fbpx
วิกิพีเดีย

ตุ่นปากเป็ด

ตุ่นปากเป็ด
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Monotremata
วงศ์: Ornithorhynchidae
สกุล: Ornithorhynchus
Blumenbach, 1800
สปีชีส์: O.  anatinus
ชื่อทวินาม
Ornithorhynchus anatinus
(Shaw, 1799)
แถบฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย เกือบตลอดแนวฝั่งด้านตะวันออก

ตุ่นปากเป็ด (อังกฤษ: Platypus, Watermole, Duckbill, Duckmole, Duck-billed platypus) เป็นสัตว์ประจำท้องถิ่นของออสเตรเลีย แม้ว่าตุ่นปากเป็ดจะมีเพียงสปีชีส์เดียว แต่มีชื่อเรียกมากมายหลายชื่อ เช่น และมีชื่อที่ชาวอะบอริจินตั้งให้อีกหลายชื่อ ได้แก่ mallangong, boondaburra และ tambreet พบตุ่นปากเป็ดเฉพาะในแถบตะวันออกของออสเตรเลียเท่านั้น ตุ่นปากเป็ดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับโมโนทรีมาตา (Monotremata) เช่นเดียวกับอีคิดนา

ลักษณะทางชีววิทยา

ลำตัว

ตุ่นปากเป็ดมีลำตัวแบน หัวเรียวท้ายเรียว ในตัวเต็มวัย ตัวผู้มีความยาวเฉลี่ย 50 เซนติเมตร หนัก 1.7 กิโลกรัม ตัวเมียมีความยาวเฉลี่ย 44 เซนติเมตร หนัก 0.9 กิโลกรัม นอกจากบริเวณปากและเท้าแล้วตุ่นปากเป็ดมีขนปกคลุมตลอดตัว ตุ่นปากเป็ดมีขนสองชั้น ขนชั้นนอกยาว (hair) หยาบ สีน้ำตาลเข้ม ชั้นล่างเป็นขนอ่อน เส้นละเอียด หนาแน่น มีตั้งแต่สีเทาจนถึงสีน้ำตาลเข้ม ขนชั้นล่างกันน้ำได้ ช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ยามตุ่นปากเป็ดดำลงไปในน้ำที่เย็นจัดจนเกือบจับตัวเป็นน้ำแข็ง

หาง

หางตุ่นปากเป็ดแบนกว้างเช่นเดียวกับลำตัว สร้างมาจากไขมัน เพราะตุ่นปากเป็ดสะสมไขมันไว้ที่หางเพื่อเก็บพลังงานไว้ใช้ในฤดูหนาว ในขณะที่บีเวอร์ใช้หางขับเคลื่อนยามว่ายน้ำ ตุ่นปากเป็ดเพียงแต่ใช้หางในการบังคับทิศทางเท่านั้น ตุ่นปากเป็ดจะม้วนหางจับใบไม้เอาไว้ขณะขนใบไม้ไปสร้างรัง ประโยชน์ของหางอีกอย่างคือใช้ห่มร่างกายตอนกกลูก นักวิทยาศาสตร์สามารถวัดระดับสุขภาพของตุ่นปากเป็ดได้จากการบีบหาง

ปาก - จมูก

ปากของตุ่นปากเป็ดมีรูปร่างคล้ายปากเป็ด ยืดหยุ่นคล้ายยาง ปากบนเป็นสีน้ำเงินเทา มีรูจมูกอยู่ถัดมาจากปลายปากบนเล็กน้อย การที่รูจมูกอยู่ตำแหน่งนี้ช่วยให้ตุ่นปากเป็ดหายใจได้ดีขณะลำตัวอยู่ใต้น้ำ ปากล่างมีขนาดเล็กกว่าปากบน ใต้ปากล่างเป็นสีชมพูอ่อน หรือเป็นจุด ๆ หลากสี ด้านหลังของปากส่วนที่ต่อกับหัวมีกะบังยกขึ้นเล็กน้อยเหนือหน้าผาก

ตา - หู

ตาของตุ่นปากเป็ดอยู่หลังจะงอยปาก หูอยู่ด้านข้างหัว เป็นเพียงช่องเปิด ไม่มีใบหู ขณะดำน้ำตุ่นปากเป็ดจะปิดหู ปิดตา จึงจำเป็นต้องใช้อวัยวะอื่นในการนำทางตอนอยู่ใต้น้ำ แต่เวลาอยู่บนบก ตาและหูของตุ่นปากเป็ดใช้งานได้ตามปกติ ตุ่นปากเป็ดหูไวตาไวมาก และมองเห็นได้ไกล แต่เพราะตำแหน่งของตาอยู่หลังกะบังปากจึงมองสิ่งที่อยู่ "ใต้จมูก" ไม่ถนัด

ขา - เท้า

ตุ่นปากเป็ดมีขาสั้น อุ้งเล็บแข็งแรง ใช้ขุดดินได้ดี เท้าคู่หน้าเป็นพังผืดติดกันทุกนิ้ว ตุ่นปากเป็ดใช้เฉพาะขาหน้าในการดึงตัวไปขณะว่ายน้ำ ขาหลังซึ่งมีพังผืดเพียงบางส่วนทำหน้าที่ร่วมกับหาง เป็นเพียงหางเสือบังคับทิศทางเท่านั้น คงเพราะเท้าพังผืดนี่เองที่ตุ่นปากเป็ดมีชื่อสามัญว่า platypus (เท้าแบน)

เมื่อลงน้ำ พังผืดระหว่างอุ้งเท้าจะแผ่ออก เปลี่ยนเท้าเป็นพายที่มีประสิทธิภาพ แต่เมื่อตุ่นปากเป็ดอยู่บนบกมันจะพับพังผืดเก็บไว้ จะได้ใช้กรงเล็บขุดอุโมงค์ยาว ๆ ได้ โดยพังผืดไม่เสียหาย ที่ข้อเท้าหลังของตัวผู้มีเดือยยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร ยื่นออกมา เดือยของตุ่นปากเป็ดมีรูกลวงต่อไปยังต่อมพิษที่ต้นขา บริเวณใกล้ท่อสืบพันธุ์และขับถ่าย (ท่อเดียวกัน : ดูคำอธิบายเพิ่มเติมในโมโนทรีมาตา)

เวลาเดิน เท้าของตุ่นปากเป็ดกางยื่นออกมานอกลำตัว คล้ายกับสัตว์เลื้อยคลาน แต่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆ แม้แต่อีคิดนา สัตว์ร่วมอันดับโมโนทรีมาตา (Monotremata) กับตุ่นปากเป็ด เวลาเดินเท้าจะอยู่ใต้ลำตัว

ความสำคัญทางระบบนิเวศ

ตุ่นปากเป็ดเป็นสัตว์ที่ออกหากินตอนกลางคืน แม้ตุ่นปากเป็ดจะเกิดและอาศัยอยู่บนบก แต่หากินและใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในน้ำตามแหล่งน้ำจืดทั่วไป เช่น ลำธาร แม่น้ำ ทะเลสาบ ด้วยลำตัวที่เพรียว เท้ามีพังผืด ทำให้ตุ่นปากเป็ดว่ายน้ำและดำน้ำได้ดีมาก ขณะดำน้ำหาอาหารมันจะส่ายปากไปมา เพื่อให้หน่วยรับสัมผัสประจุไฟฟ้าและอื่น ๆ ตรวจจับเต็มที่ เมื่อเจอเหยื่อ ตุ่นปากเป็ดจะกลั้วน้ำที่มีสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเล็ก ๆ จำพวกกุ้งฝอย กุ้งนาง หนอนต่าง ๆ หอยตัวเล็ก ๆ และแมลงน้ำอื่น ๆ ลงในคอ กรองเอาเหยื่อเหล่านี้เก็บไว้ในกระพุ้งแก้ม บางครั้งตุ่นปากเป็ดจะเก็บเหยื่อไว้จนเต็มกระพุ้งแก้ม แล้วจึงว่ายขึ้นไปนอนเคี้ยว (บด) อาหารที่ผิวน้ำ จึงถือได้ว่าเป็นผู้ล่าที่ช่วยควบคุมขนาดประชากรสัตว์ดังกล่าว เพราะถ้ามีมากเกินไปอาจไปรบกวนและทำลายกลุ่มสิ่งชีวิตจำพวกพืชและสัตว์ที่เป็นเหยื่อให้จำนวนลดลงและสูญหายได้

ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของตุ่นปากเป็ดกับญาติ

นักวิทยาศาสตร์ยังรู้น้อยมากว่าตุ่นปากเป็ดมีวิวัฒนาการมาอย่างไร แต่พบฟอสซิลอายุนับ 60 ล้านปีที่มีลักษณะคล้ายตุ่นปากเป็ด ฟอสซิลบางชนิดคล้ายตุ่นปากเป็ดมาก ต่างกันเพียงแค่สัตว์ในสมัยบรรพกาลตัวนั้นมีฟัน ส่วนตุ่นปากเป็ดไม่มี ฟอสซิลเหล่านี้ บางชิ้นพบในอเมริกาใต้และแอนตาร์กติกา นักวิทยาศาสตร์จึงสันนิษฐานว่าในยุคที่แผ่นดินยังเชื่อมต่อกันอยู่ สัตว์ในอันดับโมโนทรีมาตา (ตุ่นปากเป็ดและอีคิดนา) คงเคยอาศัยอยู่ในดินแดนแถบนั้นเช่นกัน

แต่สำหรับข้อสงสัยที่ว่า ทำไมตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาจึงเหลือรอดอยู่เพียงแต่ในออสเตรเลียและนิวกินีเท่านั้น ยังไม่มีใครตอบได้ นอกจากมีข้อสันนิษฐานว่า คงเป็นเพราะความโดดเดี่ยวของทวีปออสเตรเลีย สัตว์เหล่านี้จึงเหลือรอดมาได้

เมื่อเปรียบเทียบระหว่างตุ่นปากเป็ดกับอีคิดนา ที่อยู่ในอันดับโมโนทรีมาตาเดียวกัน จะพบความแตกต่างได้แก่ เวลาเดิน เท้าของตุ่นปากเป็ดกางยื่นออกมานอกลำตัว คล้ายกับสัตว์เลื้อยคลาน แต่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ แม้แต่อีคิดนา สัตว์ร่วมอันดับโมโนทรีมาตา (Monotremata) กับตุ่นปากเป็ด เวลาเดินเท้าจะอยู่ใต้ลำตัว แต่ก็มีส่วนเหมือนกัน เช่น ตุ่นปากเป็ดมีลักษณะนิสัยคล้ายอีคิดนา ขี้อาย สันโดษ นอกฤดูผสมพันธุ์มักอยู่ตามลำพัง แต่ละตัวจะมีอาณาเขตของตนเอง หากมีการล่วงล้ำเขตกันขึ้นก็อาจมีการต่อสู้เพื่อปกป้องดินแดน แต่การปะทะเกิดไม่บ่อยนัก เพราะเมื่อเทียบกับขนาดตัวและความเร็วในการเคลื่อนที่แล้ว ตุ่นปากเป็ดครอบครองดินแดนเป็นบริเวณค่อนข้างกว้าง แม้มีการทับซ้อนกันบ้าง โอกาสที่จะเผชิญหน้ากันก็น้อยมาก และเนื่องจากตุ่นปากเป็ดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับโมโนทรีมาตา จึงไม่มีหัวนม ลูกอ่อนของตุ่นปากเป็ดเรียกว่า พักเกิ้ล (puggle) เช่นเดียวกับลูกอีคิดนา พักเกิ้ลจะแกว่งจะงอยปากสั้นหนาของมันและดื่มกินน้ำนมที่ไหลซึมออกมาจากท่อเล็ก ๆ ที่ฐานนม ที่หน้าท้องแม่ พักเกิ้ลจะอยู่ในรังที่อบอุ่น ปลอดภัย และสุขสบายนี้จนอายุประมาณสี่เดือน ซึ่งเป็นช่วงที่มีขนเรียบเป็นมันและตัวโตเกือบเท่าแม่แล้ว ลูกตุ่นปากเป็ดจึงโผล่ออกไปดูโลกภายนอก หลังจากหัดล่าเหยื่อและหัดว่ายน้ำจนคล่องแคล่วอยู่สองสามสัปดาห์ มันก็ออกไปหาที่อยู่ใหม่เป็นของตัวเอง

การปรับตัวเชิงวิวัฒนาการด้านต่าง ๆ ของตุ่นปากเป็ด

การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย

ตุ่นปากเป็ดต้องเผชิญกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดปี ทั้งบนบกและในน้ำ และเนื่องจากตุ่นปากเป็ดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จึงเป็นสัตว์เลือดอุ่น สัตว์เลือดอุ่นมีระดับอุณหภูมิของร่างกายคงที่ ไม่เปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมเหมือนสัตว์เลือดเย็น ในฤดูหนาว แม้ในวันที่หนาวเย็นมาก ตุ่นปากเป็ดก็ยังออกว่ายน้ำหาอาหาร ความจริงข้อนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์ตัดข้อสงสัยที่ว่ามันอาจจะเป็นจำพวกสัตว์เลื้อยคลานออกไปได้ เพราะอย่างที่รู้กันดีว่า เวลาอากาศหนาวเย็นสัตว์เลื้อยคลานจะลดอัตราเมแทบอลิซึมลง ซึ่งจะทำให้อุณหภูมิในร่างกายของมันลดลง และทำให้มีอาการเซื่องซึม หากตุ่นปากเป็ดลดอัตราเมแทบอลิซึมลงด้วย มันก็คงไม่สามารถออกไปหาอาหารที่ก้นแม่น้ำได้

ในทางตรงกันข้าม อากาศยิ่งหนาว ตุ่นปากเป็ดก็ยิ่งต้องเพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม เพื่อรักษาสมดุลระหว่างอุณหภูมิปกติของร่างกายและอุณหภูมิภายนอกเอาไว้ อย่างไรก็ตาม เมแทบอลิซึมหรือการเผาผลาญอาหารนี้ต้องอาศัยพลังงาน ซึ่งปกติได้มาจากอาหาร แต่ในฤดูหนาวอาหารมักจะขาดแคลน ตุ่นปากเป็ดจึงต้องดึงไขมันที่สะสมไว้ในหางมาใช้ ตุ่นปากเป็ดใช้ระบบหมุนเวียนโลหิตมาช่วยลำเลียงความร้อน ความร้อนที่ได้จากการเผาผลาญอาหาร จะลำเลียงผ่านเส้นเลือดไปสู่อวัยวะสำคัญ และลดการหมุนเวียนไปยังส่วนที่ไม่จำเป็น เช่น ขาหลัง หาง และปาก นอกจากนี้ สิ่งสำคัญที่ช่วยเก็บกักความร้อนไว้ได้มากก็คือขนหนานุ่มของมันนั่นเอง นอกจากกันน้ำแล้ว ยังเป็นฉนวนกันไม่ให้ความร้อนระบายออกจากร่างกายได้อีกด้วย นับว่าตุ่นปากเป็ดมีผ้าห่มกันหนาวที่ดีเยี่ยม

การหาอาหาร

ตุ่นปากเป็ดเป็นสัตว์ที่ออกหากินตอนกลางคืน แม้ตุ่นปากเป็ดจะเกิดและอาศัยอยู่บนบก แต่หากินและใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในน้ำตามแหล่งน้ำจืดทั่วไป เช่น ลำธาร แม่น้ำ ทะเลสาบ ด้วยลำตัวที่เพรียว มีขาสั้น อุ้งเล็บแข็งแรง ใช้ขุดดินได้ดี เท้าคู่หน้าเป็นพังผืดติดกันทุกนิ้ว ตุ่นปากเป็ดใช้เฉพาะขาหน้าในการดึงตัวไปขณะว่ายน้ำ ขาหลังซึ่งมีพังผืดเพียงบางส่วนทำหน้าที่ร่วมกับหาง เป็นเพียงหางเสือบังคับทิศทางเท่านั้นเมื่อลงน้ำ พังผืดระหว่างอุ้งเท้าจะแผ่ออก เปลี่ยนเท้าเป็นพายที่มีประสิทธิภาพ แต่เมื่อตุ่นปากเป็ดอยู่บนบกมันจะพับพังผืดเก็บไว้ จะได้ใช้กรงเล็บขุดอุโมงค์ยาวๆได้ โดยพังผืดไม่เสียหาย ด้วยลักษณะดังกล่าวทำให้ตุ่นปากเป็ดว่ายน้ำและดำน้ำได้ดีมาก ขณะดำน้ำหาอาหารมันจะส่ายปากไปมา เนื่องจากบริเวณปากมีหน่วยรับความรู้สึกเชิงประจุไฟฟ้าในการตรวจจับเหยื่อ

ต่อมพิษ

ตุ่นปากเป็ดมีเดือยพิษซ่อนอยู่บริเวณขาหลัง ซึ่งไม่ร้ายแรงพอที่จะฆ่าสิ่งมีชีวิตอื่น แต่สามารถทำให้ศัตรูตามธรรมชาติเจ็บปวดมากพอที่จะไม่คิดจะกินมัน

อ้างอิง

  1. Strahan, Ronald; Van Dyck, Steve (April 2006). Mammals of Australia (3rd ed.). New Holland. ISBN 978-1-877069-25-3.
  2. Fleay, David H. (1980). Paradoxical Platypus: Hobnobbing with Duckbills. Jacaranda Press. ISBN 0-7016-1364-5.
  3. Grant, Tom (1995). The platypus: a unique mammal. Sydney: University of New South Wales Press. ISBN 0-86840-143-9.
  4. Griffiths, Mervyn (1978). The Biology of the Monotremes. Academic Press. ISBN 0-12-303850-2.
  5. Hutch, Michael; McDade, Melissa C., ed. (2004). Grzimek's Animal Life Encyclopedia 12. Gale.

นปากเป, สถานะการอน, กษ, ความเส, ยงต, iucn, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, animaliaไฟล, chordataช, mammaliaอ, นด, monotremataวงศ, ornithorhynchidaeสก, ornithorhynchus, blumenbach, 1800สป, anatinusช, อทว, นามornithorhynchus, anatinus, shaw, 1799, แถบฝ, ง. tunpakepdsthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 2 3 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Monotrematawngs Ornithorhynchidaeskul Ornithorhynchus Blumenbach 1800spichis O anatinuschuxthwinamOrnithorhynchus anatinus Shaw 1799 aethbfngtawnxxkkhxngxxsetreliy ekuxbtlxdaenwfngdantawnxxk tunpakepd xngkvs Platypus Watermole Duckbill Duckmole Duck billed platypus epnstwpracathxngthinkhxngxxsetreliy aemwatunpakepdcamiephiyngspichisediyw aetmichuxeriykmakmayhlaychux echn aelamichuxthichawxabxricintngihxikhlaychux idaek mallangong boondaburra aela tambreet phbtunpakepdechphaainaethbtawnxxkkhxngxxsetreliyethann tunpakepdepnstweliynglukdwynminxndbomonthrimata Monotremata echnediywkbxikhidna enuxha 1 lksnathangchiwwithya 1 1 latw 1 2 hang 1 3 pak cmuk 1 4 ta hu 1 5 kha etha 2 khwamsakhythangrabbniews 3 khwamsmphnthechingwiwthnakarkhxngtunpakepdkbyati 4 karprbtwechingwiwthnakardantang khxngtunpakepd 4 1 karkhwbkhumxunhphumikhxngrangkay 4 2 karhaxahar 4 3 txmphis 5 xangxinglksnathangchiwwithya aekikhlatw aekikh tunpakepdmilatwaebn hweriywthayeriyw intwetmwy twphumikhwamyawechliy 50 esntiemtr hnk 1 7 kiolkrm twemiymikhwamyawechliy 44 esntiemtr hnk 0 9 kiolkrm nxkcakbriewnpakaelaethaaelwtunpakepdmikhnpkkhlumtlxdtw tunpakepdmikhnsxngchn khnchnnxkyaw hair hyab sinatalekhm chnlangepnkhnxxn esnlaexiyd hnaaenn mitngaetsiethacnthungsinatalekhm khnchnlangknnaid chwyrksaxunhphumikhxngrangkayihkhngthiyamtunpakepddalngipinnathieyncdcnekuxbcbtwepnnaaekhng hang aekikh hangtunpakepdaebnkwangechnediywkblatw srangmacakikhmn ephraatunpakepdsasmikhmniwthihangephuxekbphlngnganiwichinvduhnaw inkhnathibiewxrichhangkhbekhluxnyamwayna tunpakepdephiyngaetichhanginkarbngkhbthisthangethann tunpakepdcamwnhangcbibimexaiwkhnakhnibimipsrangrng praoychnkhxnghangxikxyangkhuxichhmrangkaytxnkkluk nkwithyasastrsamarthwdradbsukhphaphkhxngtunpakepdidcakkarbibhang pak cmuk aekikh pakkhxngtunpakepdmiruprangkhlaypakepd yudhyunkhlayyang pakbnepnsinaenginetha mirucmukxyuthdmacakplaypakbnelknxy karthirucmukxyutaaehnngnichwyihtunpakepdhayiciddikhnalatwxyuitna paklangmikhnadelkkwapakbn itpaklangepnsichmphuxxn hruxepncud hlaksi danhlngkhxngpakswnthitxkbhwmikabngykkhunelknxyehnuxhnaphak ta hu aekikh takhxngtunpakepdxyuhlngcangxypak huxyudankhanghw epnephiyngchxngepid immiibhu khnadanatunpakepdcapidhu pidta cungcaepntxngichxwywaxuninkarnathangtxnxyuitna aetewlaxyubnbk taaelahukhxngtunpakepdichnganidtampkti tunpakepdhuiwtaiwmak aelamxngehnidikl aetephraataaehnngkhxngtaxyuhlngkabngpakcungmxngsingthixyu itcmuk imthnd kha etha aekikh tunpakepdmikhasn xungelbaekhngaerng ichkhuddiniddi ethakhuhnaepnphngphudtidknthukniw tunpakepdichechphaakhahnainkardungtwipkhnawayna khahlngsungmiphngphudephiyngbangswnthahnathirwmkbhang epnephiynghangesuxbngkhbthisthangethann khngephraaethaphngphudniexngthitunpakepdmichuxsamywa platypus ethaaebn emuxlngna phngphudrahwangxungethacaaephxxk epliynethaepnphaythimiprasiththiphaph aetemuxtunpakepdxyubnbkmncaphbphngphudekbiw caidichkrngelbkhudxuomngkhyaw id odyphngphudimesiyhay thikhxethahlngkhxngtwphumieduxyyawpraman 1 5 esntiemtr yunxxkma eduxykhxngtunpakepdmiruklwngtxipyngtxmphisthitnkha briewniklthxsubphnthuaelakhbthay thxediywkn dukhaxthibayephimetiminomonthrimata ewlaedin ethakhxngtunpakepdkangyunxxkmanxklatw khlaykbstweluxykhlan aetstweliynglukdwynmxun aemaetxikhidna stwrwmxndbomonthrimata Monotremata kbtunpakepd ewlaedinethacaxyuitlatwkhwamsakhythangrabbniews aekikhtunpakepdepnstwthixxkhakintxnklangkhun aemtunpakepdcaekidaelaxasyxyubnbk aethakinaelaichewlaswnihyxyuinnatamaehlngnacudthwip echn lathar aemna thaelsab dwylatwthiephriyw ethamiphngphud thaihtunpakepdwaynaaeladanaiddimak khnadanahaxaharmncasaypakipma ephuxihhnwyrbsmphspracuiffaaelaxun trwccbetmthi emuxecxehyux tunpakepdcaklwnathimistwimmikraduksnhlngelk caphwkkungfxy kungnang hnxntang hxytwelk aelaaemlngnaxun lnginkhx krxngexaehyuxehlaniekbiwinkraphungaekm bangkhrngtunpakepdcaekbehyuxiwcnetmkraphungaekm aelwcungwaykhunipnxnekhiyw bd xaharthiphiwna cungthuxidwaepnphulathichwykhwbkhumkhnadprachakrstwdngklaw ephraathamimakekinipxaciprbkwnaelathalayklumsingchiwitcaphwkphuchaelastwthiepnehyuxihcanwnldlngaelasuyhayid 1 khwamsmphnthechingwiwthnakarkhxngtunpakepdkbyati aekikhnkwithyasastryngrunxymakwatunpakepdmiwiwthnakarmaxyangir aetphbfxssilxayunb 60 lanpithimilksnakhlaytunpakepd fxssilbangchnidkhlaytunpakepdmak tangknephiyngaekhstwinsmybrrphkaltwnnmifn swntunpakepdimmi fxssilehlani bangchinphbinxemrikaitaelaaexntarktika nkwithyasastrcungsnnisthanwainyukhthiaephndinyngechuxmtxknxyu stwinxndbomonthrimata tunpakepdaelaxikhidna khngekhyxasyxyuindinaednaethbnnechnknaetsahrbkhxsngsythiwa thaimtunpakepdaelaxikhidnacungehluxrxdxyuephiyngaetinxxsetreliyaelaniwkiniethann yngimmiikhrtxbid nxkcakmikhxsnnisthanwa khngepnephraakhwamoddediywkhxngthwipxxsetreliy stwehlanicungehluxrxdmaidemuxepriybethiybrahwangtunpakepdkbxikhidna thixyuinxndbomonthrimataediywkn caphbkhwamaetktangidaek ewlaedin ethakhxngtunpakepdkangyunxxkmanxklatw khlaykbstweluxykhlan aetstweliynglukdwynmxun aemaetxikhidna stwrwmxndbomonthrimata Monotremata kbtunpakepd ewlaedinethacaxyuitlatw aetkmiswnehmuxnkn echn tunpakepdmilksnanisykhlayxikhidna khixay snods nxkvduphsmphnthumkxyutamlaphng aetlatwcamixanaekhtkhxngtnexng hakmikarlwnglaekhtknkhunkxacmikartxsuephuxpkpxngdinaedn aetkarpathaekidimbxynk ephraaemuxethiybkbkhnadtwaelakhwamerwinkarekhluxnthiaelw tunpakepdkhrxbkhrxngdinaednepnbriewnkhxnkhangkwang aemmikarthbsxnknbang oxkasthicaephchiyhnaknknxymak aelaenuxngcaktunpakepdepnstweliynglukdwynminxndbomonthrimata cungimmihwnm lukxxnkhxngtunpakepderiykwa phkekil puggle echnediywkblukxikhidna phkekilcaaekwngcangxypaksnhnakhxngmnaeladumkinnanmthiihlsumxxkmacakthxelk thithannm thihnathxngaem phkekilcaxyuinrngthixbxun plxdphy aelasukhsbaynicnxayupramansieduxn sungepnchwngthimikhneriybepnmnaelatwotekuxbethaaemaelw luktunpakepdcungophlxxkipduolkphaynxk hlngcakhdlaehyuxaelahdwaynacnkhlxngaekhlwxyusxngsamspdah mnkxxkiphathixyuihmepnkhxngtwexng 2 3 karprbtwechingwiwthnakardantang khxngtunpakepd aekikhkarkhwbkhumxunhphumikhxngrangkay aekikh tunpakepdtxngephchiykbxunhphumithiepliynaeplngxyutlxdpi thngbnbkaelainna aelaenuxngcaktunpakepdepnstweliynglukdwynm cungepnstweluxdxun stweluxdxunmiradbxunhphumikhxngrangkaykhngthi imepliyniptamsphaphaewdlxmehmuxnstweluxdeyn invduhnaw aeminwnthihnaweynmak tunpakepdkyngxxkwaynahaxahar khwamcringkhxnithaihnkwithyasastrtdkhxsngsythiwamnxaccaepncaphwkstweluxykhlanxxkipid ephraaxyangthirukndiwa ewlaxakashnaweynstweluxykhlancaldxtraemaethbxlisumlng sungcathaihxunhphumiinrangkaykhxngmnldlng aelathaihmixakaresuxngsum haktunpakepdldxtraemaethbxlisumlngdwy mnkkhngimsamarthxxkiphaxaharthiknaemnaidinthangtrngknkham xakasyinghnaw tunpakepdkyingtxngephimxtraemaethbxlisum ephuxrksasmdulrahwangxunhphumipktikhxngrangkayaelaxunhphumiphaynxkexaiw xyangirktam emaethbxlisumhruxkarephaphlayxaharnitxngxasyphlngngan sungpktiidmacakxahar aetinvduhnawxaharmkcakhadaekhln tunpakepdcungtxngdungikhmnthisasmiwinhangmaich tunpakepdichrabbhmunewiynolhitmachwylaeliyngkhwamrxn khwamrxnthiidcakkarephaphlayxahar calaeliyngphanesneluxdipsuxwywasakhy aelaldkarhmunewiynipyngswnthiimcaepn echn khahlng hang aelapak nxkcakni singsakhythichwyekbkkkhwamrxniwidmakkkhuxkhnhnanumkhxngmnnnexng nxkcakknnaaelw yngepnchnwnknimihkhwamrxnrabayxxkcakrangkayidxikdwy nbwatunpakepdmiphahmknhnawthidieyiym 4 karhaxahar aekikh tunpakepdepnstwthixxkhakintxnklangkhun aemtunpakepdcaekidaelaxasyxyubnbk aethakinaelaichewlaswnihyxyuinnatamaehlngnacudthwip echn lathar aemna thaelsab dwylatwthiephriyw mikhasn xungelbaekhngaerng ichkhuddiniddi ethakhuhnaepnphngphudtidknthukniw tunpakepdichechphaakhahnainkardungtwipkhnawayna khahlngsungmiphngphudephiyngbangswnthahnathirwmkbhang epnephiynghangesuxbngkhbthisthangethannemuxlngna phngphudrahwangxungethacaaephxxk epliynethaepnphaythimiprasiththiphaph aetemuxtunpakepdxyubnbkmncaphbphngphudekbiw caidichkrngelbkhudxuomngkhyawid odyphngphudimesiyhay dwylksnadngklawthaihtunpakepdwaynaaeladanaiddimak khnadanahaxaharmncasaypakipma enuxngcakbriewnpakmihnwyrbkhwamrusukechingpracuiffainkartrwccbehyux 5 txmphis aekikh tunpakepdmieduxyphissxnxyubriewnkhahlng sungimrayaerngphxthicakhasingmichiwitxun aetsamarththaihstrutamthrrmchatiecbpwdmakphxthicaimkhidcakinmnxangxing aekikh Strahan Ronald Van Dyck Steve April 2006 Mammals of Australia 3rd ed New Holland ISBN 978 1 877069 25 3 Fleay David H 1980 Paradoxical Platypus Hobnobbing with Duckbills Jacaranda Press ISBN 0 7016 1364 5 Grant Tom 1995 The platypus a unique mammal Sydney University of New South Wales Press ISBN 0 86840 143 9 Griffiths Mervyn 1978 The Biology of the Monotremes Academic Press ISBN 0 12 303850 2 Hutch Michael McDade Melissa C ed 2004 Grzimek s Animal Life Encyclopedia 12 Gale ekhathungcak https th wikipedia org w index php title tunpakepd amp oldid 8136270, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม