fbpx
วิกิพีเดีย

ปฏิญญามอสโก

ปฏิญญามอสโก ได้มีการลงนามระหว่างการประชุมมอสโก เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1943 ชื่ออย่างเป็นทางการของแถลงการณ์ดังกล่าวคือ "แถลงการณ์ของสี่ชาติเกี่ยวกับความมั่นคงทั่วไป" เอกสารดังกล่าวได้รับการลงนามโดยรัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียต แถลงการณ์ดังกล่าวมีสี่ส่วนแยกจากกัน

แถลงการณ์ร่วมสี่ชาติ

ในส่วนแถลงการณ์ร่วมสี่ชาติ รัฐบาลสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพโซเวียต และจีน ตามที่แถลงการณ์โดยสหประชาชาติเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 และแถลงการณ์ถัดมา เพื่อคงความเป็นปรปักษ์กับชาติฝ่ายอักษะเหล่านี้ซึ่งประเทศทั้งสี่ต่างอยู่ในสภาวะสงครามจนกว่าประเทศเหล่านี้จะยอมลดอาวุธลงบนพื้นฐานของการยอมจำนนอย่างปราศจากเงื่อนไข ทั้งสี่ประเทศยังได้รับรองความจำเป็นที่จะจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศทั่วไป (สหประชาชาติ) ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ บนแนวคิดของอธิปไตยที่เท่าเทียมกันของรัฐที่รักสันติทั้งหมด และเปิดโอกาสให้รัฐเหล่านี้ล้วนมีโอกาสสมัครเข้าเป็นสมาชิกได้ ไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก เพื่อการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ

แถลงการณ์ส่วนที่เกี่ยวข้องกับอิตาลี

ในส่วนของแถลงการณ์ที่เกี่ยวข้องกับอิตาลีนั้น รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรและสหภาพโซเวียต ได้ประกาศว่า ฟาสซิสต์และอิทธิพลของฟาสซิสต์นั้นควรจะถูกทำลายลงอย่างสมบูรณ์ และชาวอิตาลีควรจะได้รับทุกโอกาสในการจัดตั้งรัฐบาลและสถาบันอื่นโดยตั้งอยู่บนแนวคิดประชาธิปไตย

แถลงการณ์ส่วนที่เกี่ยวข้องกับออสเตรีย

ในส่วนของแถลงการณ์ที่เกี่ยวข้องกับออสเตรียนั้น รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรและสหภาพโซเวียต ได้ประกาศว่าการผนวกออสเตรียของเยอรมนีนั้นไม่มีผลและเป็นโมฆะ ทั้งสี่ประเทศเรียกร้องให้มีการจั้ดตั้งออสเตรียเสรีภายหลังชัยชนะเหนือนาซีเยอรมนี

แถลงการณ์ว่าด้วยความอำมหิต

ส่วนสุดท้ายของแถลงปฏิญญามอสโกมีชื่อว่า แถลงการณ์ว่าด้วยความอำมหิต และได้รับการลงนามโดยประธานาธิบดีสหรัฐ แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิลล์ และผู้นำสูงสุดโซเวียต โจเซฟ สตาลิน พวกเขาหมายเหตุว่า "หลักฐานของความโหดร้าย การสังหารหมู่ และการประหารชีวิตหมู่อันเลือดเย็นซึ่งได้กระทำโดยกองทัพฮิตเลอร์ในหลายประเทศซึ่งถูกรุกรานและจากที่พวกเขากำลังถูกขับไล่ออกไปอย่างต่อเนื่อง" พวกเขาเห็นพ้องว่าชาวเยอรมันจะถูกส่งกลับไปยังประเทศที่พวกเขาก่ออาชญากรรมของตนขึ้น และ "ตัดสิน ณ ที่นั้นโดยประชาชนที่พวกเขาได้กระทำอย่างโหดเหี้ยมนั้น" ในกรณีของชาวเยอรมันซึ่งการกระทำความผิดทางอาญาไม่มีที่ตั้งชัดเจนนั้น พวกเขาจะถูกลงโทษโดยการตัดสินใจร่วมกันของรัฐบาลฝ่ายสัมพันธมิตร

แถลงการณ์ว่าด้วยความอำมหิตนั้นส่วนใหญ่ร่างขึ้นโดยวินสตัน เชอร์ชิลล์ และนำไปสู่การจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษายุโรป ซึ่งได้ร่างกฎบัตรลอนดอน

อ้างอิง

  1. Tehran Conference: Tripartite Dinner Meeting November 29, 1943 Soviet Embassy, 8:30 PM

ปฏ, ญญามอสโก, ได, การลงนามระหว, างการประช, มมอสโก, เม, อว, นท, ลาคม, 1943, ออย, างเป, นทางการของแถลงการณ, งกล, าวค, แถลงการณ, ของส, ชาต, เก, ยวก, บความม, นคงท, วไป, เอกสารด, งกล, าวได, บการลงนามโดยร, ฐมนตร, างประเทศของร, ฐบาลสหร, ฐอเมร, กา, สหราชอาณาจ, กร, และ. ptiyyamxsok idmikarlngnamrahwangkarprachummxsok emuxwnthi 30 tulakhm kh s 1943 chuxxyangepnthangkarkhxngaethlngkarndngklawkhux aethlngkarnkhxngsichatiekiywkbkhwammnkhngthwip exksardngklawidrbkarlngnamodyrthmntritangpraethskhxngrthbalshrthxemrika shrachxanackr aelashphaphosewiyt aethlngkarndngklawmisiswnaeykcakkn enuxha 1 aethlngkarnrwmsichati 2 aethlngkarnswnthiekiywkhxngkbxitali 3 aethlngkarnswnthiekiywkhxngkbxxsetriy 4 aethlngkarnwadwykhwamxamhit 5 xangxingaethlngkarnrwmsichati aekikhinswnaethlngkarnrwmsichati rthbalshrthxemrika shrachxanackr shphaphosewiyt aelacin tamthiaethlngkarnodyshprachachatiemuxeduxnmkrakhm kh s 1942 aelaaethlngkarnthdma ephuxkhngkhwamepnprpkskbchatifayxksaehlanisungpraethsthngsitangxyuinsphawasngkhramcnkwapraethsehlanicayxmldxawuthlngbnphunthankhxngkaryxmcannxyangprascakenguxnikh thngsipraethsyngidrbrxngkhwamcaepnthicacdtngxngkhkarrahwangpraethsthwip shprachachati iherwthisudethathicathaid bnaenwkhidkhxngxthipitythiethaethiymknkhxngrththirksntithnghmd aelaepidoxkasihrthehlanilwnmioxkassmkhrekhaepnsmachikid imwaihyhruxelk ephuxkartharngrksasntiphaphaelakhwammnkhngrahwangpraethsaethlngkarnswnthiekiywkhxngkbxitali aekikhinswnkhxngaethlngkarnthiekiywkhxngkbxitalinn rthmntritangpraethsshrthxemrika shrachxanackraelashphaphosewiyt idprakaswa fassistaelaxiththiphlkhxngfassistnnkhwrcathukthalaylngxyangsmburn aelachawxitalikhwrcaidrbthukoxkasinkarcdtngrthbalaelasthabnxunodytngxyubnaenwkhidprachathipityaethlngkarnswnthiekiywkhxngkbxxsetriy aekikhinswnkhxngaethlngkarnthiekiywkhxngkbxxsetriynn rthmntritangpraethsshrthxemrika shrachxanackraelashphaphosewiyt idprakaswakarphnwkxxsetriykhxngeyxrmninnimmiphlaelaepnomkha thngsipraethseriykrxngihmikarcdtngxxsetriyesriphayhlngchychnaehnuxnasieyxrmniaethlngkarnwadwykhwamxamhit aekikhswnsudthaykhxngaethlngptiyyamxsokmichuxwa aethlngkarnwadwykhwamxamhit aelaidrbkarlngnamodyprathanathibdishrth aefrngklin di orsewlt naykrthmntrishrachxanackr winstn echxrchill aelaphunasungsudosewiyt ocesf stalin phwkekhahmayehtuwa hlkthankhxngkhwamohdray karsngharhmu aelakarpraharchiwithmuxneluxdeynsungidkrathaodykxngthphhitelxrinhlaypraethssungthukrukranaelacakthiphwkekhakalngthukkhbilxxkipxyangtxenuxng phwkekhaehnphxngwachaweyxrmncathuksngklbipyngpraethsthiphwkekhakxxachyakrrmkhxngtnkhun aela tdsin n thinnodyprachachnthiphwkekhaidkrathaxyangohdehiymnn inkrnikhxngchaweyxrmnsungkarkrathakhwamphidthangxayaimmithitngchdecnnn phwkekhacathuklngothsodykartdsinicrwmknkhxngrthbalfaysmphnthmitraethlngkarnwadwykhwamxamhitnnswnihyrangkhunodywinstn echxrchill 1 aelanaipsukarcdtngkhnakrrmkarthipruksayuorp sungidrangkdbtrlxndxnxangxing aekikh Tehran Conference Tripartite Dinner Meeting November 29 1943 Soviet Embassy 8 30 PMekhathungcak https th wikipedia org w index php title ptiyyamxsok amp oldid 9529410, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม