subkhnemux 22 September 2015 Deji Olanike F 2011 Gender and Rural Development London LIT Verlag Munster p 93 ISBN 978 3643901033 7 0 7 1 7 2 Osberg L 2015 Economic inequality in the United States Routledge 8 0 8 1 Sernau Scott 2013 Social Inequality in a Global Age 4th edition Thousand Oaks CA Sage ISBN 978 1452205403 Neckerman Kathryn M amp Florencia Torche 2007 Inequality Causes and Consequences Annual Review of Sociology 33 335 357 doi 10 1146 annurev soc 33 040406 131755 JSTOR 29737766 Cullati Stephane Kliegel Matthias Widmer Eric 2018 07 30 Development of reserves over the life course and onset of vulnerability in later life Nature Human Behaviour 2 8 551 558 doi 10 1038 s41562 018 0395 3 ISSN 2397 3374 PMID 31209322 bthxanephimetim aekikhAbel T 2008 Cultural capital and social inequality in health Journal of Epidemiology and Community Health 62 7 e13 doi 10 1136 jech 2007 066159 PMID 18572429 Acker Joan 1990 Hierarchies jobs bodies a theory of gendered organizations Gender and Society 4 2 139 58 CiteSeerX 10 1 1 693 1964 doi 10 1177 089124390004002002 Bourdieu Pierre 1996 The State Nobility Elite Schools in the Field of Power translated by Lauretta C Clough Stanford Stanford University Press Breman Jan et al 2019 The Social Question in the Twenty First Century A Global View California University of California Press ISBN 0520302400 Brennan S 2009 Feminist Ethics and Everyday Inequalities Hypatia 24 1 141 159 doi 10 1111 j 1527 2001 2009 00011 x Brenner N 2010 Variegated neoliberalization geographies modalities pathways Global Networks 10 2 182 222 doi 10 1111 j 1471 0374 2009 00277 x Claudine Burton Jeangros aelakhna 2016 Cervical cancer screening in Switzerland cross sectional trends 1992 2012 in social inequalities European Journal of Public Health 27 1 167 173 doi 10 1093 eurpub ckw113 PMC 5421499 PMID 28177486 Coburn D 2004 Beyond the income inequality hypothesis class neo liberalism and health inequalities Social Science amp Medicine 58 1 41 56 doi 10 1016 s0277 9536 03 00159 x PMID 14572920 Esping Andersen Gosta 1999 The Three Worlds of Welfare Capitalism In The Welfare State Reader edited by Christopher Pierson and Francis G Castles Polity Press Frankfurt H 1987 Equality as a Moral Ideal Ethics 98 1 21 43 doi 10 1086 292913 Cruz Adrienne and Sabine Klinger 2011 Gender based violence in the world of work International Labour Organization Goldthorpe J H 2010 Analysing Social Inequality A Critique of Two Recent Contributions from Economics and Epidemiology European Sociological Review 26 6 731 744 doi 10 1093 esr jcp046 Hickel Jason 2018 The Divide Global Inequality from Conquest to Free Markets W W Norton amp Company ISBN 978 0393651362 Irving D 2008 Normalized transgressions Legitimizing the transsexual body as productive Radical History Review 2008 100 38 59 doi 10 1215 01636545 2007 021 Jin Y Li H aelakhna 2011 Income inequality consumption and social status seeking Journal of Comparative Economics 39 2 191 204 doi 10 1016 j jce 2010 12 004 Lazzarato M 2009 Neoliberalism in Action Inequality Insecurity and the Reconstitution of the Social Theory Culture amp Society 26 6 109 133 doi 10 1177 0263276409350283 Mandel Hadas 2012 Winners and Losers The Consequences of Welfare State Policies for Gender Wage Inequality European Sociological Review 28 2 241 262 doi 10 1093 esr jcq061 hdl 10419 95563 Ortiz Isabel amp Matthew Cummins 2011 Global Inequality Beyond the Bottom Billion A Rapid Review of Income Distribution in 141 Countries United Nations Children s Fund UNICEF New York Pakulski J Waters M 1996 The Reshaping and Dissolution of Social Class in Advanced Society Theory and Society 25 5 667 691 doi 10 1007 bf00188101 Piketty Thomas 2014 Capital in the Twenty First Century Belknap Press Scheidel Walter 2017 The Great Leveler Violence and the History of Inequality from the Stone Age to the Twenty First Century Princeton University Press ISBN 978 0691165028 Sernau Scott 2013 Social Inequality in a Global Age 4th edition Thousand Oaks CA Sage Stanley E A 2011 Fugitive flesh Gender self determination queer abolition and trans resistance In E A Stanley amp N Smith Eds Captive genders Trans embodiment and the prison industrial complex pp 1 14 Edinburgh UK AK Press Stiglitz Joseph 2012 The Price of Inequality New York Norton United Nations UN Inequality adjusted Human Development Report IHDR 2013 United Nations Development Programme UNDP Weber Max 1946 Power In Max Weber Essays in Sociology Translated and Edited by H H Gerth and C Wright Mills New York Oxford University Press Weeden K A Grusky D B 2012 The Three Worlds of Inequality American Journal of Sociology 117 6 1723 1785 doi 10 1086 665035 Wilkinson Richard Pickett Kate 2009 The Spirit Level Why More Equal Societies Almost Always Do Better Allen Lane ISBN 978 1 84614 039 6 Wright E O 2000 Working Class Power Capitalist Class Interests and Class Compromise American Journal of Sociology 105 4 957 1002 doi 10 1086 210397 aehlngkhxmulxun aekikh wikikhakhmphasaxngkvs mikhakhmthiklawody hruxekiywkb khwamehluxmlathangsngkhm Inequality watchekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamehluxmlathangsngkhm amp oldid 9561764, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม