fbpx
วิกิพีเดีย

โจเซฟ สตาลิน

โจเซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin; 18 ธันวาคม ค.ศ. 1878 – 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง ค.ศ. 1953 และดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งมวลสหภาพ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปรียบได้กับหัวหน้าพรรค

โจเซฟ สตาลิน
Иосиф Сталин (รัสเซีย)
იოსებ სტალინი (จอร์เจีย)
สตาลินในปี ค.ศ. 1937
เลขาธิการคณะกรรมการกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต
อยู่ในวาระ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
3 เมษายน ค.ศ. 1922
ก่อนหน้า วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ (รักษาการ)
ถัดไป นิกิตา ครุสชอฟ
ประธานสภารัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
6 พฤษภาคม ค.ศ. 1941 – 5 มีนาคม ค.ศ. 1953
ก่อนหน้า วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ
ถัดไป เกออร์กี มาเลนคอฟ
ผู้บัญชาการประชากลาโหม
แห่งสหภาพโซเวียต
ดำรงตำแหน่ง
19 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 – 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1946
ก่อนหน้า เซไมยอน เตอโมเชนโก
ถัดไป นีโคไล บุลกานิน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 18 ธันวาคม ค.ศ. 1878(1878-12-18)
เมืองโกรี รัฐจอร์เจีย จักรวรรดิรัสเซีย
เสียชีวิต 5 มีนาคม ค.ศ. 1953 (74 ปี)
เมืองดาซา สหภาพโซเวียต
พรรคการเมือง พรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต
ศาสนา ไม่มีศาสนา
ลายมือชื่อ
การเข้าเป็นทหาร
ประจำการ 1918—1922
1941—1953
ยศ จอมพลสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต
บำเหน็จ

สตาลินสืบทอดอำนาจจาก วลาดิมีร์ เลนิน และนำโซเวียตก้าวขึ้นเป็นมหาอำนาจของโลก หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ก็เป็นหนึ่งในขั้วอำนาจในการทำสงครามเย็นกับสหรัฐอเมริกา

โจเซฟ สตาลิน ไม่ใช่ชื่อจริงของเขา ชื่อจริงของเขาคือ "โยเซบ เบซาริโอนิส ดเซ จูกาชวิลลี" (იოსებ ბესარიონის ძე ჯუღაშვილი, Ioseb Besarionis dze Jughashvili) เขาเกิดที่เมือง โกรี ประเทศจอร์เจีย ตำแหน่งเมืองนั้นตั้งอยู่บนเนินสูงของเทือกเขาคอเคซัส ซึ่งเป็นหนึ่งในรัฐของจักรวรรดิรัสเซียสมัยนั้น เขาก็เป็นชาวจอร์เจียนโดยกำเนิด โดยชื่อ สตาลิน นี้เขาตั้งขึ้นมาเองขณะทำงานให้พรรคคอมมิวนิสต์ (stalin ในภาษารัสเซียแปลว่า เหล็กกล้า)

ด้วยความทะเยอทะยานทำให้สตาลินได้เริ่มมีบทบาทสำคัญในพรรคบอลเชวิค หลังจากที่พรรคบอลเชวิคทำการปฏิวัติโค่นล้มระบอบกษัตริย์ลงได้ สตาลินก็ได้รับตำแหน่งคอมมิสซาร์ประชาชนเพื่อกิจการชนชาติต่าง ๆ จนเมื่อเลนินล้มป่วย สตาลินก็เริ่มมีบทบาทมากขึ้นไปอีก จนได้เป็นเลขาธิการพรรคใน ค.ศ. 1922 จนกระทั่งเมื่อเลนินเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1924 ก็ได้เกิดการแย่งชิงอำนาจกันระหว่างสตาลินกับเลออน ทรอตสกี สุดท้ายสตาลินก็ชนะ จึงได้เป็นผู้นำต่อจากเลนิน

ใน ค.ศ. 1939 เริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่ 2 สตาลินได้มีการทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับพรรคนาซีเยอรมนี ทำให้เกิดการแบ่งแยกอำนาจในยุโรปตะวันออก ใน ค.ศ. 1940 ระหว่างที่เขาดำรงตำแหน่ง ผู้นำของสหภาพโซเวียต เขาถูกเรียกว่า บิดาแห่งชาวสหภาพโซเวียตทั้งปวง เมื่อศาสนาเป็นสิ่งผิดกฎหมายในรัฐคอมมิวนิสต์ บทบาทของพระเจ้าก็ถูกเล่นโดยสตาลิน เขานำระบบ คอมมูน มาใช้ ทุกคนถูกห้ามมีทรัพย์สินส่วนตัว ทุกอย่างรวมทั้งตัวบุคคลเป็นของพรรคหรือคอมมูน ผู้ต่อต้านถูกส่งไปค่ายกักกันและเสียชีวิตราว 10 ล้านคน ไมมีการสำรวจประชากรว่าระหว่างเขาเป็นผู้นำประชากรโซเวียตเสียชีวิตไปเท่าไรในช่วงที่มีการปฏิวัติระบบนารวม

ค.ศ. 1941 หลังนาซีเยอรมนีรุกรานโปแลนด์สำเร็จ ฮิตเลอร์ก็ได้ละเมิดข้อตกลงและเริ่มทำสงครามครั้งใหญ่กับสหภาพโซเวียตทันที ถึงแม้จะมีการสูญเสียดินแดนและกำลังพลจำนวนมาก กองทัพแดงโซเวียตก็สามารถต่อต้านกองทัพนาซีได้ ค.ศ. 1945 หลังจากปราบปรามแนวรบของฝ่ายอักษะในยุโรปตะวันออก กองทัพแดงของโซเวียตก็ทำการโจมตีและยึดกรุงเบอร์ลินเมืองหลวงของเยอรมนีได้สำเร็จ สตาลินได้จบสงครามในยุโรปให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรและนำโซเวียตชนะสงครามได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยประชาชนเสียชีวิต 20 ล้านคน ทหารเสียชีวิต 10 ล้านคน ทหารอีกกว่า 1 ล้าน 6 แสนคนที่พร้อมจะโจมตีญี่ปุ่นแต่ญี่ปุ่นชิงยอมแพ้สงครามกับอเมริกาเสียก่อนเนื่องจากกลัวที่จะสูญเสียเมืองต่าง ๆ อีกมากมายให้กับสหภาพโซเวียต จากนั้นสตาลินก็ได้พัฒนาประเทศให้เจริญเป็นอย่างมากและนำสหภาพโซเวียตก้าวขึ้นสู่เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกที่มีประเทศยุโรปตะวันออกที่ปกครองแบบคอมมิวนิสต์ โดยมีสหรัฐอเมริกาที่เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกที่มีประเทศยุโรปตะวันตกที่ปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นคู่แข่งจนนำไปสู่สงครามเย็นในที่สุด

เขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1953 หลังสตาลินตาย นีกีตา ครุชชอฟ ผู้นำคนใหม่ได้ผ่อนคลายความเข้มงวดในระบบสตาลินลง พร้อมทั้งประณามขุดคุ้ยความโหดร้ายของเจ้านายคนเก่าของเขา จนในที่สุดทุก ๆ ที่ ที่มีรูปปั้นสตาลินถูกทุบทิ้ง เพลงชาติถูกลบชื่อของเขาออก ศพของเขาถูกย้ายจากข้าง ๆ เลนิน ไปฝังอยู่ในกำแพงวังเครมลิน

ครอบครัวและในวัยเด็ก

   
สตาลินใน ค.ศ. 1894 และ ค.ศ. 1902

ก่อนหน้าการเกิดของสตาลิน บิดาและมารดาของเขาได้ให้กำเนิดบุตรมาแล้วถึง 2 คน แต่ก็เสียชีวิตหลังจากเกิดได้ไม่นาน จนมีบุตรคนที่ 3 ซึ่งก็คือสตาลิน ภายหลังการเกิดนั้น มารดาของสตาลินได้สวดอ้อนวอนอธิษฐานต่อพระผู้เป็นเจ้าไม่ให้พรากชีวิตบุตรชายของเธอไป พร้อมกับอธิษฐานว่าเธอและบุตรชาย จะอุทิศตนเองเพื่อพระผู้เป็นเจ้าตลอดไป

สตาลิน มีชื่อเล่นในวัยเด็กคือ โซซา ซึ่งพ่อของเขาเป็นช่างทำรองเท้า ชอบทุบตีคนในครอบครัวยามเมาสุราเสมอ ต่อมาพ่อของเขาต้องย้ายไปอยู่ที่เมืองทิฟลิส ทำให้สตาลินต้องอาศัยอยู่กับมารดาเพียงคนเดียวในจอร์เจีย ซึ่งเมืองที่เขาอยู่ ก็เต็มไปด้วยอาชญากรรม การเอารัดเอาเปรียบ ความรุนแรงตามท้องถนน จึงทำให้สภาพแวดล้อมสังคมและความรุนแรงในครอบครัวบ่มนิสัยสตาลินให้เป็นคนก้าวร้าว และเกิดความเกลียดชังชาวยิวที่อยู่ในเมือง ทั้ง ๆ ที่เมืองที่เขาอยู่ ไม่มีใครต่อต้านชาวยิวเลย ซึ่งชาวยิวอยู่ร่วมกับคนพื้นเมืองมานานอย่างสันติ นิยมประกอบอาชีพนายทุนเงินกู้ พ่อค้า ช่างตัดเสื้อ ช่างตัดรองเท้า เป็นต้น ประกอบกับครอบครัวที่ลำบาก ส่งผลให้มารดาของเขาต้องไปกู้เงินจากนายทุนชาวยิวซึ่งเรียกดอกเบี้ยราคาแพง และจะเข้ามายึดสิ่งของในบ้านเป็นค่าปรับเมื่อผิดนัดชำระดอกเบี้ย ทำให้เขาเกลียดแค้นชาวยิวและอยากแก้แค้นอยู่เสมอ นอกเหนือจากนั้น ชีวิตสตาลินก็เป็นเด็กที่เรียนดี ทั้งที่พ่อแม่ของเขาไม่รู้หนังสือและครอบครัวมีความเป็นอยู่ที่ลำบาก

การศึกษาในโรงเรียนสามเณรกอรี

มารดาของสตาลินเป็นผู้เคร่งในศีลธรรม เธอจึงตัดสินใจให้สตาลินบวชเป็นพระและเข้าเรียนในโรงเรียนสามเณรกอรี ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนศาสนาแห่งหนึ่ง ในปี ค.ศ. 1888 ด้วยความอุปการะจากเศรษฐีชาวจอร์เจียชื่อยาคอฟที่มารดาของเขาทำงานรับจ้างเป็นแม่บ้าน ซึ่งสตาลินเป็นคนที่สำนึกในบุญคุณคน เมื่อเขามีบุตรชายคนแรก เขาได้ตั้งชื่อว่ายาคอฟ ตั้งตามชื่อผู้ที่อุปการะเขา

ด้านการเรียนนั้น สตาลินเป็นคนขยัน และมีความจำดี และหัวไว ทำให้ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียน และได้รับเลือกให้เป็นนักเรียนตัวอย่าง ซึ่งทุก ๆ ปี หนังสือพิมพ์ของสำนักสงฆ์นิกายจอร์เจียนออโธดอกซ์แห่งเมืองกอรี จะตีพิมพ์รายชื่อของนักเรียนที่สอบได้คะแนนดีที่สุดในชั้น ซึ่งชื่อของสตาลิน ได้อยู่ลำดับที่ 1 ทุกครั้ง นอกเหนือจากนั้น หลังการสอบปลายภาคทุกครั้ง สตาลินยังได้รับประกาศนียบัตรเรียนดีที่โรงเรียนมอบให้ผู้ที่สอบได้ลำดับที่ 1 ของชั้นเรียน และเขายังได้รับประกาศนียบัตรความก้าวหน้าในการเรียน

สตาลินมีพรสวรรค์ด้านการขับร้องเพลง ครูที่โรงเรียนจึงฝึกให้เขาเพิ่มเติม จากนั้นสองปี สตาลินก็ร้องเพลงได้อย่างกับนักร้องอาชีพ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยคอนดักเตอร์ พร้อมกับเป็นหัวหน้าคณะนักร้อง โดยสตาลินเองมักถูกจ้างไปร้องเพลงในงานแต่งงานเสมอ

ความชื่นชอบในการละเล่นและกีฬา สตาลินชื่นชอบการตะลุมบอน เป็นการละเล่นและกีฬาพื้นเมือง ที่แบ่งกลุ่มผู้เล่นออกไป 2 ฝั่ง จากนั้นก็จะเข้าตะลุมบอนกันแบบไม่มีความปรานี โดยสตาลินขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่มได้ทั้งที่อายุน้อยและแข็งแกร่งน้อยกว่าลูกน้องในทีมของตัวเอง 3 คน แต่เขาก็มีสิ่งที่ทดแทนคือความคล่องแคล่วว่องไว สตาลินตั้งฉายาให้กลุ่มเพื่อน 3 คนของเขาว่า สามทหารเสือ ซึ่งสตาลินไม่เคยลืมเพื่อนของเขาเลย แม้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 สตาลินวัย 60 ปี ที่เป็นผู้นำสหภาพโซเวียตในขณะนั้น ได้ส่งเงินส่วนตัวไปให้กับเพื่อนทั้ง 3 คนนี้คนละหลายหมื่นรูเบิล และมีข้อความในจดหมายว่า "โปรดรับของขวัญเล็กน้อยนี้จากฉันด้วย จากโซซ่าของพวกนาย" โดยเพื่อนหนึ่งในสามของสตาลินได้กล่าวอีกว่า "เขาไม่เคยลืมพวกเรา และมักจะส่งการ์ดมาให้เราเมื่อถึงวันเกิด หรือวันสำคัญอื่น ๆ เสมอ ครั้งหนึ่งเขาก็เคยส่งการ์ดที่เขียนว่า ขอให้อยู่หมื่นปี มาให้ผม"

นอกเหนือจากเพื่อนสนิทสามทหารเสือแล้ว สตาลินยังมีเพื่อนสนิทอีกคนที่มาจากละแวกใกล้บ้านชื่อ ซิมอน เขาเป็นคนเกเร นิยมความรุนแรง ซึ่งสตาลินสามารถควบคุมและทำให้เขาเคารพได้ และได้กลายเป็นมือสังหารคนสำคัญของสตาลินในขณะทำงานปฏิวัติรัสเซีย

สิ่งที่สตาลินสนใจมากเป็นพิเศษอีกอย่าง คือการอ่านหนังสือ เพราะความขาดแคลนหนังสือ ทำให้เขามีความกระหายอ่านใฝ่รู้ และมักไปขอยืมหนังสือจากห้องสมุดของเมืองกอรี่มาอ่านเสมอ สตาลินชื่นในวรรณกรรมเรื่อง Otezubiza ซึ่งชื่อตัวละครเอก ชื่อ โคบา เป็นโจรปล้นคนรวยมาช่วยเหลือคนจน โดยสตาลินมีตวามฝันอยากจะเป็นโคบาคนที่สอง

ในวันคริสต์มาสอีฟ ของนิกายออโธดอกซ์ กลุ่มนักร้องประสานเสียงของโรงเรียนสามเณรกอรี่ โดยหนึ่งในนั้นมีสตาลินรวมอยู่ด้วย ได้มายืนร้องเพลงสวดที่ริมสะพานข้ามแม่น้ำคูร์ ก็ได้เกิดอุบัติเหตุมีรถม้าวิ่งพุ่งเข้าชนกลุ่มนักร้องประสานเสียง ซึ่งสตาลินโชคร้ายที่ม้าได้ชนสตาลินและล้อรถทับข้อมือซ้ายของเขาหัก และด้วยความยากจนทำให้มารดาของสตาลินไม่สามารถพาเขาไปรักษาข้อมือซ้ายได้ เขามือซ้ายของเขาจึงพิการตั้งแต่นั้นมา

และในปี ค.ศ.1894 สตาลินก็จบการศึกษาด้วยคะแนนยอดเยี่ยม และได้รับทุนศึกษาต่อที่วิทยาลัยสงฆ์แห่งทิฟลิส ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในชีวิตของเขา

นโยบายต่างประเทศ

โจเซฟ สตาลินนำสหภาพโซเวียตก้าวขึ้นเป็นมหาอำนาจของโลก เป็นหนึ่งในขั้วอำนาจในสงครามเย็นกับสหรัฐอเมริกาหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี 1945 โซเวียตมีฐานะที่มั่นคงแข็งแรงทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และการทหารมากขึ้น แม้ว่าทางการทหารจะยังเป็นรองสหรัฐอเมริกาในระยะแรกก็ตาม หลังจากนั้นสตาลินได้เปลี่ยนท่าทีหันมาดำเนินนโยบายรุนแรง กวาดล้างผู้เป็นปรปักษ์จำนวนมากและมีนโยบายแข็งกร้าวต่อต้านสหรัฐอเมริกา ซึ่งโซเวียตมองว่าเป็นศัตรูหมายเลขหนึ่ง

สิ่งแรกที่โซเวียตเร่งดำเนินการก็คือ สนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์ให้ปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในยุโรปตะวันออกเป็นแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ภายใต้การชี้นำของโซเวียต สนับสนุนขบวนการปลดแอก ให้เป็นเครื่องมือในการทำลายจักวรรดินิยมของอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน และสหรัฐ สำหรับประเทศยุโรปตะวันออกนั้นมีความสำคัญต่อโซเวียตเป็นอย่างยิ่งในทางภูมิรัฐศาสตร์ ถือเป็นดุลอำนาจให้แก่โซเวียตในการแข่งขันกับกลุ่มประเทศทุนนิยมที่พัฒนาแล้ว

การผนึกกำลังฝ่ายคอมมิวนิสต์

สตาลินได้จัดตั้งโคมินฟอร์ม (Communist Information Bureau หรือ Cominform) ในเดือนกันยายน ปี 1947 เพื่อใช้สำนักงานนี้เป็นเครื่องมือในการควบคุมพรรคคอมมิวนิสต์ของประเทศอื่นให้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และอยู่ในวินัยที่เคร่งครัด ภายใต้การควบคุมของโซเวียต แม้ว่าสตาลินจะถือนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันติ (Peaceful Co-Existence) ก็เพียงชั่วคราวเพื่อผลประโยชน์เฉพาะหน้าเท่านั้น ยังมีความเชื่อมั่นตามอุดมการณ์ที่จะเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าไปในประเทศต่างๆ และเห็นว่าสงครามการปะทะกันระหว่างฝ่ายนายทุนกับสังคมนิยมนั้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

ดังนั้นนโยบายของสตาลินในช่วงนี้จึงนิยมความรุนแรงและรุกราน พยายามที่จะแยกประชาชาติต่างๆในยุโรปมิให้รวมกันได้ อาจกล่าวได้ว่าฝ่ายสหภาพโซเวียตริเริ่มทำให้เกิดสงครามเย็นระหว่างโลกตะวันตกหรือโลกเสรีซึ่งสหรัฐเป็นผู้นำ กับโลกตะวันออกหรือค่ายสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ที่โซเวียตเป็นผู้นำ ทำให้โลกอยู่ในสภาวะ 2 ศูนย์อำนาจอย่างเคร่งครัด สตาลินมีนโยบายรวบรวมผนึกกำลังฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไว้ด้วยกัน ภายใต้อาณัติของสหภาพโซเวียตอย่างเข้มงวด โดยใช้กำลังทหารและการบีบคั้นทางด้านอื่น เช่นทางเศรษฐกิจ เป็นต้น ทำให้ประเทศในค่ายสังคมนิยมในยุโรปตะวันออกถูกขนานนามว่าเป็นบริวารโซเวียต (Soviet Satellite หรือ Soviet Bloc) ซึ่งเรียกว่า ลัทธิสตาลิน (Stalinism)

การแทรกแซงการเมืองในประเทศอื่น

นอกจากนี้โซเวียตยังเข้าไปมีบทบาทแทรกแซงการเมืองในประเทศอื่นๆ อีก เช่นในปี 1947 ได้สนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์ให้ยึดครองกรีซ (เหตุการณ์ครั้งนี้พรรคคอมมิวนิสต์กระทำการไม่สำเร็จ เพราะสหรัฐอเมริกาได้เข้ามาสกัดกั้น ให้ความช่วยเหลือกรีซและตุรกีตามแผนการมาแชล) และวิกฤตการณ์ปิดล้อมเบอร์ลิน ค.ศ. 1948 – 1949 (ทำให้มีการเผชิญหน้ากับมหาอำนาจตะวันตกคืออังกฤษ ฝรั่งเศส และสหรัฐ จนต้องแบ่งแยกเยอรมันออกเป็น 2 ประเทศโดยเด็ดขาด) นอกจากนี้ก็มีเหตุการณ์ที่สตาลินขับไล่ ยูโกสลาเวีย ภายใต้การนำของติโต้ออกจากองการณ์โคมินฟอร์มในปี 1948 และ ในปี 1949 ก็ประสบความสำเร็จในการสร้างในการคิดสร้างอาวุธนิวเคลียร์เพื่อแข่งขันกับสหรัฐอเมริกา และปีเดียวกันก็จัดตั้ง สภาเพื่อการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ:Council for Mutual Economic Assistance หรือ Comecon (โคเมคอน) หรือ CEMA (ซีมา) เพื่อต่อต้านองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป

นโยบายต่างประเทศ-จีน

โซเวียตมีอิทธิพลมากขึ้น ให้ความช่วยเหลือจีนภายหลังจากที่คอมมิวนิสต์ภายใต้การนำของเหมาเจ๋อตุง ปฏิวัติสำเร็จเมื่อ 1949 โซเวียตต้องการครอบงำจีนไว้เป็นมิตรทางยุทธศาสตร์ เพื่อสกัดกั้นญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา แม้ว่าโซเวียตจะมีสนธิสัญญาพันธมิตรกับจีนเมื่อปี 1950 และมีอายุ 30 ปีก็ตาม แต่โซเวียตต้องการจะครอบงำจีนและขาดความจริงใจในการช่วยเหลือจีน จึงกลายเป็นเรื่องขัดแย้งต่อมาภายหลัง การที่โซเวียตสนับสนุนช่วยเหลือเกาหลีเหนือบุกเกาหลีใต้ในสงครามเกาหลี 1950 ซึ่งแม้โซเวียตไม่ได้ประจันหน้าโดยตรงเพราะจีนเข้ามามีบทบาทแทนโซเวียต ตลอดจนการสนับสนุนเวียดมินห์ภายใต้การนำของโฮจิมินห์ ต่อต้านฝรั่งเศสตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงจนประสบชัยชนะในปี 1954 เหตุการณ์ที่กล่าวมาเป็นเรื่องที่โซเวียตเข้าไปมีบทบาทแทรกแซงเพื่อการขยายอำนาจและอิทธิพลของโซเวียต

สรุปได้ว่า นโยบายต่างประเทศสมัยสตาลินเป็นไปในทางรุกแข็งกร้าว เพื่อสร้างอำนาจให้แข็งแกร่งมีความเป็นปึกแผ่นในค่ายสังคมนิยม ภายใต้อิทธิพลของโซเวียตเพื่อแข่งขันและสกัดกั้นอิทธิพลของฝ่ายตะวันตกและสหรัฐ จนกระทั่งสตาลินถึงแก่กรรมในปี 1953 ด้วยวัย 75 ปี

อ้างอิง

  1. วิกรม กรมดิษฐ์, มองซีอีโอโลก ภาค 7, โพสต์ พับลิชชิง, 2553

2. เพิ่มศักดิ์ โตสวัสดิ์, สตาลิน อำนาจบนซากศพ , กรุงเทพมหานคร: Animate Group, ISBN 978-616-7030-17-3

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า โจเซฟ สตาลิน ถัดไป
วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ   ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต
(6 พฤษภาคม 1941 – 5 มีนาคม 1953)
  เกออร์กี มาเลนคอฟ
เซไมยอน เตอโมเชนโก   ผู้บัญชาการกลาโหมแห่งสหภาพโซเวียต
(19 กรกฎาคม 1941 - 25 กุมภาพันธ์ 1946)
  นีโคไล บุลกานิน
ในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสูด
วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ
ในตำแหน่ง เลขาธิการผู้รับผิดชอบ
  เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต
(3 เมษายน 1922 – 16 ตุลาคม 1952)
  นิกิตา ครุสชอฟ
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์   บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
(ค.ศ. 1939)
  วินสตัน เชอร์ชิล
แฟรงคลิน ดี. รูสเวลท์   บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
(ค.ศ. 1942)
  จอร์จ มาร์แชล


โจเซฟ, สตาล, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออก, สเซ, Иосиф, Виссарионович, Сталин, iosif, vissarionovich, stalin, โอซ, ซซาร, โอโน. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkocesf stalin rsesiy Iosif Vissarionovich Stalin Iosif Vissarionovich Stalin xioxsif wissarioxonwich stalin xngkvs Joseph Stalin 18 thnwakhm kh s 1878 5 minakhm kh s 1953 epnphunakhxngshphaphosewiyt tngaetklangthswrrsthi 1920 thung kh s 1953 aeladarngtaaehnngelkhathikarphrrkhkhxmmiwnistaehngmwlshphaph sungepntaaehnngthiepriybidkbhwhnaphrrkhocesf stalinIosif Stalin rsesiy იოსებ სტალინი cxreciy stalininpi kh s 1937elkhathikarkhnakrrmkarklangaehngphrrkhkhxmmiwnistshphaphosewiytxyuinwaraerimdarngtaaehnng 3 emsayn kh s 1922kxnhna wyaechslaf omoltxf rksakar thdip nikita khruschxfprathanspharthmntridarngtaaehnng 6 phvsphakhm kh s 1941 5 minakhm kh s 1953kxnhna wyaechslaf omoltxfthdip ekxxrki maelnkhxfphubychakarprachaklaohmaehngshphaphosewiytdarngtaaehnng 19 krkdakhm kh s 1941 25 kumphaphnth kh s 1946kxnhna esimyxn etxomechnokthdip niokhil bulkaninkhxmulswnbukhkhlekid 18 thnwakhm kh s 1878 1878 12 18 emuxngokri rthcxreciy ckrwrrdirsesiyesiychiwit 5 minakhm kh s 1953 74 pi emuxngdasa shphaphosewiytphrrkhkaremuxng phrrkhkhxmmiwnistshphaphosewiytsasna immisasnalaymuxchuxkarekhaepnthharpracakar 1918 19221941 1953ys cxmphlsungsudaehngshphaphosewiytbaehncstalinsubthxdxanaccak wladimir elnin aelanaosewiytkawkhunepnmhaxanackhxngolk hlngsngkhramolkkhrngthisxng kepnhnunginkhwxanacinkarthasngkhrameynkbshrthxemrikaocesf stalin imichchuxcringkhxngekha chuxcringkhxngekhakhux oyesb ebsarioxnis des cukachwilli იოსებ ბესარიონის ძე ჯუღაშვილი Ioseb Besarionis dze Jughashvili ekhaekidthiemuxng okri praethscxreciy taaehnngemuxngnntngxyubneninsungkhxngethuxkekhakhxekhss sungepnhnunginrthkhxngckrwrrdirsesiysmynn ekhakepnchawcxreciynodykaenid odychux stalin niekhatngkhunmaexngkhnathanganihphrrkhkhxmmiwnist stalin inphasarsesiyaeplwa ehlkkla dwykhwamthaeyxthayanthaihstaliniderimmibthbathsakhyinphrrkhbxlechwikh hlngcakthiphrrkhbxlechwikhthakarptiwtiokhnlmrabxbkstriylngid stalinkidrbtaaehnngkhxmmissarprachachnephuxkickarchnchatitang 1 cnemuxelninlmpwy stalinkerimmibthbathmakkhunipxik cnidepnelkhathikarphrrkhin kh s 1922 cnkrathngemuxelninesiychiwitinpi kh s 1924 kidekidkaraeyngchingxanacknrahwangstalinkbelxxn thrxtski sudthaystalinkchna cungidepnphunatxcakelninin kh s 1939 erimtnsngkhramolkkhrngthi 2 stalinidmikarthasnthisyyaimrukrankbphrrkhnasieyxrmni thaihekidkaraebngaeykxanacinyuorptawnxxk in kh s 1940 rahwangthiekhadarngtaaehnng phunakhxngshphaphosewiyt ekhathukeriykwa bidaaehngchawshphaphosewiytthngpwng emuxsasnaepnsingphidkdhmayinrthkhxmmiwnist bthbathkhxngphraecakthukelnodystalin ekhanarabb khxmmun maich thukkhnthukhammithrphysinswntw thukxyangrwmthngtwbukhkhlepnkhxngphrrkhhruxkhxmmun phutxtanthuksngipkhaykkknaelaesiychiwitraw 10 lankhn immikarsarwcprachakrwarahwangekhaepnphunaprachakrosewiytesiychiwitipethairinchwngthimikarptiwtirabbnarwmkh s 1941 hlngnasieyxrmnirukranopaelndsaerc hitelxrkidlaemidkhxtklngaelaerimthasngkhramkhrngihykbshphaphosewiytthnthi thungaemcamikarsuyesiydinaednaelakalngphlcanwnmak kxngthphaedngosewiytksamarthtxtankxngthphnasiid kh s 1945 hlngcakprabpramaenwrbkhxngfayxksainyuorptawnxxk kxngthphaedngkhxngosewiytkthakarocmtiaelayudkrungebxrlinemuxnghlwngkhxngeyxrmniidsaerc stalinidcbsngkhraminyuorpihkbfaysmphnthmitraelanaosewiytchnasngkhramidxyangmiprasiththiphaph odyprachachnesiychiwit 20 lankhn thharesiychiwit 10 lankhn thharxikkwa 1 lan 6 aesnkhnthiphrxmcaocmtiyipunaetyipunchingyxmaephsngkhramkbxemrikaesiykxnenuxngcakklwthicasuyesiyemuxngtang xikmakmayihkbshphaphosewiyt caknnstalinkidphthnapraethsihecriyepnxyangmakaelanashphaphosewiytkawkhunsuepnpraethsmhaxanackhxngolkthimipraethsyuorptawnxxkthipkkhrxngaebbkhxmmiwnist odymishrthxemrikathiepnpraethsmhaxanackhxngolkthimipraethsyuorptawntkthipkkhrxngaebbprachathipityepnkhuaekhngcnnaipsusngkhrameyninthisudekhaesiychiwitinpi kh s 1953 hlngstalintay nikita khruchchxf phunakhnihmidphxnkhlaykhwamekhmngwdinrabbstalinlng phrxmthngpranamkhudkhuykhwamohdraykhxngecanaykhnekakhxngekha cninthisudthuk thi thimiruppnstalinthukthubthing ephlngchatithuklbchuxkhxngekhaxxk sphkhxngekhathukyaycakkhang elnin ipfngxyuinkaaephngwngekhrmlin enuxha 1 khrxbkhrwaelainwyedk 2 karsuksainorngeriynsamenrkxri 3 noybaytangpraeths 3 1 karphnukkalngfaykhxmmiwnist 3 2 karaethrkaesngkaremuxnginpraethsxun 3 3 noybaytangpraeths cin 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunkhrxbkhrwaelainwyedk aekikh stalinin kh s 1894 aela kh s 1902 kxnhnakarekidkhxngstalin bidaaelamardakhxngekhaidihkaenidbutrmaaelwthung 2 khn aetkesiychiwithlngcakekididimnan cnmibutrkhnthi 3 sungkkhuxstalin phayhlngkarekidnn mardakhxngstalinidswdxxnwxnxthisthantxphraphuepnecaimihphrakchiwitbutrchaykhxngethxip phrxmkbxthisthanwaethxaelabutrchay caxuthistnexngephuxphraphuepnecatlxdipstalin michuxelninwyedkkhux ossa sungphxkhxngekhaepnchangtharxngetha chxbthubtikhninkhrxbkhrwyamemasuraesmx txmaphxkhxngekhatxngyayipxyuthiemuxngthiflis thaihstalintxngxasyxyukbmardaephiyngkhnediywincxreciy 1 sungemuxngthiekhaxyu ketmipdwyxachyakrrm karexardexaepriyb khwamrunaerngtamthxngthnn cungthaihsphaphaewdlxmsngkhmaelakhwamrunaernginkhrxbkhrwbmnisystalinihepnkhnkawraw aelaekidkhwamekliydchngchawyiwthixyuinemuxng thng thiemuxngthiekhaxyu immiikhrtxtanchawyiwely sungchawyiwxyurwmkbkhnphunemuxngmananxyangsnti niymprakxbxachiphnaythunenginku phxkha changtdesux changtdrxngetha epntn prakxbkbkhrxbkhrwthilabak sngphlihmardakhxngekhatxngipkuengincaknaythunchawyiwsungeriykdxkebiyrakhaaephng aelacaekhamayudsingkhxnginbanepnkhaprbemuxphidndcharadxkebiy thaihekhaekliydaekhnchawyiwaelaxyakaekaekhnxyuesmx nxkehnuxcaknn chiwitstalinkepnedkthieriyndi thngthiphxaemkhxngekhaimruhnngsuxaelakhrxbkhrwmikhwamepnxyuthilabakkarsuksainorngeriynsamenrkxri aekikhmardakhxngstalinepnphuekhrnginsilthrrm ethxcungtdsinicihstalinbwchepnphraaelaekhaeriyninorngeriynsamenrkxri sungepnorngeriynsxnsasnaaehnghnung inpi kh s 1888 dwykhwamxupkaracakesrsthichawcxreciychuxyakhxfthimardakhxngekhathanganrbcangepnaemban sungstalinepnkhnthisanukinbuykhunkhn emuxekhamibutrchaykhnaerk ekhaidtngchuxwayakhxf tngtamchuxphuthixupkaraekhadankareriynnn stalinepnkhnkhyn aelamikhwamcadi aelahwiw thaihidrbthunkarsuksakhxngorngeriyn aelaidrbeluxkihepnnkeriyntwxyang sungthuk pi hnngsuxphimphkhxngsanksngkhnikaycxreciynxxothdxksaehngemuxngkxri catiphimphraychuxkhxngnkeriynthisxbidkhaaenndithisudinchn sungchuxkhxngstalin idxyuladbthi 1 thukkhrng nxkehnuxcaknn hlngkarsxbplayphakhthukkhrng stalinyngidrbprakasniybtreriyndithiorngeriynmxbihphuthisxbidladbthi 1 khxngchneriyn aelaekhayngidrbprakasniybtrkhwamkawhnainkareriynstalinmiphrswrrkhdankarkhbrxngephlng khruthiorngeriyncungfukihekhaephimetim caknnsxngpi stalinkrxngephlngidxyangkbnkrxngxachiph aelaidrbaetngtngihepnphuchwykhxndketxr phrxmkbepnhwhnakhnankrxng odystalinexngmkthukcangiprxngephlnginnganaetngnganesmxkhwamchunchxbinkarlaelnaelakila stalinchunchxbkartalumbxn epnkarlaelnaelakilaphunemuxng thiaebngklumphuelnxxkip 2 fng caknnkcaekhatalumbxnknaebbimmikhwamprani odystalinkhunepnhwhnaklumidthngthixayunxyaelaaekhngaekrngnxykwaluknxnginthimkhxngtwexng 3 khn aetekhakmisingthithdaethnkhuxkhwamkhlxngaekhlwwxngiw stalintngchayaihklumephuxn 3 khnkhxngekhawa samthharesux sungstalinimekhylumephuxnkhxngekhaely aeminsngkhramolkkhrngthi 2 stalinwy 60 pi thiepnphunashphaphosewiytinkhnann idsngenginswntwipihkbephuxnthng 3 khnnikhnlahlayhmunruebil aelamikhxkhwamincdhmaywa oprdrbkhxngkhwyelknxynicakchndwy cakossakhxngphwknay odyephuxnhnunginsamkhxngstalinidklawxikwa ekhaimekhylumphwkera aelamkcasngkardmaiheraemuxthungwnekid hruxwnsakhyxun esmx khrnghnungekhakekhysngkardthiekhiynwa khxihxyuhmunpi maihphm nxkehnuxcakephuxnsnithsamthharesuxaelw stalinyngmiephuxnsnithxikkhnthimacaklaaewkiklbanchux simxn ekhaepnkhneker niymkhwamrunaerng sungstalinsamarthkhwbkhumaelathaihekhaekharphid aelaidklayepnmuxsngharkhnsakhykhxngstalininkhnathanganptiwtirsesiysingthistalinsnicmakepnphiessxikxyang khuxkarxanhnngsux ephraakhwamkhadaekhlnhnngsux thaihekhamikhwamkrahayxanifru aelamkipkhxyumhnngsuxcakhxngsmudkhxngemuxngkxrimaxanesmx stalinchuninwrrnkrrmeruxng Otezubiza sungchuxtwlakhrexk chux okhba epnocrplnkhnrwymachwyehluxkhncn odystalinmitwamfnxyakcaepnokhbakhnthisxnginwnkhristmasxif khxngnikayxxothdxks klumnkrxngprasanesiyngkhxngorngeriynsamenrkxri odyhnunginnnmistalinrwmxyudwy idmayunrxngephlngswdthirimsaphankhamaemnakhur kidekidxubtiehtumirthmawingphungekhachnklumnkrxngprasanesiyng sungstalinochkhraythimaidchnstalinaelalxrththbkhxmuxsaykhxngekhahk aeladwykhwamyakcnthaihmardakhxngstalinimsamarthphaekhaiprksakhxmuxsayid ekhamuxsaykhxngekhacungphikartngaetnnmaaelainpi kh s 1894 stalinkcbkarsuksadwykhaaennyxdeyiym aelaidrbthunsuksatxthiwithyalysngkhaehngthiflis sungepnsthanthi epncudepliynsakhyinchiwitkhxngekhanoybaytangpraeths aekikhocesf stalinnashphaphosewiytkawkhunepnmhaxanackhxngolk epnhnunginkhwxanacinsngkhrameynkbshrthxemrikahlngsinsudsngkhramolkkhrngthi 2 inpi 1945 osewiytmithanathimnkhngaekhngaerngthngthangkaremuxng esrsthkic aelakarthharmakkhun aemwathangkarthharcayngepnrxngshrthxemrikainrayaaerkktam hlngcaknnstalinidepliynthathihnmadaeninnoybayrunaerng kwadlangphuepnprpkscanwnmakaelaminoybayaekhngkrawtxtanshrthxemrika sungosewiytmxngwaepnstruhmayelkhhnungsingaerkthiosewiyterngdaeninkarkkhux snbsnunphrrkhkhxmmiwnistihptiwtiepliynaeplngkarpkkhrxnginyuorptawnxxkepnaebbsngkhmniymkhxmmiwnist phayitkarchinakhxngosewiyt snbsnunkhbwnkarpldaexk ihepnekhruxngmuxinkarthalayckwrrdiniymkhxngxngkvs frngess sepn aelashrth sahrbpraethsyuorptawnxxknnmikhwamsakhytxosewiytepnxyangyinginthangphumirthsastr thuxepndulxanacihaekosewiytinkaraekhngkhnkbklumpraethsthunniymthiphthnaaelw karphnukkalngfaykhxmmiwnist aekikh stalinidcdtngokhminfxrm Communist Information Bureau hrux Cominform ineduxnknyayn pi 1947 ephuxichsanknganniepnekhruxngmuxinkarkhwbkhumphrrkhkhxmmiwnistkhxngpraethsxunihptibtitamkdeknthaelaxyuinwinythiekhrngkhrd phayitkarkhwbkhumkhxngosewiyt aemwastalincathuxnoybayxyurwmknodysnti Peaceful Co Existence kephiyngchwkhrawephuxphlpraoychnechphaahnaethann yngmikhwamechuxmntamxudmkarnthicaephyaephrlththikhxmmiwnistekhaipinpraethstang aelaehnwasngkhramkarpathaknrahwangfaynaythunkbsngkhmniymnnepnsingthihlikeliyngimiddngnnnoybaykhxngstalininchwngnicungniymkhwamrunaerngaelarukran phyayamthicaaeykprachachatitanginyuorpmiihrwmknid xacklawidwafayshphaphosewiytrierimthaihekidsngkhrameynrahwangolktawntkhruxolkesrisungshrthepnphuna kbolktawnxxkhruxkhaysngkhmniymkhxmmiwnistthiosewiytepnphuna thaiholkxyuinsphawa 2 sunyxanacxyangekhrngkhrd stalinminoybayrwbrwmphnukkalngfaykhxmmiwnistekhaiwdwykn phayitxantikhxngshphaphosewiytxyangekhmngwd odyichkalngthharaelakarbibkhnthangdanxun echnthangesrsthkic epntn thaihpraethsinkhaysngkhmniyminyuorptawnxxkthukkhnannamwaepnbriwarosewiyt Soviet Satellite hrux Soviet Bloc sungeriykwa lththistalin Stalinism karaethrkaesngkaremuxnginpraethsxun aekikh nxkcakniosewiytyngekhaipmibthbathaethrkaesngkaremuxnginpraethsxun xik echninpi 1947 idsnbsnunphrrkhkhxmmiwnistihyudkhrxngkris ehtukarnkhrngniphrrkhkhxmmiwnistkrathakarimsaerc ephraashrthxemrikaidekhamaskdkn ihkhwamchwyehluxkrisaelaturkitamaephnkarmaaechl aelawikvtkarnpidlxmebxrlin kh s 1948 1949 thaihmikarephchiyhnakbmhaxanactawntkkhuxxngkvs frngess aelashrth cntxngaebngaeykeyxrmnxxkepn 2 praethsodyeddkhad nxkcaknikmiehtukarnthistalinkhbil yuokslaewiy phayitkarnakhxngtiotxxkcakxngkarnokhminfxrminpi 1948 aela inpi 1949 kprasbkhwamsaercinkarsranginkarkhidsrangxawuthniwekhliyrephuxaekhngkhnkbshrthxemrika aelapiediywknkcdtng sphaephuxkarchwyehluxsungknaelaknthangesrsthkic Council for Mutual Economic Assistance hrux Comecon okhemkhxn hrux CEMA sima ephuxtxtanxngkhkarkhwamrwmmuxthangesrsthkickhxngyuorp noybaytangpraeths cin aekikh osewiytmixiththiphlmakkhun ihkhwamchwyehluxcinphayhlngcakthikhxmmiwnistphayitkarnakhxngehmaecxtung ptiwtisaercemux 1949 osewiyttxngkarkhrxbngaciniwepnmitrthangyuththsastr ephuxskdknyipunaelashrthxemrika aemwaosewiytcamisnthisyyaphnthmitrkbcinemuxpi 1950 aelamixayu 30 piktam aetosewiyttxngkarcakhrxbngacinaelakhadkhwamcringicinkarchwyehluxcin cungklayepneruxngkhdaeyngtxmaphayhlng karthiosewiytsnbsnunchwyehluxekahliehnuxbukekahliitinsngkhramekahli 1950 sungaemosewiytimidpracnhnaodytrngephraacinekhamamibthbathaethnosewiyt tlxdcnkarsnbsnunewiydminhphayitkarnakhxngohciminh txtanfrngesstngaetsngkhramolkkhrngthi 2 sinsudlngcnprasbchychnainpi 1954 ehtukarnthiklawmaepneruxngthiosewiytekhaipmibthbathaethrkaesngephuxkarkhyayxanacaelaxiththiphlkhxngosewiytsrupidwa noybaytangpraethssmystalinepnipinthangrukaekhngkraw ephuxsrangxanacihaekhngaekrngmikhwamepnpukaephninkhaysngkhmniym phayitxiththiphlkhxngosewiytephuxaekhngkhnaelaskdknxiththiphlkhxngfaytawntkaelashrth cnkrathngstalinthungaekkrrminpi 1953 dwywy 75 pixangxing aekikh 1 0 1 1 wikrm krmdisth mxngsixioxolk phakh 7 ophst phblichching 2553 2 ephimskdi otswsdi stalin xanacbnsaksph krungethphmhankhr Animate Group ISBN 978 616 7030 17 3aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb ocesf stalinkxnhna ocesf stalin thdipwyaechslaf omoltxf prathanspharthmntriaehngshphaphosewiyt 6 phvsphakhm 1941 5 minakhm 1953 ekxxrki maelnkhxfesimyxn etxomechnok phubychakarklaohmaehngshphaphosewiyt 19 krkdakhm 1941 25 kumphaphnth 1946 niokhil bulkanin intaaehnngphubychakarthharsungsudwyaechslaf omoltxf intaaehnng elkhathikarphurbphidchxb elkhathikarphrrkhkhxmmiwnistaehngshphaphosewiyt 3 emsayn 1922 16 tulakhm 1952 nikita khruschxfxdxlf hitelxr bukhkhlaehngpikhxngnitysarithm kh s 1939 winstn echxrchilaefrngkhlin di rusewlth bukhkhlaehngpikhxngnitysarithm kh s 1942 cxrc maraechl bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title ocesf stalin amp oldid 9479179, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม