fbpx
วิกิพีเดีย

จิรันดร ยูวะนิยม

จิรันดร ยูวะนิยม (14 ธันวาคม 2511 - ) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาชีวเคมี ประจำปี พ.ศ. 2546 มีความสนใจและได้ทำวิจัยเกี่ยวกับโครงสร้างสามมิติของโปรตีน การศึกษาเทคนิคการหาโครงสร้างสามมิติโดยอาศัยการหักเหรังสีเอกซ์ของผลึกตัวอย่าง (X-ray crystallography) การประยุกต์ความรู้ทางโครงสร้างของโปรตีนเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เป็นบุตรคนแรกในจำนวนสามคน ของนายกรุงศรี และนางภาคินี ยูวะนิยม สมรสกับนางฉันธนา (ลาภศิริวงศ์) ยูวะนิยม มีบุตรหนึ่งคนคือ นายวริทธิ์ ยูวะนิยม

ประวัติการศึกษา

จิรันดร ยูวะนิยม หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.จิรันดร ยูวะนิยม สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนประถมและมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ระดับปริญญาตรีสาขาเคมี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และระดับปริญญาเอก สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน (Ann arbor) ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยได้รับทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ศึกษาต่อเนื่องตั้งแต่ระดับมัธยมปลาย จนจบการศึกษาระดับปริญญาเอก เมื่อปี พ.ศ. 2540

ระหว่างการศึกษา ได้รับรางวัลเรียนดีและกิจกรรมดีเด่นต่างๆ มาโดยตลอด ได้รับคัดเลือกไปร่วมกิจกรรม Research Science Institute ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ณ รัฐ New York ได้รับรางวัล ศ.ดร. แถบ นีละนิธิ และ Horace H. Rackham Graduate School Predoctoral Fellowship รวมถึง Dominic D. Dziewiatkowski Outstanding Ph.D. Dissertation Award

ประวัติการทำงาน

เข้ารับราชการในตำแหน่งอาจารย์ ที่ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 ได้รับตำแหน่งรองศาสตราจารย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบัน เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและนักวิจัยประจำหน่วยวิจัยเพื่อความเป็นเลิศโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน (ปัจจุบันคือหน่วยวิจัยเทคโนโลยีโปรตีนและเอนไซม์) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหน่วยวิจัยดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน

ผลงานวิจัย

ดร.จิรันดร ยูวะนิยม มีความสนใจและได้ทำวิจัยเกี่ยวกับโครงสร้างสามมิติของโปรตีนตลอดมา โดยได้ทุนจาก Horace H. Rackham Graduate School ไปศึกษาเทคนิคการหาโครงสร้างสามมิติ โดยอาศัยการหักเหรังสีเอกซ์ของผลึกตัวอย่าง (X-ray crystallography) ณ Cold Spring Harbor Laboratory รัฐ New York และเป็นผู้หาโครงสร้างสามมิติแรกของเอนไซม์ dual-specificity phosphatase ซึ่งมีความสำคัญในการควบคุมการเจริญเติบโตของเซลล์ และเป็นผลงานสำหรับวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Science (เล่มที่ 272 หน้า 1328) ได้รับทุน WHO/TDR Training Grant จากองค์การอนามัยโลก ไปทำวิจัยที่บริษัทยา F. Hoffmann-La Roche ณ เมือง Basel ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ในช่วงปี พ.ศ. 2542-2543 โดยได้ศึกษาโครงสร้างของเอนไซม์พลาสเมปซิน (plasmepsins I and II) ซึ่งเป็นเป้าหมายหนึ่งในการพัฒนายารักษาโรคมาเลเรีย และได้รับทุนวิจัย Target Research Unit Network จาก Thailand-Tropical Diseases Research Programme (TARUN/T-2) เพื่อศึกษาเอนไซม์ในกลุ่มพลาสเมปซินนี้ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

นอกจากนั้น ยังได้ร่วมมือกับกลุ่มวิจัยอื่นๆ ในการศึกษาโครงสร้างสามมิติของโปรตีน ที่ทำหน้าที่ตรวจจับและควบคุมการตอบสนองต่อสาร organic peroxide ในเชื้อแบคทีเรีย การศึกษาโครงสร้างสามมิติของเอนไซม์ไดไฮโฟเลทรีดักเทส-ไธมิดิเลทซินเทส (dihydrofolate reductase-thymidylate synthase) จากเชื้อ Plasmodium falciparum ซึ่งเป็นอีกเป้าหมายหนึ่งในการพัฒนายารักษาโรคมาเลเรีย ซึ่งผลงานวิจัยนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติชั้นนำของโลก Nature Structural Biology (เล่มที่ 10 หน้า 357)

นอกจากนั้น ดร.จิรันดร ยังมีความสนใจในการประยุกต์ความรู้ทางโครงสร้างของโปรตีนเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ การศึกษาการเปลี่ยนความจำเพาะของเอนไซม์โดยวิธีวิศวกรรมโปรตีน และได้ร่วมกับ รศ.ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น รศ.ดร. พลังพล คงเสรี และ ดร. เปรมวดี วงษ์แสงจันทร์ จัดตั้งกลุ่มวิจัยเพื่อความเป็นเลิศโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ศ.ดร.ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ เป็นหัวหน้ากลุ่ม ซึ่งปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็นหน่วยวิจัยเทคโนโลยีโปรตีนและเอนไซม์ เพื่อให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพในระดับสากล และเป็นประโยชน์กับประเทศไทยสืบต่อไป

เกียรติคุณและรางวัล

  • รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาชีวเคมี ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี พ.ศ. 2546
  • รับพระราชทาน รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย ประจำปีการศึกษา 2547

นดร, วะน, ยม, วข, อของช, วประว, อาจไม, านแนวปฏ, ความโดดเด, นท, วไปหร, อบทความบ, คคลกร, ณาช, วยย, นย, นความโดดเด, นของบทความเพ, มแหล, งอ, างอ, งท, ยภ, าเช, อถ, อซ, งไม, วนได, เส, ยก, บห, วข, อน, และรายงานอย, างสำค, ญนอกเหน, อจากการกล, าวถ, งเพ, ยงเล, กน, อย, หา. hwkhxkhxngchiwprawtinixacimphanaenwptibtikhwamoddednthwiphruxbthkhwambukhkhlkrunachwyyunynkhwamoddednkhxngbthkhwamephimaehlngxangxingthutiyphumithinaechuxthuxsungimmiswnidesiykbhwkhxni aelaraynganxyangsakhynxkehnuxcakkarklawthungephiyngelknxy hakimxacyunynkhwamoddednid bthkhwamnimiaenwonmthukrwmkbhruxepliynthangiphnaxun hruxthuklb khaxthibaynoybaybthkhwamwikiphiediycatxngphaneknth 4 khxdngni idrbkhwamsnicxyangkwangkhwangephiyngphx khwamsnicdngklawtxngimichkinewlasn miaehlngkhxmulbukhkhlphaynxkthinaechuxthux reliable independent source aela mi karklawthungxyangsakhy wikiphiediyphasaithymimtiwa calbhwkhxthiimsamarthyunynkhwamoddednkhxngbthkhwamidhlng 6 eduxnhlngtidpay haaehlngkhxmul cirndr yuwaniym khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR phvsphakhm 2021 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir cirndr yuwaniym 14 thnwakhm 2511 ecakhxngrangwlnkwithyasastrrunihm khxngmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyi sakhachiwekhmi pracapi ph s 2546 mikhwamsnicaelaidthawicyekiywkbokhrngsrangsammitikhxngoprtin karsuksaethkhnikhkarhaokhrngsrangsammitiodyxasykarhkehrngsiexkskhxngphluktwxyang X ray crystallography karprayuktkhwamruthangokhrngsrangkhxngoprtinephuxichpraoychnindantang epnbutrkhnaerkincanwnsamkhn khxngnaykrungsri aelanangphakhini yuwaniym smrskbnangchnthna laphsiriwngs yuwaniym mibutrhnungkhnkhux naywriththi yuwaniym enuxha 1 prawtikarsuksa 2 prawtikarthangan 3 phlnganwicy 4 ekiyrtikhunaelarangwlprawtikarsuksa aekikhcirndr yuwaniym hruxthiruckkninnam dr cirndr yuwaniym saerckarsuksaradbprathmsuksaaelamthymsuksatxntn cakorngeriynprathmaelamthymsathitmhawithyalysrinkhrinthrwiorth prasanmitr radbmthymsuksatxnplaythiorngeriynsamesnwithyaly radbpriyyatrisakhaekhmi ekiyrtiniymxndbhnung cakkhnawithyasastr mhawithyalymhidl aelaradbpriyyaexk sakhachiwekhmi cakmhawithyalymichiaekn Ann arbor praethsshrthxemrika odyidrbthunokhrngkarphthnaaelasngesrimphumikhwamsamarthphiessthangwithyasastraelaethkhonolyi phswth suksatxenuxngtngaetradbmthymplay cncbkarsuksaradbpriyyaexk emuxpi ph s 2540rahwangkarsuksa idrbrangwleriyndiaelakickrrmdiedntang maodytlxd idrbkhdeluxkiprwmkickrrm Research Science Institute inradbmthymsuksapithi 6 n rth New York idrbrangwl s dr aethb nilanithi aela Horace H Rackham Graduate School Predoctoral Fellowship rwmthung Dominic D Dziewiatkowski Outstanding Ph D Dissertation Awardprawtikarthangan aekikhekharbrachkarintaaehnngxacary thiphakhwichachiwekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl tngaetpi ph s 2540 idrbtaaehnngrxngsastracarytngaetpi ph s 2551 cnthungpccubn epnhnunginphukxtngaelankwicypracahnwywicyephuxkhwamepnelisokhrngsrangaelakarthangankhxngoprtin pccubnkhuxhnwywicyethkhonolyioprtinaelaexnism khnawithyasastr mhawithyalymhidl aelaidrbaetngtngepnhwhnahnwywicydngklawtngaetpi ph s 2555 cnthungpccubnphlnganwicy aekikhdr cirndr yuwaniym mikhwamsnicaelaidthawicyekiywkbokhrngsrangsammitikhxngoprtintlxdma odyidthuncak Horace H Rackham Graduate School ipsuksaethkhnikhkarhaokhrngsrangsammiti odyxasykarhkehrngsiexkskhxngphluktwxyang X ray crystallography n Cold Spring Harbor Laboratory rth New York aelaepnphuhaokhrngsrangsammitiaerkkhxngexnism dual specificity phosphatase sungmikhwamsakhyinkarkhwbkhumkarecriyetibotkhxngesll aelaepnphlngansahrbwithyaniphnthradbpriyyaexk thiidrbkartiphimphinwarsar Science elmthi 272 hna 1328 idrbthun WHO TDR Training Grant cakxngkhkarxnamyolk ipthawicythibristhya F Hoffmann La Roche n emuxng Basel praethsswisesxraelnd inchwngpi ph s 2542 2543 odyidsuksaokhrngsrangkhxngexnismphlasempsin plasmepsins I and II sungepnepahmayhnunginkarphthnayarksaorkhmaeleriy aelaidrbthunwicy Target Research Unit Network cak Thailand Tropical Diseases Research Programme TARUN T 2 ephuxsuksaexnisminklumphlasempsinnitxenuxngmacnthungpccubnnxkcaknn yngidrwmmuxkbklumwicyxun inkarsuksaokhrngsrangsammitikhxngoprtin thithahnathitrwccbaelakhwbkhumkartxbsnxngtxsar organic peroxide inechuxaebkhthieriy karsuksaokhrngsrangsammitikhxngexnismidihofelthridkeths ithmidielthsineths dihydrofolate reductase thymidylate synthase cakechux Plasmodium falciparum sungepnxikepahmayhnunginkarphthnayarksaorkhmaeleriy sungphlnganwicyniidrbkartiphimphinwarsarradbnanachatichnnakhxngolk Nature Structural Biology elmthi 10 hna 357 nxkcaknn dr cirndr yngmikhwamsnicinkarprayuktkhwamruthangokhrngsrangkhxngoprtinephuxichpraoychnindantang karsuksakarepliynkhwamcaephaakhxngexnismodywithiwiswkrrmoprtin aelaidrwmkb rs dr phimphic iceyn rs dr phlngphl khngesri aela dr eprmwdi wngsaesngcnthr cdtngklumwicyephuxkhwamepnelisokhrngsrangaelakarthangankhxngoprtin n khnawithyasastr mhawithyalymhidl odymi s dr m r w chisnusrr swsdiwtn epnhwhnaklum sungpccubnidepliynchuxepnhnwywicyethkhonolyioprtinaelaexnism ephuxihsamarthsrangsrrkhphlnganwicythimikhunphaphinradbsakl aelaepnpraoychnkbpraethsithysubtxipekiyrtikhunaelarangwl aekikhrangwlnkwithyasastrrunihm sakhachiwekhmi khxngmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyi inphrabrmrachupthmph pracapi ph s 2546 rbphrarachthan rangwlmhawithyalymhidl sakhakarwicy pracapikarsuksa 2547ekhathungcak https th wikipedia org w index php title cirndr yuwaniym amp oldid 9498266, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม