fbpx
วิกิพีเดีย

ทักษิโณมิกส์

ทักษิโณมิกส์ (อังกฤษ: Thaksinomics) เป็นคำเรียกนโยบายเศรษฐกิจในสมัยที่ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย โดยผู้ที่ใช้คำนี้ครั้งแรกคือนางกลอเรีย มาคาปากัล อาร์โรโย ประธานาธิบดีแห่งฟิลิปปินส์ ในสุนทรพจน์งานประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก เมื่อ พ.ศ. 2546 โดยหนึ่งในผู้ที่สนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดังกล่าวที่โดดเด่นที่สุด คือ แดเนียล เลียน นักเศรษฐศาสตร์ของมอร์แกน สแตนลีย์

ดร. สุวินัย ภรณวลัย รองศาสตราจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้กล่าวว่า ทักษิโณมิกส์เป็นประดิษฐกรรมของ พ.ต.ท. ทักษิณ โดยเป็นความคิดของนักกลยุทธ์เชิงสมัยนิยม เพื่อจัดการทางกลยุทธ์ การรวบรวมองค์ความรู้ เพื่อบรรลุเป้าหมายทั้งส่วนตัวและส่วนร่วม ซึ่งดำเนินการทุกวิถีทางเพื่อให้ไปสู่เป้าหมาย และอาจมีการใช้ความรุนแรง เพื่อให้เขาเป็นผู้ชนะ

ประวัติ

ทักษิโณมิกส์ เป็นชื่อเรียกโดยทั่วไปของนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลทักษิณ ซึ่งมุ่งเน้นการใช้จ่ายภาครัฐบาล และสร้างรายได้จากการส่งออกและการท่องเที่ยว เพื่อแก้ปัญหาความถดถอยทางเศรษฐกิจที่เป็นผลมาจากวิกฤตการณ์ทางการเงิน เมื่อปี พ.ศ. 2540 ซึ่งสาเหตุการเกิดวิกฤตการณ์ในครั้งนั้นมาจากปริมาณเงินที่ไหลเข้ามาจำนวนมาก เพื่อแสวงหากำไรจากส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยและจากตลาดหุ้น ในขณะเดียวกันก็มีการใช้เงินผิดประเภท เพราะกู้เงินระยะสั้นมาเพื่อปล่อยกู้ระยะยาว และการปล่อยสินเชื่อก็ไม่ก่อให้เกิดการผลิตที่แท้จริงขึ้นในระบบเศรษฐกิจ จนทำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ขึ้น และส่งผลให้ราคาหลักทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์มีราคาสูงกว่าปัจจัยพื้นฐาน ขณะที่ราคาสินค้าอื่นไม่เปลี่ยนแปลง

ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ ทำให้อุปสงค์รวมในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ขณะที่ดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะมีการนำเข้าสินค้าทุนในปริมาณและมูลค่าที่สูงกว่าการส่งออกสุทธิ ส่งผลให้ค่าเงินบาทที่แท้จริงลดลง เมื่อถูกโจมตีค่าเงิน ระดับทุนสำรองระหว่างประเทศของไทย ก็ไม่เพียงพอที่จะพยุงค่าเงินบาทตามระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ไว้ได้ จนต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยน มาเป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวแบบมีการจัดการ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 จนต้องขอกู้ยืมเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เพราะทุนสำรองระหว่างประเทศลดน้อยลงจนไม่เพียงพอชำระหนี้ต่างประเทศ

วิกฤตการณ์ทางการเงินของไทย ส่งผลกระทบต่อภาคการเงินของไทยอย่างรุนแรง จนต้องมีการปิดบริษัทเงินทุนและบริษัทหลักทรัพย์ 56 แห่ง รวมทั้งกิจการธนาคาร ขณะที่ภาระหนี้ต่างประเทศก็เพิ่มสูงขึ้น เพราะรัฐบาลและกองทุนฟื้นฟูฯ เข้าไปแบกรับภาระหนี้ของธนาคารและสถาบันการเงินเหล่านั้น

นอกจากนั้นยังทำให้ระบบเศรษฐกิจของไทยถดถอยติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี เนื่องจากการพังทลายของภาคการเงินไทย เพราะสถาบันการเงินมีภาระหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้จำนวนมาก ขณะที่ปริมาณเงินในระบบก็ลดน้อยลง เพราะการไหลออกของเงินทุน รวมทั้งหนี้ภาครัฐที่มีปริมาณสูงกว่า 2 ล้านล้านบาท ส่วนการส่งออกก็ไม่สามารถเป็นตัวกระตุ้นอุปสงค์รวมภายในประเทศต่อไปได้ เพราะความถดถอยของภาวะเศรษฐกิจโลก และความได้เปรียบของคู่แข่งขัน ซึ่งสามารถส่งออกสินค้าในราคาที่ถูกกว่า รัฐบาลจึงเข้ามามีบทบาทแทนที่ภาคเอกชน ด้วยการกระตุ้นอุปสงค์รวมภายในประเทศ ผ่านการใช้จ่ายตามโครงการต่าง ๆ ทั้งที่เป็นการบริโภค และการลงทุน

ทักษิโณมิกส์ของรัฐบาลทักษิณ ได้รับการกล่าวขานว่าแก้ปัญหาได้ในระดับหนึ่ง เพราะการแทรกแซงกลไกตลาดทุกระดับ กล่าวคือ มุ่งใช้นโยบายการคลังมากกว่านโยบายการเงิน ทำให้การใช้จ่ายของรัฐบาลมีปริมาณสูง ทั้งในรูปของเงินในงบประมาณรัฐบาล และเงินนอกงบประมาณผ่านรัฐวิสาหกิจ เพื่อกระตุ้นอุปสงค์รวมของประเทศให้ได้และอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้น แต่ก็สร้างข้อกังวลอีกมากมายเช่นกัน

นิยาม

การดำเนินเศรษฐกิจแบบทักษิโณมิกส์นั้น ทักษิณนิยามว่าคือ นโยบายเศรษฐกิจ 2 แนวทาง (Dual Track Policy) โดยกล่าวว่านโยบายนี้ คือสูตรในการสร้างความเติบโตให้กับเศรษฐกิจไทย แนวทางแรกคือ กระตุ้นการส่งออก การลงทุนจากต่างประเทศ และการท่องเที่ยว เพื่อนำเงินตราต่างประเทศเข้ามาในประเทศ และแนวทางที่สองคือ การกระตุ้นไปในระดับรากหญ้า มุ่งไปที่เกษตรกร ช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม และสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ ๆ

ทั้ง 2 แนวทางมีความมุ่งหมายกระตุ้นการเติบโตของเศรษฐกิจ โดยหาทางลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และขยายโอกาสให้ประชาชน ดร. ดาเนียล เลียน (en:Daniel Lian) หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์เศรษฐกิจภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ของบริษัทมอร์แกน สแตนเลย์ เรียกลักษณะเศรษฐกิจแบบนี้ว่า "สังคมทุนนิยม" (Social Capitalism) หลักการคือ การประยุกต์ระบบทุนนิยมเข้ากับระบบสังคมนิยม เพราะระบบทุนนิยมเป็นระบบที่มีเป้าหมายแต่ไม่มีอุดมการณ์ ส่วนระบบสังคมนิยมเป็นระบบที่มีอุดมการณ์แต่ไม่มีเป้าหมาย

นโยบายเศรษฐกิจ 2 แนวทาง เป็นการปรับสังคมเศรษฐกิจฐานล่างให้เป็นระบบสังคมนิยมที่มีเป้าหมาย ส่วนเศรษฐกิจฐานบนใช้ระบบทุนนิยมที่มีอุดมการณ์ แต่นอกเหนือจากการกระตุ้นเศรษฐกิจให้เติบโตแบบ นโยบายเศรษฐกิจ 2 แนวทาง แล้ว บางส่วนของนโยบายทักษิโณมิกส์คือ การแทรกตัวเข้าสู่ตลาดหุ้น ทำให้ตลาดหุ้นเติบโต เพื่อใช้เป็นช่องทางระบายหุ้นรัฐวิสาหกิจออกไปให้มากที่สุด เป็นการเชื่อมโยงระหว่างดัชนีตลาดหุ้น กับการสร้างมูลค่าสินทรัพย์ของรัฐ เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ

โดยรัฐบาลได้ใช้กลไกเชื่อมโยงจากตลาดหุ้นไปสู่อุปสงค์รวมระบบเศรษฐกิจ ด้วยวิธีการนำสินทรัพย์ในตลาดหุ้นเปลี่ยนให้เป็นกระแสเงินสด ใช้ต่อสายป่านมาหมุนเศรษฐกิจอีกรอบ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ใช้ตลาดหุ้นสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ และผลักดันให้รัฐวิสาหกิจออกจากอ้อมอกของรัฐบาล ให้ยืนบนขาของตัวเอง การแปรรูปรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่จะสำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดหุ้นเป็นเงื่อนไขสำคัญที่สุด เพราะนั่นจะหมายถึงการแก้ปัญหาหนี้สาธารณะในระยะยาวแบบเบ็ดเสร็จด้วย

ทักษิโณมิกส์ มีแนวโน้มการอาศัยความสามารถในเชิงบริหารจัดการของฝ่ายบริหารเป็นกลไกสำคัญในการบริหารโนบาย จะเห็นได้จากการจัดสรรงบประมาณกลางจำนวนสูงโดยไม่ได้กำหนดรายละเอียดการใช้จ่ายล่วงหน้า หรือการเข้าไปตรึงราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโดยหวังว่าราคาน้ำมันในตลาดโลกจะไม่ขึ้นสูงอย่างต่อเนื่อง อาจเรียกได้ว่าเป็นระบบ managed market economy

การเกิดใหม่ของระบบเศรษฐกิจแบบเคนส์

แบบจำลองสถิตซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและปรากฏในตำราเศรษฐศาตร์มหภาคทั่วไปก็คือ แบบจำลอง en:IS/LM แบบจำลองดังกล่าวเกิดจากการตีความแนวคิดของ จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ โดยเซอร์ จอห์น ฮิกส์ (en:Sir John Hicks, 1937) และต่อมาได้เพิ่มเติมการเปรียบเทียบแนวคิดของทั้งนักเศรษฐศาสตร์สำนักเดิมและ Keynes โดย Paul Samualson (1948) ในหนังสือ Economics และกลายเป็นแบบจำลองที่ใช้แพร่หลายในการวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ ทางเศรษฐศาสตร์มหภาค

แบบจำลองดังกล่าว แสดงลักษณะของระบบเศรษฐกิจซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนสำคัญ คือ อุปสงค์รวม (en:Aggregate demand) และอุปทานรวม (en:Aggregate supply) โดยอุปสงค์รวมถูกกำหนดจากดุลยภาพในตลาดสินค้า (goods market) และตลาดเงิน (money market) ส่วนอุปทานรวมถูกกำหนดจากดุลยภาพในตลาดแรงงาน (labour market) และเทคโนโลยีการผลิต ซึ่งแสดงโดยสมการการผลิต (en:production function) เมื่ออุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวมของระบบเศรษฐกิจ แบบจำลองจึงสามารถกำหนดระดับผลผลิตดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจได้

แนวคิดหลักทางเศรษฐศาสตร์มหภาคของเคนส์คือ

  • ระบบเศรษฐกิจไม่มีเสถียรภาพ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงของอุปสงค์รวมของภาคเอกชน คือ การบริโภค และการลงทุน ทำให้ผลผลิตมีความผันผวน
  • เมื่อเกิดความผันผวนขึ้น ระบบเศรษฐกิจจะไม่สามารถปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพ ณ ระดับการจ้างงานเต็มที่ได้ หรือใช้เวลานานในการปรับตัว เพราะกลไกราคาทำงานได้ไม่เต็มที่ เนื่องจากระดับราคาและค่าจ้างที่เป็นตัวเงินปรับตัวไม่ได้อย่างสมบูรณ์และถูกจำกัด (rigidity)
  • ระดับการจ้างงานและผลผลิตดุลยภาพ จะถูกกำหนดจากปัจจัยทั้งทางด้านอุปสงค์และอุปทาน ดังนั้นส่วนประกอบของอุปสงค์รวม ซึ่งก็คือ การบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และการใช้จ่ายของภาครัฐ จึงมีความสำคัญในการกำหนดระดับผลผลิต
  • รัฐสามารถใช้นโยบายเข้าแทรกแซงในระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพในระดับที่เหมาะสม ทั้งนี้เครื่องมือทางนโยบายที่มีประสิทธิภาพ คือ นโยบายการคลัง ซึ่งได้แก่ การเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาล

ดังนั้นตามแนวคิดของเคนส์ จึงสามารถประมวลเป็นข้อสรุปทางนโยบายที่สำคัญคือ

  • เนื่องจากอุปสงค์ของภาคเอกชนมีความไม่แน่นอน ดังนั้นรัฐจึงควรเข้ามาแทรกแซงเพื่อให้ระบบเศรษฐกิจปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพ โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดเศรษฐกิจตกต่ำ
  • เครื่องมือที่รัฐใช้ ควรเป็นนโยบายการคลัง ทั้งนี้เพราะในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ การใช้นโยบายการเงินโดยการเพิ่มปริมาณเงินจะไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากเกิดกับดักสภาพคล่อง ทำให้ปริมาณเงินที่รัฐเพิ่มเข้าไปในระบบเศรษฐกิจถูกถือไว้เฉย ๆ โดยภาคเอกชน เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพคือนโยบายการคลัง โดยการเพิ่มรายจ่ายของรัฐ

ข้อเสนอของเคนส์เป็นที่ยอมรับทั้งในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เพราะทำให้คนว่างานลดลงอย่างมาก ทำให้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคตามแนวคิดเคนส์ เป็นแนวคิดหลักต่อมาอีกหลายปี โดยในช่วงแรกนั้น ข้อเสนอทางด้านนโยบายส่วนใหญ่จะเน้นทางด้านนโยบายการคลัง จนกระทั่งนโยบายการเงินและบทบาทของเงินเริ่มเป็นที่กล่าวถึงในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 เนื่องจากการเสนอแนวคิดในเรื่องการทดแทนกัน (trade-off) ระหว่างการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อ ซึ่งอธิบายด้วยเส้นฟิลลิปส์ (en:Phillips curve)

การปฏิบัติ

แนวทางแบบทักษิโณมิกส์ที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจที่อยู่ในช่วงตกต่ำให้กลับฟื้นตัวขึ้นมาอีกครั้ง ก็คือ ส่งเสริมการบริโภคของประชาชน เพื่อขยายอุปสงค์รวมของประเทศให้สูงขึ้น อันจะนำไปสู่การลดการพึ่งพาการส่งออก ซึ่งอาจผันผวนได้ตลอดเวลา. หลังจากนั้น เมื่อเศรษฐกิจภายในมีเสถียรภาพในระดับหนึ่งแล้ว จึงจะกระตุ้นการลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนต่อไปได้

โดยวิธีหนึ่งที่รัฐบาลทักษิณเลือกใช้กระตุ้นการบริโภคภายในประเทศก็คือ การกระจายทรัพยากรทางการเงินไปสู่ประชาชนระดับ รากหญ้า ผ่านทางโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล เช่น โครงการพักการชำระหนี้ของเกษตรกร โครงการธนาคารประชาชน โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการบ้านเอื้ออาทร ฯลฯ

ส่วนการกระตุ้นการลงทุนภาคเอกชนนั้น ในสมัยรัฐบาลทักษิณ 2 ได้มีนโยบายปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ โดยจัดแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม (คลัสเตอร์) ออกเป็นห้ากลุ่มยุทธศาสตร์หลัก เช่น การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมรถยนต์ เป็นต้น แล้วทำการส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์เหล่านี้. สำหรับการลงทุนภาครัฐ ได้ลงทุนและมีแผนจะลงทุนในโครงการขนาดยักษ์ (เมกะโปรเจกต์) ต่าง ๆ เช่น โครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน โครงการระบบโลจิสติกส์ ซึ่งมีมูลค่ารวมกันสูงถึง 1.7 ล้านล้านบาท เป็นการกระตุ้นการลงทุนต่อจากกระตุ้นการบริโภคในช่วงสมัยแรกของรัฐบาล เพื่อรักษาไม่ให้อุปสงค์รวมมีผล (en:Effective Demand) ตกต่ำลง

นักวิจารณ์มองว่าแนวทางนี้นั้น ไม่ต่างอะไรไปจากเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ ของจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ และเศรษฐกิจไทยในช่วงรัฐบาลทักษิณนั้น ก็ยังคงเติบโตจากการส่งออกเป็นหลักเช่นเดิม ส่วนการบริโภคภายในประเทศก็เพิ่มขึ้นอย่างมากเพียงแค่ระดับปานกลางเท่านั้น และการที่ธนาคารของรัฐเร่งปล่อยกู้นั้น ก็อาจจะนำไปสู่หนี้เสียในที่สุด แนวทางนี้ กลุ่มผู้ไม่เห็นด้วยมองว่าเป็นนโยบายประชานิยม ที่ทำไปเพื่อหวังคะแนนเสียงจากประชาชน ทั้งยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าเหมาะสมหรือไม่ เนื่องจากนอกจากอาจจะเป็นการสูญเปล่าไม่ได้ผลอะไรกลับมาแล้ว ยังอาจจะสร้างนิสัยการบริโภคเกินตัวของประชาชนอีกด้วย

อย่างไรก็ดี ในช่วงแรกของการใช้นโนบายนี้ เศรษฐกิจของไทยขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วมาก ผิดจากการคาดหมายของนักเศรษฐศาสตร์ที่ไม่เห็นด้วยบางท่าน เช่น ดร. อัมมาร์ สยามวาลา ที่เคยคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2544 จะโตเพียง 1.5% แต่เศรษฐกิจของไทยในปีนั้นก็ขยายตัวถึง 5.2% อย่างก็ไรก็ตามก็ยังมีเสียงเตือนว่า โครงสร้างเศรษฐกิจพื้นฐานนั้น ยังไม่ได้รับการแก้ปัญหาอย่างแท้จริง ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหาขึ้นอีกเมื่อไรก็ได้

ดร. สุวินัย ภรณวลัย ได้กล่าวว่า ทักษิโณมิกส์เป็นนโยบายประชานิยมที่ประสบความสำเร็จอย่างน่าเหลือเชื่อ ซึ่งน่าจะทำให้พรรคไทยรักไทยได้ทำหน้าที่บริหารประเทศอย่างยาวนาน อย่าง พรรค LDP ของประเทศญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม การทำให้ประชาชนพึ่งทักษิโณมิกส์มากเกินไปอาจทำให้รัฐบาลแบกภาระมากเกินไป และอาจทำให้ทุกอย่างล้มเหลวได้

การตอบรับ

การสนับสนุน

ผู้สนับสนุนกล่าวว่า จุดเด่นของทักษิโณมิกส์อยู่ที่การไม่ยึดแบบจำลองทางเศรษฐกิจอย่างตายตัว มีลักษณะเป็นพลวัตรและยืดหยุ่นสูง ทำให้สามารถปรับตัวรับกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ค่อนข้างดี เช่นในปี พ.ศ. 2548 เศรษฐกิจไทยต้องเผชิญผลกระทบจากไข้หวัดนก คลื่นสึนามิ รวมทั้งราคาน้ำมันที่สูงถึง 69 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาเรล แต่เศรษฐกิจไทยก็ยังขยายตัวได้ถึง 4.7%

การวิพากษ์วิจารณ์

ผู้วิพากษ์วิจารณ์ทักษิโณมิกส์ สามารถแบ่งกว้าง ๆ ออกได้เป็นหลายกลุ่ม เช่น

  • กลุ่มนักเศรษฐศาสตร์ที่วิจารณ์ทักษิโณมิกส์ในช่วงแรก ซึ่งมักเป็นผู้ที่ได้รับการศึกษามาจากสหรัฐอเมริกาอเมริกาในช่วงปี ค.ศ. 1950-1970 กลุ่มนี้มีความเคยชินกับระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งสอง ที่สหรัฐอเมริกาประสบปัญหาชะงักทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อสูง และภาวะการว่างงานสูง ที่เรียกว่า Stagflation ซึ่งไม่สามารถใช้วิธีการแบบเคนส์เข้าไปแก้ปัญหาได้ (ซึ่งถูกแก้ไขโดยแนวคิดที่เรียกว่า เรแกนอมิกส์ ในยุคประธานาธิบดีเรแกน) ซึ่งในประเด็นดังกล่าว กลุ่มผู้สนับสนุนทักษิโณมิกส์กล่าวว่าระบบเศรษฐกิจของไทยมีขนาดเล็กกว่าของของสหรัฐอเมริกา จึงไม่สามารถอนุมานได้ว่า วิธีการแบบเคนส์จะใช้กับประเทศไทยไม่ได้ผล
  • ผู้วิจารณ์อีกกลุ่ม มักเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมและการเมือง เช่น น.พ. ประเวศ วะสี เป็นต้น กลุ่มนี้มักมองภาพในมุมมองกว้างกว่าระบบเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่มองไปจนถึงระบบสังคมอีกด้วย กลุ่มนี้ไม่เชื่อในทุนนิยม ซึ่งเป็นพื้นฐานของทักษิโณมิกส์ และสนับสนุนระบบเศรษฐกิจทางเลือกอื่น เช่น ระบบเศรษฐกิจแบบยั่งยืน การค้าที่เป็นธรรม หรือแนวทางสังคมนิยม เป็นต้น แต่ในทางตรงกันข้าม นักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักก็มองว่าระบบเศรษฐกิจที่ยั่งยืนนั้น เป็นเพียงแนวความคิด และไม่มีแนวปฏิบัติอย่างชัดเจนที่จะทำให้เกิดขึ้นจริงได้เช่นกัน

ดร. สุวินัย ภรณวลัย ได้กล่าวว่า ความเชื่อของทักษิโณมิกส์มีหลักว่าเงินสามารถแก้ปัญหาได้ และการได้เสียงจากประชาชนเป็นความชอบธรรมในการบริหารประเทศ ซึ่งความสำเร็จของมันจะขึ้นอยู่กับคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารเป็นสำคัญ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. บทความ "ทักษิโณมิกส์" แม่แบบเศรษฐกิจไทยในอนาคต ของ ดร. สุวินัย ภรณวลัย; ใน เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2549). ผ่าอนาคตประเทศไทย 2552. บริษัท ฐานการพิมพ์จำกัด. หน้า 35-36.
  2. Thaksinomics: Dual Track Policy and Social Capitalism 2007-03-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ภาษาไทย) รศ. ดร. ถวิล นิลใบ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  3. ดร. ดาเนียล เลียน นั้นมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ พ.ต.ท. ทักษิณ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2548 หนังสือพิมพ์ไทยเดย์ 2007-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ได้ตีพิมพ์จดหมายจากเลียนถึงทักษิณ มีใจความขอบคุณที่จัดเลี้ยงอาหารอย่างดี
  4. บทความ "ทักษิโณมิกส์" แม่แบบเศรษฐกิจไทยในอนาคต ของ ดร. สุวินัย ภรณวลัย; ใน เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2549). ผ่าอนาคตประเทศไทย 2552. บริษัท ฐานการพิมพ์จำกัด. หน้า 39-40.
  5. บทความ "ทักษิโณมิกส์" แม่แบบเศรษฐกิจไทยในอนาคต ของ ดร. สุวินัย ภรณวลัย; ใน เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2549). ผ่าอนาคตประเทศไทย 2552. บริษัท ฐานการพิมพ์จำกัด. หน้า 37-38.
  6. บทความ "ทักษิโณมิกส์" แม่แบบเศรษฐกิจไทยในอนาคต ของ ดร. สุวินัย ภรณวลัย; ใน เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2549). ผ่าอนาคตประเทศไทย 2552. บริษัท ฐานการพิมพ์จำกัด. หน้า 42-43.

แหล่งข้อมูลอื่น

กษ, โณม, กส, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกล, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เ. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxklingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudthksionmiks xngkvs Thaksinomics epnkhaeriyknoybayesrsthkicinsmythi ph t th thksin chinwtr darngtaaehnngnaykrthmntriithy odyphuthiichkhanikhrngaerkkhuxnangklxeriy makhapakl xaroroy prathanathibdiaehngfilippins insunthrphcnnganprachumkhwamrwmmuxthangesrsthkicexechiy aepsifik emux ph s 2546 odyhnunginphuthisnbsnunnoybayesrsthkicdngklawthioddednthisud khux aedeniyl eliyn nkesrsthsastrkhxngmxraekn saetnliydr suwiny phrnwly rxngsastracarypracakhnaesrsthsastr mhawithyalythrrmsastr idklawwa thksionmiksepnpradisthkrrmkhxng ph t th thksin odyepnkhwamkhidkhxngnkklyuththechingsmyniym ephuxcdkarthangklyuthth karrwbrwmxngkhkhwamru ephuxbrrluepahmaythngswntwaelaswnrwm sungdaeninkarthukwithithangephuxihipsuepahmay aelaxacmikarichkhwamrunaerng ephuxihekhaepnphuchna 1 enuxha 1 prawti 2 niyam 2 1 karekidihmkhxngrabbesrsthkicaebbekhns 3 karptibti 4 kartxbrb 4 1 karsnbsnun 4 2 karwiphakswicarn 5 duephim 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunprawti aekikhthksionmiks epnchuxeriykodythwipkhxngnoybayesrsthkickhxngrthbalthksin sungmungennkarichcayphakhrthbal aelasrangrayidcakkarsngxxkaelakarthxngethiyw ephuxaekpyhakhwamthdthxythangesrsthkicthiepnphlmacakwikvtkarnthangkarengin emuxpi ph s 2540 sungsaehtukarekidwikvtkarninkhrngnnmacakprimanenginthiihlekhamacanwnmak ephuxaeswnghakaircakswntangxtradxkebiyaelacaktladhun inkhnaediywknkmikarichenginphidpraephth ephraakuenginrayasnmaephuxplxykurayayaw aelakarplxysinechuxkimkxihekidkarphlitthiaethcringkhuninrabbesrsthkic cnthaihekidphawaesrsthkicfxngsbukhun aelasngphlihrakhahlkthrphyaelaxsngharimthrphymirakhasungkwapccyphunthan khnathirakhasinkhaxunimepliynaeplngphawaesrsthkicfxngsbu thaihxupsngkhrwminrabbesrsthkicephimkhunxyangrwderw khnathidulkarkhaaeladulbychiedinsaphdkhaddultidtxknepnewlanan ephraamikarnaekhasinkhathuninprimanaelamulkhathisungkwakarsngxxksuththi sngphlihkhaenginbaththiaethcringldlng emuxthukocmtikhaengin radbthunsarxngrahwangpraethskhxngithy kimephiyngphxthicaphyungkhaenginbathtamrabbxtraaelkepliynkhngthiiwid cntxngmikarepliynaeplngrabbxtraaelkepliyn maepnrabbxtraaelkepliynaebblxytwaebbmikarcdkar emuxwnthi 2 krkdakhm ph s 2540 cntxngkhxkuyumengincakkxngthunkarenginrahwangpraeths ephraathunsarxngrahwangpraethsldnxylngcnimephiyngphxcharahnitangpraethswikvtkarnthangkarenginkhxngithy sngphlkrathbtxphakhkarenginkhxngithyxyangrunaerng cntxngmikarpidbristhenginthunaelabristhhlkthrphy 56 aehng rwmthngkickarthnakhar khnathipharahnitangpraethskephimsungkhun ephraarthbalaelakxngthunfunfu ekhaipaebkrbpharahnikhxngthnakharaelasthabnkarenginehlannnxkcaknnyngthaihrabbesrsthkickhxngithythdthxytidtxknepnewlahlaypi enuxngcakkarphngthlaykhxngphakhkarenginithy ephraasthabnkarenginmipharahnithiimkxihekidrayidcanwnmak khnathiprimanengininrabbkldnxylng ephraakarihlxxkkhxngenginthun rwmthnghniphakhrththimiprimansungkwa 2 lanlanbath swnkarsngxxkkimsamarthepntwkratunxupsngkhrwmphayinpraethstxipid ephraakhwamthdthxykhxngphawaesrsthkicolk aelakhwamidepriybkhxngkhuaekhngkhn sungsamarthsngxxksinkhainrakhathithukkwa rthbalcungekhamamibthbathaethnthiphakhexkchn dwykarkratunxupsngkhrwmphayinpraeths phankarichcaytamokhrngkartang thngthiepnkarbriophkh aelakarlngthunthksionmikskhxngrthbalthksin idrbkarklawkhanwaaekpyhaidinradbhnung ephraakaraethrkaesngkliktladthukradb klawkhux mungichnoybaykarkhlngmakkwanoybaykarengin thaihkarichcaykhxngrthbalmiprimansung thnginrupkhxngengininngbpramanrthbal aelaenginnxkngbpramanphanrthwisahkic ephuxkratunxupsngkhrwmkhxngpraethsihidaelaxtrakarecriyetibotthangesrsthkicthisungkhun aetksrangkhxkngwlxikmakmayechnknniyam aekikhkardaeninesrsthkicaebbthksionmiksnn thksinniyamwakhux noybayesrsthkic 2 aenwthang Dual Track Policy 2 odyklawwanoybayni khuxsutrinkarsrangkhwametibotihkbesrsthkicithy aenwthangaerkkhux kratunkarsngxxk karlngthuncaktangpraeths aelakarthxngethiyw ephuxnaengintratangpraethsekhamainpraeths aelaaenwthangthisxngkhux karkratunipinradbrakhya mungipthiekstrkr chwyehluxphuprakxbkarkhnadklangaelakhnadyxm aelasrangphuprakxbkarrayihm thng 2 aenwthangmikhwammunghmaykratunkaretibotkhxngesrsthkic odyhathangldraycay ephimrayid aelakhyayoxkasihprachachn dr daeniyl eliyn en Daniel Lian 3 hwhnafaywiekhraahesrsthkicphumiphakhexechiytawnxxkechiyngit khxngbristhmxraekn saetnely eriyklksnaesrsthkicaebbniwa sngkhmthunniym Social Capitalism hlkkarkhux karprayuktrabbthunniymekhakbrabbsngkhmniym ephraarabbthunniymepnrabbthimiepahmayaetimmixudmkarn swnrabbsngkhmniymepnrabbthimixudmkarnaetimmiepahmay 4 noybayesrsthkic 2 aenwthang epnkarprbsngkhmesrsthkicthanlangihepnrabbsngkhmniymthimiepahmay swnesrsthkicthanbnichrabbthunniymthimixudmkarn aetnxkehnuxcakkarkratunesrsthkicihetibotaebb noybayesrsthkic 2 aenwthang aelw bangswnkhxngnoybaythksionmikskhux karaethrktwekhasutladhun thaihtladhunetibot ephuxichepnchxngthangrabayhunrthwisahkicxxkipihmakthisud epnkarechuxmoyngrahwangdchnitladhun kbkarsrangmulkhasinthrphykhxngrth ephuxpraoychnthangesrsthkicodyrthbalidichklikechuxmoyngcaktladhunipsuxupsngkhrwmrabbesrsthkic dwywithikarnasinthrphyintladhunepliynihepnkraaesenginsd ichtxsaypanmahmunesrsthkicxikrxb hruxxiknyhnungkkhux ichtladhunsrangkhwammngkhngthangesrsthkic aelaphlkdnihrthwisahkicxxkcakxxmxkkhxngrthbal ihyunbnkhakhxngtwexng karaeprruprthwisahkickhnadihycasaerchruxim khunxyukbphawatladhunepnenguxnikhsakhythisud ephraanncahmaythungkaraekpyhahnisatharnainrayayawaebbebdesrcdwythksionmiks miaenwonmkarxasykhwamsamarthinechingbriharcdkarkhxngfaybriharepnkliksakhyinkarbriharonbay caehnidcakkarcdsrrngbpramanklangcanwnsungodyimidkahndraylaexiydkarichcaylwnghna hruxkarekhaiptrungrakhanamnechuxephlingodyhwngwarakhanamnintladolkcaimkhunsungxyangtxenuxng xaceriykidwaepnrabb managed market economy karekidihmkhxngrabbesrsthkicaebbekhns aekikh aebbcalxngsthitsungepnthiruckknxyangaephrhlayaelapraktintaraesrsthsatrmhphakhthwipkkhux aebbcalxng en IS LM aebbcalxngdngklawekidcakkartikhwamaenwkhidkhxng cxhn emynard ekhns odyesxr cxhn hiks en Sir John Hicks 1937 aelatxmaidephimetimkarepriybethiybaenwkhidkhxngthngnkesrsthsastrsankedimaela Keynes ody Paul Samualson 1948 inhnngsux Economics aelaklayepnaebbcalxngthiichaephrhlayinkarwiekhraahpraedntang thangesrsthsastrmhphakhaebbcalxngdngklaw aesdnglksnakhxngrabbesrsthkicsungprakxbdwy 2 swnsakhy khux xupsngkhrwm en Aggregate demand aelaxupthanrwm en Aggregate supply odyxupsngkhrwmthukkahndcakdulyphaphintladsinkha goods market aelatladengin money market swnxupthanrwmthukkahndcakdulyphaphintladaerngngan labour market aelaethkhonolyikarphlit sungaesdngodysmkarkarphlit en production function emuxxupsngkhrwmethakbxupthanrwmkhxngrabbesrsthkic aebbcalxngcungsamarthkahndradbphlphlitdulyphaphkhxngrabbesrsthkicidaenwkhidhlkthangesrsthsastrmhphakhkhxngekhnskhux rabbesrsthkicimmiesthiyrphaph enuxngcakkarepliynaeplngephimkhunhruxldlngkhxngxupsngkhrwmkhxngphakhexkchn khux karbriophkh aelakarlngthun thaihphlphlitmikhwamphnphwnemuxekidkhwamphnphwnkhun rabbesrsthkiccaimsamarthprbtwekhasudulyphaph n radbkarcangnganetmthiid hruxichewlananinkarprbtw ephraaklikrakhathanganidimetmthi enuxngcakradbrakhaaelakhacangthiepntwenginprbtwimidxyangsmburnaelathukcakd rigidity radbkarcangnganaelaphlphlitdulyphaph cathukkahndcakpccythngthangdanxupsngkhaelaxupthan dngnnswnprakxbkhxngxupsngkhrwm sungkkhux karbriophkhphakhexkchn karlngthunphakhexkchn aelakarichcaykhxngphakhrth cungmikhwamsakhyinkarkahndradbphlphlitrthsamarthichnoybayekhaaethrkaesnginrabbesrsthkic ephuxihrabbesrsthkicprbtwekhasudulyphaphinradbthiehmaasm thngniekhruxngmuxthangnoybaythimiprasiththiphaph khux noybaykarkhlng sungidaek karephimkarichcaykhxngrthbaldngnntamaenwkhidkhxngekhns cungsamarthpramwlepnkhxsrupthangnoybaythisakhykhux enuxngcakxupsngkhkhxngphakhexkchnmikhwamimaennxn dngnnrthcungkhwrekhamaaethrkaesngephuxihrabbesrsthkicprbtwekhasudulyphaph odyechphaainchwngthiekidesrsthkictktaekhruxngmuxthirthich khwrepnnoybaykarkhlng thngniephraainchwngesrsthkictkta karichnoybaykarenginodykarephimprimanengincaimmiprasiththiphaph enuxngcakekidkbdksphaphkhlxng thaihprimanenginthirthephimekhaipinrabbesrsthkicthukthuxiwechy odyphakhexkchn ekhruxngmuxthimiprasiththiphaphkhuxnoybaykarkhlng odykarephimraycaykhxngrthkhxesnxkhxngekhnsepnthiyxmrbthnginshrachxanackraelashrthxemrikaxemrikainchwngsngkhramolkkhrngthisxng ephraathaihkhnwanganldlngxyangmak thaihthvsdiesrsthsastrmhphakhtamaenwkhidekhns epnaenwkhidhlktxmaxikhlaypi odyinchwngaerknn khxesnxthangdannoybayswnihycaennthangdannoybaykarkhlng cnkrathngnoybaykarenginaelabthbathkhxngenginerimepnthiklawthunginplaykhristthswrrs 1960 enuxngcakkaresnxaenwkhidineruxngkarthdaethnkn trade off rahwangkarwangnganaelaxtraenginefx sungxthibaydwyesnfillips en Phillips curve karptibti aekikhaenwthangaebbthksionmiksthicakratunesrsthkicthixyuinchwngtktaihklbfuntwkhunmaxikkhrng kkhux sngesrimkarbriophkhkhxngprachachn ephuxkhyayxupsngkhrwmkhxngpraethsihsungkhun xncanaipsukarldkarphungphakarsngxxk sungxacphnphwnidtlxdewla hlngcaknn emuxesrsthkicphayinmiesthiyrphaphinradbhnungaelw cungcakratunkarlngthunthngphakhrthaelaexkchn ephuxihrabbesrsthkichmunewiyntxipidodywithihnungthirthbalthksineluxkichkratunkarbriophkhphayinpraethskkhux karkracaythrphyakrthangkarenginipsuprachachnradb rakhya phanthangokhrngkartang khxngrthbal echn okhrngkarphkkarcharahnikhxngekstrkr okhrngkarthnakharprachachn okhrngkarhnungtablhnungphlitphnth okhrngkarkxngthunhmuban okhrngkarbanexuxxathr lswnkarkratunkarlngthunphakhexkchnnn insmyrthbalthksin 2 idminoybayprbokhrngsrangthangesrsthkic odycdaebngklumxutsahkrrm khlsetxr xxkepnhaklumyuththsastrhlk echn karthxngethiyw xutsahkrrmrthynt epntn aelwthakarsngesrimaelasnbsnunklumxutsahkrrmyuththsastrehlani sahrbkarlngthunphakhrth idlngthunaelamiaephncalngthuninokhrngkarkhnadyks emkaopreckt tang echn okhrngkarrthiffakhnsngmwlchn okhrngkarrabbolcistiks sungmimulkharwmknsungthung 1 7 lanlanbath epnkarkratunkarlngthuntxcakkratunkarbriophkhinchwngsmyaerkkhxngrthbal ephuxrksaimihxupsngkhrwmmiphl en Effective Demand tktalngnkwicarnmxngwaaenwthangninn imtangxairipcakesrsthsastraebbekhns khxngcxhn emynard ekhns nkesrsthsastrchawxngkvs aelaesrsthkicithyinchwngrthbalthksinnn kyngkhngetibotcakkarsngxxkepnhlkechnedim swnkarbriophkhphayinpraethskephimkhunxyangmakephiyngaekhradbpanklangethann aelakarthithnakharkhxngrtherngplxykunn kxaccanaipsuhniesiyinthisud aenwthangni klumphuimehndwymxngwaepnnoybayprachaniym thithaipephuxhwngkhaaennesiyngcakprachachn thngyngepnthithkethiyngknxyuwaehmaasmhruxim enuxngcaknxkcakxaccaepnkarsuyeplaimidphlxairklbmaaelw yngxaccasrangnisykarbriophkhekintwkhxngprachachnxikdwyxyangirkdi inchwngaerkkhxngkarichnonbayni esrsthkickhxngithykhyaytwkhunxyangrwderwmak phidcakkarkhadhmaykhxngnkesrsthsastrthiimehndwybangthan echn dr xmmar syamwala thiekhykhadkarnwaesrsthkicpi ph s 2544 caotephiyng 1 5 aetesrsthkickhxngithyinpinnkkhyaytwthung 5 2 xyangkirktamkyngmiesiyngetuxnwa okhrngsrangesrsthkicphunthannn yngimidrbkaraekpyhaxyangaethcring sungcathaihekidpyhakhunxikemuxirkiddr suwiny phrnwly idklawwa thksionmiksepnnoybayprachaniymthiprasbkhwamsaercxyangnaehluxechux sungnacathaihphrrkhithyrkithyidthahnathibriharpraethsxyangyawnan xyang phrrkh LDP khxngpraethsyipun xyangirktam karthaihprachachnphungthksionmiksmakekinipxacthaihrthbalaebkpharamakekinip aelaxacthaihthukxyanglmehlwid 5 kartxbrb aekikhkarsnbsnun aekikh phusnbsnunklawwa cudednkhxngthksionmiksxyuthikarimyudaebbcalxngthangesrsthkicxyangtaytw milksnaepnphlwtraelayudhyunsung thaihsamarthprbtwrbkbsthankarntang idkhxnkhangdi echninpi ph s 2548 esrsthkicithytxngephchiyphlkrathbcakikhhwdnk khlunsunami rwmthngrakhanamnthisungthung 69 dxllarshrthtxbaerl aetesrsthkicithykyngkhyaytwidthung 4 7 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarwiphakswicarn aekikh phuwiphakswicarnthksionmiks samarthaebngkwang xxkidepnhlayklum echn klumnkesrsthsastrthiwicarnthksionmiksinchwngaerk sungmkepnphuthiidrbkarsuksamacakshrthxemrikaxemrikainchwngpi kh s 1950 1970 klumnimikhwamekhychinkbrabbesrsthkickhxngshrthxemrikahlngsngkhramolkkhrngsxng thishrthxemrikaprasbpyhachangkthangesrsthkic xtraenginefxsung aelaphawakarwangngansung thieriykwa Stagflation sungimsamarthichwithikaraebbekhnsekhaipaekpyhaid sungthukaekikhodyaenwkhidthieriykwa eraeknxmiks inyukhprathanathibdieraekn sunginpraedndngklaw klumphusnbsnunthksionmiksklawwarabbesrsthkickhxngithymikhnadelkkwakhxngkhxngshrthxemrika cungimsamarthxnumanidwa withikaraebbekhnscaichkbpraethsithyimidphl phuwicarnxikklum mkepnnkekhluxnihwthangsngkhmaelakaremuxng echn n ph praews wasi epntn klumnimkmxngphaphinmummxngkwangkwarabbesrsthkicephiyngxyangediyw aetmxngipcnthungrabbsngkhmxikdwy klumniimechuxinthunniym sungepnphunthankhxngthksionmiks aelasnbsnunrabbesrsthkicthangeluxkxun echn rabbesrsthkicaebbyngyun karkhathiepnthrrm hruxaenwthangsngkhmniym epntn aetinthangtrngknkham nkesrsthsastrkraaeshlkkmxngwarabbesrsthkicthiyngyunnn epnephiyngaenwkhwamkhid aelaimmiaenwptibtixyangchdecnthicathaihekidkhuncringidechnkndr suwiny phrnwly idklawwa khwamechuxkhxngthksionmiksmihlkwaenginsamarthaekpyhaid aelakaridesiyngcakprachachnepnkhwamchxbthrrminkarbriharpraeths sungkhwamsaerckhxngmncakhunxyukbkhunthrrmcriythrrmkhxngphubriharepnsakhy 6 duephim aekikhrabxbthksinxangxing aekikh bthkhwam thksionmiks aemaebbesrsthkicithyinxnakht khxng dr suwiny phrnwly in epiymskdi khunakrprathip 2549 phaxnakhtpraethsithy 2552 bristh thankarphimphcakd hna 35 36 Thaksinomics Dual Track Policy and Social Capitalism Archived 2007 03 02 thi ewyaebkaemchchin phasaithy rs dr thwil nilib khnaesrsthsastr mhawithyalyramkhaaehng dr daeniyl eliyn nnmikhwamsmphnthiklchidkb ph t th thksin ineduxntulakhmph s 2548 hnngsuxphimphithyedy Archived 2007 03 12 thi ewyaebkaemchchin idtiphimphcdhmaycakeliynthungthksin miickhwamkhxbkhunthicdeliyngxaharxyangdi bthkhwam thksionmiks aemaebbesrsthkicithyinxnakht khxng dr suwiny phrnwly in epiymskdi khunakrprathip 2549 phaxnakhtpraethsithy 2552 bristh thankarphimphcakd hna 39 40 bthkhwam thksionmiks aemaebbesrsthkicithyinxnakht khxng dr suwiny phrnwly in epiymskdi khunakrprathip 2549 phaxnakhtpraethsithy 2552 bristh thankarphimphcakd hna 37 38 bthkhwam thksionmiks aemaebbesrsthkicithyinxnakht khxng dr suwiny phrnwly in epiymskdi khunakrprathip 2549 phaxnakhtpraethsithy 2552 bristh thankarphimphcakd hna 42 43 aehlngkhxmulxun aekikhthksionmiks Archived 2004 08 16 thi ewyaebkaemchchin wirphngs ramangkur thksionmiks esrsthsastraebbthksin rngsrrkh thnaphrphnthu Thaksinomics com rwmrwmeruxngekiywkbthksionmiks phasaxngkvs bthkhwamekiywkbesrsthsastr karengin thurkic hrux karkhaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul ekhathungcak https th wikipedia org w index php title thksionmiks amp oldid 9644927, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม