fbpx
วิกิพีเดีย

พิมพ์ใจ ใจเย็น

ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น (เกิด 25 ธันวาคม พ.ศ. 2513) เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาชีวเคมี ประจำปี พ.ศ. 2548 และรางวัล ประจำปี พ.ศ. 2546 จากผลงานการวิจัยศึกษากลไกการทำงานของเอ็นไซม์ เพื่อกำจัดสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม

ประวัติ

ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น หรือที่รู้จักในนาม ศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น เกิดเมื่อ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ที่จังหวัดภูเก็ต เป็นบุตรสาวคนโตของนายอดุลย์ และนางซุ่ยลู้ ใจเย็น มีน้องสาว 1 คน คือ พญ.นัยเนตร ใจเย็น ศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย จากโรงเรียนสตรีภูเก็ต และโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย โดยได้รับทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงปริญญาเอก จบปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) สาขาเคมี จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2535 และปริญญาเอก สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน แอนน์อาร์เบอร์ (University of Michigan, Ann Arbor) ตลอดเวลาที่เรียน ได้รับรางวัลผลการเรียนดีเด่นต่างๆ อยู่เสมอ อาทิ รางวัลพระราชทานนักเรียนเรียนดีในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รางวัลจากมูลนิธิ ดร. แถบ นีละนิธิ ในระดับปริญญาตรี รางวัล Chrisman Award สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกที่มีผลการเรียนผลงานวิจัยดี และรางวัล Murphy Award สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาที่มีผลงานตีพิมพ์ดีเยี่ยม จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน

การทำงาน

ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัยประจำหน่วยวิจัยเพื่อความเป็นเลิศโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกรรมการบริหารชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทย

งานวิจัย

ศ.ดร. พิมพ์ใจ สนใจศึกษาความรู้พื้นฐานในด้านกลไกการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ โดยเฉพาะเอนไซม์ในกลุ่มที่มีสารประกอบประเภทวิตามินนนนนนนสอง (Flavin) เป็นตัวช่วยในการเร่งปฏิกิริยา นอกจากใช้วิธีการทดลองทางด้านชีวเคมีทั่วไปในการศึกษาแล้ว มีการใช้ข้อมูลทางจลนศาสตร์และอุณหพลศาสตร์ ซึ่งได้มาจากการทำการทดลองกับเครื่องมือ stopped-flow spectrometer ควบคู่ไปกับการวัดสมบัติทางด้านสเปคโตรสโกปีชนิดต่างๆ เพื่อเป็นตัวบ่งชี้ถึงกลไกการเกิดปฏิกิริยาด้วย รวมทั้งการศึกษาโครงสร้างทางสามมิติของเอนไซม์ต่างๆ เอนไซม์หลักที่ศึกษา มี 4 กลุ่ม ได้แก่

1. เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยสารประกอบอะโรมาติก ซึ่งทำให้จุลินทรีย์สามารถบำบัดของเสียในสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการทางชีวภาพได้

2. เอนไซม์ลูซิเฟอเรส (luciferase) ที่สามารถเร่งปฏิกิริยาการเรืองแสงจากสิ่งมีชีวิต โดยได้ทำการแยกเอนไซม์ชนิดนี้จากแบคทีเรียเรืองแสงในทะเล

3. เอนไซม์ไพราโนสออกซิเดส (pyranose oxidase) ในการสังเคราะห์สารให้ความหวาน โดยศึกษาถึงข้อมูลเชิงลึกในการเกิดปฏิกิริยา เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้งานเอนไซม์ตัวนี้ในภาคอุตสาหกรรมได้ดีขึ้น

4. เอนไซม์เซอรีนไฮดรอกซีเมททิลทรานสเฟอเรส (serine hydroxymethyl transferase, SHMT) เพื่อการนำไปสู่การพัฒนายาต้านมาลาเรียตัวใหม่ต่อไป

ผลงานวิจัยของ ศ.ดร. พิมพ์ใจ เป็นที่ยอมรับในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก และสามารถตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการชั้นนำได้ เช่น วารสาร Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America (PNAS) , Journal of Biological Chemistry เป็นต้น

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. L'OREAL-UNESCO Fellowhship for Women in Science
  2. [1]
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๕, เล่ม ๑๒๙, ตอน ๓๕ ข , ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕, หน้า ๒
  4. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย


มพ, ใจ, ใจเย, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกบทความน, คล, ายโฆษณาหร, อประชาส, มพ, นธ, เด, ยม, ใช, องทางการส, อสารการตลาดของหน, . bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkbthkhwamnikhlayokhsnahruxprachasmphnth wikiphiediymiichchxngthangkarsuxsarkartladkhxnghnwythurkicid krunaekhiynihmdwymummxngthiepnklang aelanalingkphaynxkthiimekiywkhxngxxksastracary phimphic iceyn ekid 25 thnwakhm ph s 2513 epnnkwithyasastrthiidrbrangwlnkwithyasastrrunihm sakhachiwekhmi pracapi ph s 2548 aelarangwl 1 pracapi ph s 2546 cakphlngankarwicysuksaklikkarthangankhxngexnism ephuxkacdsarphistkkhanginsingaewdlxm enuxha 1 prawti 2 karthangan 3 nganwicy 4 ekhruxngrachxisriyaphrn 5 xangxingprawti aekikhsastracary phimphic iceyn hruxthiruckinnam sastracary dr phimphic iceyn ekidemux 25 thnwakhm ph s 2513 thicnghwdphuekt epnbutrsawkhnotkhxngnayxduly aelanangsuylu iceyn minxngsaw 1 khn khux phy nyentr iceyn sastracary dr phimphic iceyn saerckarsuksaradbmthymtnaelamthymplay cakorngeriynstriphuekt aelaorngeriynhadihywithyaly odyidrbthunokhrngkarphthnaaelasngesrimphumikhwamsamarthphiessthangwithyasastraelaethkhonolyi phswth tngaetradbmthymsuksatxnplaycnthungpriyyaexk cbpriyyatri ekiyrtiniymxndbhnung sakhaekhmi cakmhawithyalysngkhlankhrinthr emuxpi ph s 2535 aelapriyyaexk sakhachiwekhmi cakmhawithyalymichiaekn aexnnxarebxr University of Michigan Ann Arbor tlxdewlathieriyn idrbrangwlphlkareriyndiedntang xyuesmx xathi rangwlphrarachthannkeriyneriyndiinradbmthymsuksatxntn rangwlcakmulnithi dr aethb nilanithi inradbpriyyatri rangwl Chrisman Award sahrbnksuksapriyyaexkthimiphlkareriynphlnganwicydi aelarangwl Murphy Award sahrbphusaerckarsuksathimiphlngantiphimphdieyiym cakmhawithyalymichiaeknkarthangan aekikhpccubnepnsastracarypracaphakhwichachiwekhmi 2 khnawithyasastr mhawithyalymhidl nkwicypracahnwywicyephuxkhwamepnelisokhrngsrangaelakarthangankhxngoprtin khnawithyasastr mhawithyalymhidl aelakrrmkarbriharchmrmwicyoprtinaehngpraethsithynganwicy aekikhs dr phimphic snicsuksakhwamruphunthanindanklikkarekidptikiriyakhxngexnism odyechphaaexnisminklumthimisarprakxbpraephthwitaminnnnnnnsxng Flavin epntwchwyinkarerngptikiriya nxkcakichwithikarthdlxngthangdanchiwekhmithwipinkarsuksaaelw mikarichkhxmulthangclnsastraelaxunhphlsastr sungidmacakkarthakarthdlxngkbekhruxngmux stopped flow spectrometer khwbkhuipkbkarwdsmbtithangdansepkhotrsokpichnidtang ephuxepntwbngchithungklikkarekidptikiriyadwy rwmthngkarsuksaokhrngsrangthangsammitikhxngexnismtang exnismhlkthisuksa mi 4 klum idaek1 exnismthithahnathiyxysarprakxbxaormatik sungthaihculinthriysamarthbabdkhxngesiyinsingaewdlxmdwykrabwnkarthangchiwphaphid2 exnismlusiefxers luciferase thisamartherngptikiriyakareruxngaesngcaksingmichiwit odyidthakaraeykexnismchnidnicakaebkhthieriyeruxngaesnginthael3 exnismiphraonsxxksieds pyranose oxidase inkarsngekhraahsarihkhwamhwan odysuksathungkhxmulechinglukinkarekidptikiriya ephuxnakhwamruthiidipprayuktichnganexnismtwniinphakhxutsahkrrmiddikhun4 exnismesxrinihdrxksiemththilthransefxers serine hydroxymethyl transferase SHMT ephuxkarnaipsukarphthnayatanmalaeriytwihmtxipphlnganwicykhxng s dr phimphic epnthiyxmrbinwngkarwithyasastrradbolk aelasamarthtiphimphlnginwarsarwichakarchnnaid echn warsar Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America PNAS Journal of Biological Chemistry epntnekhruxngrachxisriyaphrn aekikhph s 2555 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnprathmaphrnchangephuxk p ch 3 ph s 2552 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnprathmaphrnmngkudithy p m 4 xangxing aekikh L OREAL UNESCO Fellowhship for Women in Science 1 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy pracapi 2555 elm 129 txn 35 kh 3 thnwakhm ph s 2555 hna 2 prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithyekhathungcak https th wikipedia org w index php title phimphic iceyn amp oldid 9474695, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม