fbpx
วิกิพีเดีย

ดาวเทียมสปุตนิก 1

สปุตนิก 1 (รัสเซีย: Спутник-1 ; IPA: [ˈsputnʲɪk] ; อังกฤษ: Sputnik 1) เป็นดาวเทียมดวงแรกของโลก สหภาพโซเวียต ได้ส่งดาวเทียมสปุตนิกขึ้นสู่วงโคจรโลกในรูปวงรีในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1957 ซึ่งโคจรสามสัปดาห์ก่อนที่แบตเตอรีจะเสียอย่างเงียบ ๆ ก่อนที่จะตกลงสู่ชั้นบรรยากาศในอีกสองเดือนต่อมา สปุตนิก 1 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 58 ซม. (23 นิ้ว) มีเสาอากาศวิทยุภายนอก 4 เสาเพื่อกระจายคลื่นวิทยุ สัญญาณวิทยุสามารถตรวจจับได้โดยนักวิทยุสมัครเล่น และระยะเอียง 65 องศาและระยะเวลาของวงโคจรของมันทำให้เส้นทางการบินครอบคลุมพื้นที่ทั้งโลก ความสำเร็จที่น่าแปลกใจนี้ได้ทำให้เกิดวิกฤติการณ์สปุตนิกในหมู่ชาวอเมริกัน และทำให้การแข่งขันด้านอวกาศเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น การเปิดตัวนี้นำมาซึ่งการพัฒนาด้านการเมือง, การทหาร, เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ

สปุตนิก 1
"Спутник-1"
แบบจำลอง สปุตนิก 1
ประเภทภารกิจการสาธิตเทคโนโลยี
ผู้ดำเนินการสหภาพโซเวียต
Harvard designation1957 Alpha 2
COSPAR ID1957-001B
SATCAT no.00002
ระยะภารกิจ21 วัน
วงโคจรรอบโลก1,440
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตOKB-1, Soviet Ministry of Radiotechnical Industry
มวลขณะส่งยาน83.6 กิโลกรัม
ขนาด58 เซนติเมตร
กำลังไฟฟ้า1 วัตต์
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น4 ตุลาคม ค.ศ. 1957, 19:28:34 UTC (22:28:34 MSK)
จรวดนำส่งR-7 Semyorka
ฐานส่งไบโคนูร์ 1/5
สิ้นสุดภารกิจ
การกำจัดวงโคจรสลาย
ติดต่อครั้งสุดท้าย25 ตุลาคม ค.ศ. 1957
เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ3 มกราคม ค.ศ. 1958
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงโลกเป็นศูนย์กลาง
ระบบวงโคจรวงโคจรต่ำของโลก
กึ่งแกนเอก6,955.2 กิโลเมตร (4,321.8 ไมล์)
ความเยื้อง0.05201
ระยะใกล้สุด6586 กม. จากศูนย์กลาง, 215 กม. (134 ไมล์) จากพื้นผิว
ระยะไกลสุด7310 กม. จากศูนย์กลาง, 939 กม. (583 ไมล์) จากพื้นผิว
อินคลิเนชั่น65.1°
คาบการโคจร96.2 นาที
 

การติดตามและการศึกษาดาวเทียมสปุตนิก 1 จากโลกได้ให้ข้อมูลแก่นักวิทยาศาสตร์ ถึงความหนาแน่นของบรรยากาศชั้นบนซึ่งถูกอนุมานได้จากแรงลากของการเคลื่อนที่ในวงโคจร และการแพร่กระจายของสัญญาณวิทยุจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์

ดาวเทียมสปุตนิก 1 ถูกปล่อยในระหว่างปีสากลแห่งธรณีฟิสิกส์ จากไซต์ №1/5 ที่ the 5th Tyuratam range ในสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (ปัจจุบันคือ ไบโคนูร์คอสโมโดรม) ดาวเทียมเดินทางประมาณ 29,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (18,000 ไมล์ต่อชั่วโมง 8,100 เมตร / วินาที) โดยใช้เวลา 96.2 นาทีในการทำให้ครบรอบวงโคจรเสร็จสมบูรณ์ สปุกนิกส่งคลิ่นที่ 20.005 และ 40.002 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งได้รับการตรวจสอบโดยผู้ให้บริการวิทยุทั่วโลก สัญญาณของสปุกนิกยังคงปรากฏเป็นเวลา 21 วันจนกว่าแบตเตอรีของเครื่องส่งสัญญาณจะหมดลงในวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1957 ดาวเทียมสปุตนิกถูกเผาไหม้ในวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1958 ขณะที่กลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก หลังจากได้โคจรรอบโลกสามเดือนเสร็จสิ้นพร้อมกับโคจรครบรอบวงโคจรทั้งหมด 1440 รอบ และระยะทางเดินทางประมาณ 70 ล้านกิโลเมตร (43 ล้านไมล์)

ลักษณะ

ชื่อ สปุตนิก-1 แปลว่า "ดาวเทียม-1" และชื่อย่อภาษารัสเซียว่า ПС-1 ดาวเทียมดวงนี่มีรูปทรงกลมขนาดเท่าลูกบาสเกตบอล ทำด้วยอะลูมิเนียมหนัก 84 กิโลกรัม ถูกส่งขึ้นวงโคจรด้วยจรวด อาร์-7 จากฐานยิงในทะเลทรายคีซิลคุม ไบโคนูร์คอสโมโดรม คาซัคสถาน เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500

อ้างอิง

  1. Terry 2013, p. 233.
  2. Ralph H. Didlake, KK5PM; Oleg P. Odinets, RA3DNC (28 September 2007). . American Radio Relay League. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 11 October 2007. สืบค้นเมื่อ 26 March 2008.
  3. McDougall, Walter A. (2010). "Shooting The Moon". American Heritage. 59 (4). ISSN 0002-8738. สืบค้นเมื่อ 3 January 2019.
  4. Swenson, et al, p. 71.
  5. Jorden, William J. (5 October 1957). "Soviet Fires Earth Satellite Into Space". The New York Times. New York: The New York Times Co. สืบค้นเมื่อ 28 December 2015.
  6. "Sputnik". vibrationdata.com. สืบค้นเมื่อ 8 March 2008.
  7. Zak, Anatoly (2015). "Sputnik's mission". RussianSpaceWeb.com. จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2013. สืบค้นเมื่อ 27 December 2015.
  8. "Sputnik 1 – NSSDC ID: 1957-001B". NSSDC Master Catalog. NASA.
  9. นิตยสาร เนชั่นแนลจีโอกราฟิก ฉบับภาษาไทย, ตุลาคม 2550, หน้า 102. ISSN 15139840

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ดาวเทียมสปุตนิก 1
  • History of Sputnik 1 at MentalLandscape.com; includes authentic recordings of the satellite signal
  • Documents related to Sputnik 1 and the Space Race at the Dwight D. Eisenhower Presidential Library
  • Satellite One: The story of the first man-made device in space Tass
  • by NASA's Solar System Exploration
  • NASA on Sputnik 1
  • A joint Russian project of Ground microprocessing information systems SRC "PLANETA" and Space Monitoring Information Support laboratory (IKI RAN) dedicated to the 40th anniversary of Sputnik 1

ดาวเท, ยมสป, ตน, สป, ตน, สเซ, Спутник, ˈsputnʲɪk, งกฤษ, sputnik, เป, นดาวเท, ยมดวงแรกของโลก, สหภาพโซเว, ยต, ได, งดาวเท, ยมสป, ตน, กข, นส, วงโคจรโลกในร, ปวงร, ในว, นท, ลาคม, 1957, งโคจรสามส, ปดาห, อนท, แบตเตอร, จะเส, ยอย, างเง, ยบ, อนท, จะตกลงส, นบรรยากาศในอ, ก. sputnik 1 rsesiy Sputnik 1 IPA ˈsputnʲɪk xngkvs Sputnik 1 epndawethiymdwngaerkkhxngolk 1 shphaphosewiyt idsngdawethiymsputnikkhunsuwngokhcrolkinrupwngriinwnthi 4 tulakhm kh s 1957 sungokhcrsamspdahkxnthiaebtetxricaesiyxyangengiyb kxnthicatklngsuchnbrryakasinxiksxngeduxntxma sputnik 1 miesnphansunyklang 58 sm 23 niw miesaxakaswithyuphaynxk 4 esaephuxkracaykhlunwithyu syyanwithyusamarthtrwccbidodynkwithyusmkhreln 2 aelarayaexiyng 65 xngsaaelarayaewlakhxngwngokhcrkhxngmnthaihesnthangkarbinkhrxbkhlumphunthithngolk khwamsaercthinaaeplkicniidthaihekidwikvtikarnsputnikinhmuchawxemrikn aelathaihkaraekhngkhndanxwkasepnswnhnungkhxngsngkhrameyn karepidtwninamasungkarphthnadankaremuxng karthhar ethkhonolyi aelawithyasastrihm 3 4 sputnik 1 Sputnik 1 aebbcalxng sputnik 1praephthpharkickarsathitethkhonolyiphudaeninkarshphaphosewiytHarvard designation1957 Alpha 2COSPAR ID1957 001BSATCAT no 00002rayapharkic21 wnwngokhcrrxbolk1 440khxmulyanxwkasphuphlitOKB 1 Soviet Ministry of Radiotechnical Industrymwlkhnasngyan83 6 kiolkrmkhnad58 esntiemtrkalngiffa1 wtterimtnpharkicwnthisngkhun4 tulakhm kh s 1957 19 28 34 UTC 22 28 34 MSK crwdnasngR 7 Semyorkathansngibokhnur 1 5sinsudpharkickarkacdwngokhcrslaytidtxkhrngsudthay25 tulakhm kh s 1957ekhasuchnbrryakas3 mkrakhm kh s 1958lksnawngokhcrrabbxangxingolkepnsunyklangrabbwngokhcrwngokhcrtakhxngolkkungaeknexk6 955 2 kiolemtr 4 321 8 iml khwameyuxng0 05201rayaiklsud6586 km caksunyklang 215 km 134 iml cakphunphiwrayaiklsud7310 km caksunyklang 939 km 583 iml cakphunphiwxinkhlienchn65 1 khabkarokhcr96 2 nathi kartidtamaelakarsuksadawethiymsputnik 1 cakolkidihkhxmulaeknkwithyasastr thungkhwamhnaaennkhxngbrryakaschnbnsungthukxnumanidcakaernglakkhxngkarekhluxnthiinwngokhcr aelakaraephrkracaykhxngsyyanwithyucaihkhxmulekiywkbchnbrryakasixoxonsefiyrdawethiymsputnik 1 thukplxyinrahwangpisaklaehngthrnifisiks cakist 1 5 thi the 5th Tyuratam range insatharnrthsngkhmniymosewiytkhaskh pccubnkhux ibokhnurkhxsomodrm dawethiymedinthangpraman 29 000 kiolemtrtxchwomng 18 000 imltxchwomng 8 100 emtr winathi odyichewla 96 2 nathiinkarthaihkhrbrxbwngokhcresrcsmburn spukniksngkhlinthi 20 005 aela 40 002 emkaehirts 5 sungidrbkartrwcsxbodyphuihbrikarwithyuthwolk syyankhxngspuknikyngkhngpraktepnewla 21 wncnkwaaebtetxrikhxngekhruxngsngsyyancahmdlnginwnthi 26 tulakhm kh s 1957 6 dawethiymsputnikthukephaihminwnthi 4 mkrakhm kh s 1958 khnathiklbekhasuchnbrryakaskhxngolk hlngcakidokhcrrxbolksameduxnesrcsinphrxmkbokhcrkhrbrxbwngokhcrthnghmd 1440 rxb 7 aelarayathangedinthangpraman 70 lankiolemtr 43 laniml 8 lksna aekikhchux sputnik 1 aeplwa dawethiym 1 aelachuxyxphasarsesiywa PS 1 dawethiymdwngnimirupthrngklmkhnadethalukbasektbxl thadwyxalumieniymhnk 84 kiolkrm thuksngkhunwngokhcrdwycrwd xar 7 cakthanyinginthaelthraykhisilkhum ibokhnurkhxsomodrm khaskhsthan emux 4 tulakhm ph s 2500 9 xangxing aekikh Terry 2013 p 233 Ralph H Didlake KK5PM Oleg P Odinets RA3DNC 28 September 2007 Sputnik and Amateur Radio American Radio Relay League khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 11 October 2007 subkhnemux 26 March 2008 McDougall Walter A 2010 Shooting The Moon American Heritage 59 4 ISSN 0002 8738 subkhnemux 3 January 2019 Swenson et al p 71 Jorden William J 5 October 1957 Soviet Fires Earth Satellite Into Space The New York Times New York The New York Times Co subkhnemux 28 December 2015 Sputnik vibrationdata com subkhnemux 8 March 2008 Zak Anatoly 2015 Sputnik s mission RussianSpaceWeb com ekb cakaehlngedimemux 23 January 2013 subkhnemux 27 December 2015 Sputnik 1 NSSDC ID 1957 001B NSSDC Master Catalog NASA nitysar enchnaenlcioxkrafik chbbphasaithy tulakhm 2550 hna 102 ISSN 15139840aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb dawethiymsputnik 1 History of Sputnik 1 at MentalLandscape com includes authentic recordings of the satellite signal Documents related to Sputnik 1 and the Space Race at the Dwight D Eisenhower Presidential Library An interview with Sir Arthur C Clarke on Sputnik 1 Satellite One The story of the first man made device in space Tass NASA s 50th Anniversary of the Space Age amp Sputnik Interactive Media Sputnik Program Page by NASA s Solar System Exploration NASA on Sputnik 1 A joint Russian project of Ground microprocessing information systems SRC PLANETA and Space Monitoring Information Support laboratory IKI RAN dedicated to the 40th anniversary of Sputnik 1 bthkhwamekiywkbethkhonolyi hrux singpradisthniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title dawethiymsputnik 1 amp oldid 9040797, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม