fbpx
วิกิพีเดีย

การแบ่งแยกนิวเคลียส

การแบ่งแยกนิวเคลียส หรือ นิวเคลียร์ฟิชชัน (อังกฤษ: nuclear fission) ในสาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์และเคมีนิวเคลียร์ เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์หรือกระบวนการการสลายกัมมันตรังสีอย่างหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอม แตกออกเป็นชิ้นขนาดเล็ก (นิวเคลียสที่เบากว่า) กระบวนการฟิชชันมักจะผลิตนิวตรอนและโปรตอนอิสระ (ในรูปของรังสีแกมมา) พร้อมทั้งปลดปล่อยพลังงานออกมาจำนวนมาก แม้ว่าจะเป็นการปลดปล่อยจากการสลายกัมมันตรังสีก็ตาม

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิซชันแบบเหนี่ยวนำ นิวตรอนถูกดูดซับโดยนิวเคลียสของยูเรเนียม-235 เปลี่ยนมันให้เป็นนิวเคลียสของยูเรเนียม-236 พร้อมกับพลังงานการกระตุ้นที่เกิดจากพลังงานจลน์ของนิวตรอนบวกกับแรงที่ยึดเหนี่ยวนิวตรอนไว้ในนิวเคลียส ผลก็คือ ยูเรเนียม-236 แยกออกเป็นส่วนประกอบที่เบากว่าและความเร็วสูง(ผลผลิตจากฟิชชัน) และปลดปล่อยนิวตรอนอิสระออกมาสามตัว ในขณะเดียวกันก็ผลิต"รังสีแกมมาฉับพลัน" (อังกฤษ: prompt gamma rays) ออกมาด่วย (ไม่ได้แสดงในภาพ)

นิวเคลียร์ฟิชชันของธาตุหนักถูกค้นพบเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 1938 โดยชาวเยอรมัน นายอ็อตโต ฮาห์นและผู้ช่วยของเขา นายฟริตซ์ Strassmann และได้รับการอธิบายในทางทฤษฎีในเดือนมกราคมปี 1939 โดยนาง Lise Meitner และหลานชายของเธอ นายอ็อตโต โรเบิร์ต Frisch. Frisch ได้ตั้งชื่อกระบวนการนี้โดยการเปรียบเทียบกับฟิชชันทางชีวภาพของเซลล์ที่มีชีวิต มันเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน (อังกฤษ: exothermic reaction) อย่างหนึ่งซึ่งสามารถปลดปล่อยพลังงานจำนวนมากในรูปของทั้งรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าและพลังงานจลน์ของชิ้นส่วนย่อยที่แตกออก (ความร้อนที่ให้กับวัสดุที่เป็นกลุ่มในขณะที่ปฏิกิริยาการแบ่งแยกเกิดขึ้น) เพื่อให้การหลอมสามารถผลิตพลังงานขึ้นมาได้ พลังงานยึดเหนี่ยวนิวเคลียสโดยรวมขององค์ประกอบที่เกิดขึ้นจะต้องเป็นลบน้อยกว่า (พลังงานที่สูงขึ้น) กว่าพลังงานขององค์ประกอบช่วงเริ่มต้น

ฟิชชันเป็นรูปแบบหนึ่งของการแปลงพันธ์นิวเคลียส (อังกฤษ: nuclear transmutation) เพราะชิ้นส่วนที่แตกออกไม่ได้มีองค์ประกอบทางเคมีเดียวกันกับอะตอมเดิม ทั้งสองนิวเคลียสที่ถูกผลิตส่วนใหญ่มักจะมีขนาดเทียบเคียงกันแต่แตกต่างกันเล็กน้อย โดยทั่วไปมักจะมีอัตราส่วนมวลของผลิตภัณฑ์อยู่ที่ประมาณ 3 ต่อ 2 สำหรับไอโซโทปของวัสดุฟิสไซล์ธรรมดา ฟิชชันส่วนใหญ่จะเป็นฟิชชันแบบไบนารี (ผลิตชิ้นแตกที่มีประจุสองชิ้น) แต่ในบางครั้ง (2-4 ครั้งต่อหนึ่งพันเหตุการณ์) ชิ้นแตกที่มีประจุบวก 3 ชิ้นถูกผลิตออกมาในการหลอมที่เรียกว่าฟิชชันสามชิ้น (อังกฤษ: ternary fission) ชิ้นแตกที่เล็กที่สุดในกระบวนการฟิชชันสามชิ้นเหล่านี้มีขนาดในช่วงตั้งแต่โปรตอนจนถึงนิวเคลียสของอาร์กอน

นอกเหนือไปจากฟิชชันที่เกิดจากนิวตรอน ควบคุมและใช้ประโยชน์โดยมนุษย์แล้ว รูปแบบโดยธรรมชาติของการสลายกัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นเอง (ไม่ต้องใช้นิวตรอน) จะยังถูกเรียกว่าฟิชชันเช่นกัน และมันเกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในไอโซโทปที่มีเลขมวลสูงมาก ฟิชชันเกิดเอง ถูกค้นพบในปี 1940 โดย Flyorov, Petrzhak และ Kurchatov ในมอสโก เมื่อพวกเขาได้ตัดสินใจที่จะยืนยันว่า โดยไม่ต้องมีการระดมยิงด้วยนิวตรอน อัตราการเกิดฟิชชันของยูเรเนียมจะเล็กน้อยจนไม่ต้องนำมาคำนวณได้ ตามที่ได้คาดการณ์โดย Niels Bohr; มันไม่ได้เป็นเช่นนั้น

เมฆเห็ดที่ผลิตโดยซาร์บอมบา, ขณะนี้มันเป็นอุปกรณ์นิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยสร้างขึ้นในประวัติศาสตร์ เทียบกับเมฆเห็ดอื่น ๆ ของอุปกรณ์นิวเคลียร์ชนิดต่างๆ จะเห็นระเบิดปรมาณูที่ฮิโระชิมะที่มีขนาดเล็กมาก

องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์เหล่านั้นคาดเดาไม่ได้ (ซึ่งแตกต่างกันไปในวงกว้างของความน่าจะเป็นและลักษณะที่ค่อนข้างวุ่นวาย) พวกมันทำให้ฟิชชันแตกต่างจากกระบวนการควอนตัมอุโมงค์ที่เกิดอย่างชัดเจน เช่นการปล่อยโปรตอน การสลายแอลฟาและการสลายกลุ่ม ที่ในแต่ละครั้งให้ผลิตภัณฑ์ตัวเดียวกัน นิวเคลียร์ฟิชชันผลิตพลังงานเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและขับการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ การนำไปใช้งานทั้งสองนี้เป็นไปได้เพราะสารบางอย่างที่เรียกว่าเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ทำให้เกิดการฟิชชันเมื่อพวกมันถูกกระแทกด้วยนิวตรอนฟิชชัน และส่งผลให้มีการปลดปล่อยนิวตรอนเมื่อนิวเคลียสแตกออก นี้จะทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ที่ยั่งยืนด้วยตนเอง และปล่อยพลังงานออกมาในอัตราที่สามารถควบคุมได้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หรือในอัตราที่ไม่สามารถควบคุมได้อย่างรวดเร็วมากในอาวุธนิวเคลียร์

ปริมาณของ'พลังงานอิสระ'ที่มีอยู่ในเชื้อเพลิงนิวเคลียร์มีเป็นล้านเท่าของปริมาณพลังงานอิสระที่มีอยู่ในมวลที่คล้ายกันของเชื้อเพลิงสารเคมีเช่นน้ำมันก๊าซโซลีน ทำให้นิวเคลียร์ฟิชชนเป็นแหล่งพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์ที่ได้จากนิวเคลียร์ฟิชชันโดยค่าเฉลี่ยจะมีกัมมันตรังสีมากกว่าธาตุหนักทั้งหลายที่ถูกฟิชชันตามปกติเพื่อทำให้เป็นเชื้อเพลิง และยังคงอยู่อย่างนั้นเป็นเวลานานมากอย่างมีนัยสำคัญซึ่งทำให้เกิดปัญหากากนิวเคลียร์เพิ่มขึ้น ความกังวลทั้งหลายเกี่ยวกับการสะสมของกากนิวเคลียร์และเกี่ยวกับศักยภาพในการทำลายล้างของอาวุธนิวเคลียร์อาจถ่วงดุลกับคุณภาพที่พึงประสงค์ของนิวเคลียร์ฟิชชันว่าเป็นแหล่งพลังงานแหล่งหนึ่ง และเพิ่มการอภิปรายทางการเมืองอย่างต่อเนื่องด้านพลังงานนิวเคลียร์

โดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของธาตุขนาดใหญ่แยกตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุที่มีขนาดเล็กลง เรียกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน ซึ่งค่อนข้างจะคุ้นหูสำหรับคนไทยเนื่องจากมีการกล่าวถึงอยู่บ่อยครั้ง ในปัจจุบันมีการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์จากปฏิกิริยาฟิชชันมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และประเทศฝรั่งเศส เป็นต้น แต่การนำเอาปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันมาใช้นั้นมีความเสี่ยงในเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูงมาก ซึ่งเห็นได้จากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นที่โรงงานไฟฟ้าเชอโนเบิล ที่สหภาพโซเวียต ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมายและยังคงเป็นเรื่องเศร้าใจและน่ากลัวจนถึงทุกวันนี้

อ้างอิง

  1. M. G. Arora and M. Singh (1994). Nuclear Chemistry. Anmol Publications. p. 202. ISBN 81-261-1763-X.
  2. Gopal B. Saha (1 November 2010). Fundamentals of Nuclear Pharmacy. Springer. pp. 11–. ISBN 978-1-4419-5860-0.
  3. Петржак, Константин (1989). "Как было открыто спонтанное деление" [How spontaneous fission was discovered]. ใน Черникова, Вера (บ.ก.). Краткий Миг Торжества — О том, как делаются научные открытия [Brief Moment of Triumph — About making scientific discoveries] (ภาษารัสเซีย). Наука. pp. 108–112. ISBN 5-02-007779-8.
  • Elisabeth Crawford, Ruth Lewin Sime, and Mark Walker. "A Nobel Tale of Postwar Injustice", Physics Today Volume 50, Issue 9, 26–32 (1997).

ดูเพิ่ม

การแบ, งแยกน, วเคล, ยส, หร, วเคล, ยร, ชช, งกฤษ, nuclear, fission, ในสาขาฟ, กส, วเคล, ยร, และเคม, วเคล, ยร, เป, นปฏ, ยาน, วเคล, ยร, หร, อกระบวนการการสลายก, มม, นตร, งส, อย, างหน, งท, วเคล, ยสของอะตอม, แตกออกเป, นช, นขนาดเล, วเคล, ยสท, เบากว, กระบวนการฟ, ชช, นม,. karaebngaeykniwekhliys hrux niwekhliyrfichchn xngkvs nuclear fission insakhafisiksniwekhliyraelaekhminiwekhliyr epnptikiriyaniwekhliyrhruxkrabwnkarkarslaykmmntrngsixyanghnungthiniwekhliyskhxngxatxm aetkxxkepnchinkhnadelk niwekhliysthiebakwa krabwnkarfichchnmkcaphlitniwtrxnaelaoprtxnxisra inrupkhxngrngsiaekmma phrxmthngpldplxyphlngnganxxkmacanwnmak aemwacaepnkarpldplxycakkarslaykmmntrngsiktamptikiriyaniwekhliyrfischnaebbehniywna niwtrxnthukdudsbodyniwekhliyskhxngyuereniym 235 epliynmnihepnniwekhliyskhxngyuereniym 236 phrxmkbphlngngankarkratunthiekidcakphlngnganclnkhxngniwtrxnbwkkbaerngthiyudehniywniwtrxniwinniwekhliys phlkkhux yuereniym 236 aeykxxkepnswnprakxbthiebakwaaelakhwamerwsung phlphlitcakfichchn aelapldplxyniwtrxnxisraxxkmasamtw inkhnaediywknkphlit rngsiaekmmachbphln xngkvs prompt gamma rays xxkmadwy imidaesdnginphaph niwekhliyrfichchnkhxngthatuhnkthukkhnphbemuxwnthi 17 thnwakhm 1938 odychaweyxrmn nayxxtot hahnaelaphuchwykhxngekha nayfrits Strassmann aelaidrbkarxthibayinthangthvsdiineduxnmkrakhmpi 1939 odynang Lise Meitner aelahlanchaykhxngethx nayxxtot orebirt Frisch Frisch idtngchuxkrabwnkarniodykarepriybethiybkbfichchnthangchiwphaphkhxngesllthimichiwit mnepnptikiriyakhaykhwamrxn xngkvs exothermic reaction xyanghnungsungsamarthpldplxyphlngngancanwnmakinrupkhxngthngrngsiaemehlkiffaaelaphlngnganclnkhxngchinswnyxythiaetkxxk khwamrxnthiihkbwsduthiepnkluminkhnathiptikiriyakaraebngaeykekidkhun ephuxihkarhlxmsamarthphlitphlngngankhunmaid phlngnganyudehniywniwekhliysodyrwmkhxngxngkhprakxbthiekidkhuncatxngepnlbnxykwa phlngnganthisungkhun kwaphlngngankhxngxngkhprakxbchwngerimtnfichchnepnrupaebbhnungkhxngkaraeplngphnthniwekhliys xngkvs nuclear transmutation ephraachinswnthiaetkxxkimidmixngkhprakxbthangekhmiediywknkbxatxmedim thngsxngniwekhliysthithukphlitswnihymkcamikhnadethiybekhiyngknaetaetktangknelknxy odythwipmkcamixtraswnmwlkhxngphlitphnthxyuthipraman 3 tx 2 sahrbixosothpkhxngwsdufisislthrrmda 1 2 fichchnswnihycaepnfichchnaebbibnari phlitchinaetkthimipracusxngchin aetinbangkhrng 2 4 khrngtxhnungphnehtukarn chinaetkthimipracubwk 3 chinthukphlitxxkmainkarhlxmthieriykwafichchnsamchin xngkvs ternary fission chinaetkthielkthisudinkrabwnkarfichchnsamchinehlanimikhnadinchwngtngaetoprtxncnthungniwekhliyskhxngxarkxnnxkehnuxipcakfichchnthiekidcakniwtrxn khwbkhumaelaichpraoychnodymnusyaelw rupaebbodythrrmchatikhxngkarslaykmmntrngsithiekidkhunexng imtxngichniwtrxn cayngthukeriykwafichchnechnkn aelamnekidkhunodyechphaaxyangyinginixosothpthimielkhmwlsungmak fichchnekidexng thukkhnphbinpi 1940 ody Flyorov Petrzhak aela Kurchatov 3 inmxsok emuxphwkekhaidtdsinicthicayunynwa odyimtxngmikarradmyingdwyniwtrxn xtrakarekidfichchnkhxngyuereniymcaelknxycnimtxngnamakhanwnid tamthiidkhadkarnody Niels Bohr mnimidepnechnnn 3 emkhehdthiphlitodysarbxmba khnanimnepnxupkrnniwekhliyrthiihythisudthimnusyekhysrangkhuninprawtisastr ethiybkbemkhehdxun khxngxupkrnniwekhliyrchnidtang caehnraebidprmanuthihiorachimathimikhnadelkmak xngkhprakxbkhxngphlitphnthehlannkhadedaimid sungaetktangknipinwngkwangkhxngkhwamnacaepnaelalksnathikhxnkhangwunway phwkmnthaihfichchnaetktangcakkrabwnkarkhwxntmxuomngkhthiekidxyangchdecn echnkarplxyoprtxn karslayaexlfaaelakarslayklum thiinaetlakhrngihphlitphnthtwediywkn niwekhliyrfichchnphlitphlngnganephuxphlitkraaesiffaaelakhbkarraebidkhxngxawuthniwekhliyr karnaipichnganthngsxngniepnipidephraasarbangxyangthieriykwaechuxephlingniwekhliyrthaihekidkarfichchnemuxphwkmnthukkraaethkdwyniwtrxnfichchn aelasngphlihmikarpldplxyniwtrxnemuxniwekhliysaetkxxk nicathaihekidptikiriyalukosniwekhliyrthiyngyundwytnexng aelaplxyphlngnganxxkmainxtrathisamarthkhwbkhumidinekhruxngptikrnniwekhliyrhruxinxtrathiimsamarthkhwbkhumidxyangrwderwmakinxawuthniwekhliyrprimankhxng phlngnganxisra thimixyuinechuxephlingniwekhliyrmiepnlanethakhxngprimanphlngnganxisrathimixyuinmwlthikhlayknkhxngechuxephlingsarekhmiechnnamnkasoslin thaihniwekhliyrfichchnepnaehlngphlngnganthimikhwamhnaaennsung xyangirktamphlitphnththiidcakniwekhliyrfichchnodykhaechliycamikmmntrngsimakkwathatuhnkthnghlaythithukfichchntampktiephuxthaihepnechuxephling aelayngkhngxyuxyangnnepnewlananmakxyangminysakhysungthaihekidpyhakakniwekhliyrephimkhun khwamkngwlthnghlayekiywkbkarsasmkhxngkakniwekhliyraelaekiywkbskyphaphinkarthalaylangkhxngxawuthniwekhliyrxacthwngdulkbkhunphaphthiphungprasngkhkhxngniwekhliyrfichchnwaepnaehlngphlngnganaehlnghnung aelaephimkarxphipraythangkaremuxngxyangtxenuxngdanphlngnganniwekhliyrodyptikiriyaniwekhliyrthiniwekhliyskhxngthatukhnadihyaeyktwepnniwekhliyskhxngthatuthimikhnadelklng eriykwa ptikiriyaniwekhliyrfichchn sungkhxnkhangcakhunhusahrbkhnithyenuxngcakmikarklawthungxyubxykhrng inpccubnmikarnaexaphlngnganniwekhliyrcakptikiriyafichchnmaichxyangaephrhlayinhlaypraeths echn shrthxemrika praethsxngkvs aelapraethsfrngess epntn aetkarnaexaptikiriyaniwekhliyrfichchnmaichnnmikhwamesiyngineruxngphlkrathbtxsingaewdlxmsungmak sungehnidcakxubtiehtuthiekidkhunthiorngnganiffaechxonebil thishphaphosewiyt sungkxihekidphlkrathbtxsingaewdlxmmakmayaelayngkhngepneruxngesraicaelanaklwcnthungthukwnnixangxing aekikh M G Arora and M Singh 1994 Nuclear Chemistry Anmol Publications p 202 ISBN 81 261 1763 X Gopal B Saha 1 November 2010 Fundamentals of Nuclear Pharmacy Springer pp 11 ISBN 978 1 4419 5860 0 3 0 3 1 Petrzhak Konstantin 1989 Kak bylo otkryto spontannoe delenie How spontaneous fission was discovered in Chernikova Vera b k Kratkij Mig Torzhestva O tom kak delayutsya nauchnye otkrytiya Brief Moment of Triumph About making scientific discoveries phasarsesiy Nauka pp 108 112 ISBN 5 02 007779 8 Elisabeth Crawford Ruth Lewin Sime and Mark Walker A Nobel Tale of Postwar Injustice Physics Today Volume 50 Issue 9 26 32 1997 duephim aekikhptikiriyaniwekhliyr raebidniwekhliyrlitetilbxy bthkhwamekiywkbwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy withyasastr ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karaebngaeykniwekhliys amp oldid 9924250, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม