fbpx
วิกิพีเดีย

ปรากฏการณ์เกาะความร้อน

ปรากฏการณ์เกาะความร้อน หรือ เกาะความร้อนเมือง (อังกฤษ: urban heat island: UHI) คือปรากฏการณ์ที่พื้นที่ในมหานครมีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณโดยรอบอย่างมีนัย ความแตกต่างของอุณหภูมิที่สูงกว่าดังกล่าวจะชัดเจนในตอนกลางคืนมากกว่าตอนกลางวัน ในฤดูหนาวมากกว่าฤดูร้อนและเมื่อไม่มีลมหรือมีลมพัดอ่อน สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดเกาะความร้อนเมืองคือการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวของแผ่นดินที่เกิดจากการพัฒนาเมืองซึ่งใช้วัสดุที่ทำให้เกิดการสะสมกันของความร้อนประกอบกับความร้อนที่ปล่อยออกจากการใช้พลังงานตามอาคารสถานที่ต่างๆ เมื่อศูนย์กลางประชากรของเมืองเพิ่ม การเปลี่ยนแปลงผิวพื้นแผ่นดินก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้นตามไปเรื่อยๆ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเพิ่มอุณหภูมิทั่วไปโดยเฉลี่ย ผลของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองทำให้ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายเดือนในบริเวณใต้ลมที่ห่างจากใจกลางเมืองออกไปประมาณ 60 กิโลเมตรเพิ่มขึ้นจากปกติประมาณร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับบริเวณพื้นที่เหนือลม

โตเกียว, กรณีปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมือง อุณหภูมิปกติของโตเกียวที่สูงกว่าบริเวณใกล้เคียง.

สาเหตุ

 
ความร้อน (บน) และพืชพรรณ (ล่าง) ที่วัดโดยดาวเทียมข้อมูลอินฟราเรดแลนด์แซท 7 (Landsat 7)ชื่อ “Enhanced Thematic Mapper Plus” ของนาซาเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นวันที่ร้อนที่สุดในฤดูร้อนของนครนิวยอร์ก การเปรียบเทียบภาพถ่ายนี้แสดงให้เห็นว่าบริเวณที่มีพืชพรรณปกคลุมหนาแน่นจะมีอุณหภูมิต่ำกว่า

สาเหตุของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองมีหลายประการ สาเหตุหลักที่การร้อนขึ้นในช่วงกลางคืนเกิดจากการที่อาคารต่างๆ ปิดกั้นความร้อนจากภาคพื้นดินไม่ให้แผ่ขึ้นสู่ท้องฟ้าตอนกลางคืน(ที่เย็นกว่า) (ดูการแผ่รังสีความร้อน - thermal radiation) เหตุผลอีก 2 ประการได้แก่คุณสมบัติด้านความร้อนของผิววัสดุของสิ่งปลูกสร้างและการขาดการระเหยคายน้ำ (evapotranspiration) ในบริเวณเมือง วัสดุที่ใช้โดยทั่วไปในเมือง เช่น คอนกรีตและแอสฟัลต์มีคุณสมบัติในการรับความร้อนที่ต่างกันมาก รวมทั้งคุณสมบัติในการจุความร้อนและคุณสมบัติในการนำความร้อน และคุณสมบัติของอัตราส่วนรังสีสะท้อน (albedo) และสภาพการเปล่งรังสี (emissivity) มากกว่าบริเวณโดยรอบเมือง ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนความสมดุลของพลังงาน (energy balance) ในเขตเมืองซึ่งเป็นเหตุให้อุณหภูมิในเมืองสูงกว่าพื้นที่ชานเมืองหรือพื้นที่ชนบท ความสมดุลของพลังงานยังถูกกระทบจากการขาดพืชพรรณในพื้นที่ในเมืองที่จะช่วยให้เย็นลงจากการระเหยคายน้ำของต้นไม้ อีกสาเหตุหนึ่งของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองได้แก่ “ปรากฏการณ์เรขาคณิต” geometric effects) นั่นคืออาคารสูงจำนวนมากในย่านกลางเมืองเป็น ผิวเชิงอเนก ที่รับการสะท้อนและการดูดซับแสงอาทิตย์ ทำให้บริเวณในเมืองร้อนขึ้น ซึ่งเรียกกันว่า “ปรากฏการณ์หุบผา” (canyon effect)

อีกสาเหตุหนึ่งที่เกิดจากอาคารสูงได้แก่การบังลมซึ่งทำให้ไม่เกิดความเย็นจากการพาความร้อน (convection) ความร้อนที่ปล่อยออกจากเครื่องปรับอากาศของอาคาร โรงงานอุตสาหกรรมและแหล่งก่อความร้อนอื่นๆ ในเมืองมีส่วนทำให้เกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองได้เช่นกัน รวมทั้งบริเวณที่มีประชากรหนาแน่นในเมืองก็มีส่วนด้วยเช่นกัน นอกจากนี้มลภาวะในรูปต่างๆ ก็มีส่วนเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของบรรยากาศด้วย

สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (EPA) ได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า:

“เกาะความร้อนเกิดขึ้นเมื่อพืชพรรณถูกแทนที่ด้วยแอสฟัลท์และคอนกรีตที่ใช้ทำถนน อาคารและโครงสร้างอื่นที่มีความจำเป็นสำหรับการเพิ่มที่อยู่อาศัยและที่ทำงานของประชากร ผิวพื้นเหล่านี้ดูดซับ – มากกว่าสะท้อนความร้อนจากแสงแดด ทำให้อุณหภูมิผิวพื้นและอุณหภูมิของอากาศเพิ่มขึ้น” การใช้วลี “เกาะความร้อน” อีกแนวหนึ่งได้แก่การใช้หมายถึงบริเวณใดๆ ก็ตาม ไม่ว่าจะมีการอยู่อาศัยหรืออาคารบ้านเรือนหรือไม่ก็ตาม แต่มีการเกิดความร้อนสูงกว่าบริเวณโดยรอบ ในบางเมืองอาจเกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองสูงสุดในตอนกลางคืน (ดูภาพล่าง) โดยเฉพาะบาง หรือในบางครั้งในฤดูหนาว โดยมีความแตกต่างของอุณหภูมิหลายองศาระหว่างศูนย์กลางเมืองและบริเวณทุ่งชานเมือง ความแตกต่างของอุณหภูมิของสองบริเวณดังกล่าวนี้มักปรากฏในรายงานพยากรณ์อากาศของต่างประเทศ เช่น “อุณหภูมิกลางเมือง 68 องศา และชานเมือง 64 องศา” เป็นต้น

นัยสำคัญ

 
ภาพความร้อนของนครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สีน้ำเงินแสดงอุณหภูมิที่เย็น แดงอุ่น และขาวร้อน อุณหภูมิช่วงเวลากลางวันจะตกเพียงประมาณ 26.7°C (80°F) แต่อุณหภูมิผิวพื้นบางแห่งสูงถึง 47.8°C (118°F)

ปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองมีศักยภาพที่จะส่งอิทธิพลต่อสุขภาพและความผาสุกของประชากรในเมือง ในสหรัฐฯ ประเทศเดียว โดยเฉลี่ยมีผู้เสียชีวิตถึง 1,000 คนจากความร้อนจัด (Changnon et al., 1996), ในขณะที่ปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองที่ปรากฏในรูปของการเพิ่มอุณหภูมิมีศักยภาพที่จะเพิ่มขนาดความเนิ่นนานของคลื่นความร้อน ( heat wave) ที่เกิดในเมืองได้ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าอัตราการเสียชีวิตสูงสุดในช่วงการเกิดคลื่นความร้อนจะเป็นสัดส่วนรับกันกับช่วงที่มีอุณหภูมิสูงสุด (Buechley et al., 1972) ซึ่งนับเป็นผลกระทบในทางเลวที่เกิดจากปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมือง ผลกระทบในช่วงกลางคืนนับว่ามีอันตรายมากในช่วงเกิดคลื่นความร้อนเช่นกันเนื่องจากเป็นการทำให้ประชากรในเมืองไม่ให้ได้รับการผ่อนคลายเหมือนประชากรชานเมืองจากอุณหภูมิตอนกลางคืนลดต่ำลง (Clarke, 1972)

งานวิจัยในสหรัฐฯ แสดงให้เห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิที่สุดโต่งและการตายในสหรัฐฯ ผันแปรไปตามท้องถิ่น ในรายงานชื่อ “โครงการว่าด้วยสุขภาพที่ได้รับผลกระทบจากเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของโลก” ที่มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ (JHU) พบว่า ความร้อนมักเพิ่มความเสี่ยงในการเสียชีวิตมากในเมืองที่อยู่ในเส้นละติจูดปานกลางและละติจูดสูงที่มีความผันผวนของอุณหภูมิมาก ตัวอย่างเช่น เมื่อนครชิคาโกและนิวยอร์กที่ได้ประสบกับภาวะอุณหภูมิในฤดูร้อนสูงผิดปรกติ ความเจ็บป่วยและการเสียชีวิตสามารถคาดได้ว่าจะสูงตามไปด้วย ตรงข้ามกับประเทศที่มีไม่มีการผันผวนของอุณหภูมิตลอดปีมาก จะมีความเสี่ยงด้านสุขภาพจากคลื่นความร้อนของสาธารณชนน้อยกว่า งานวิจัยของ JHU แสดงให้เห็นว่าประชากรของเมืองในตอนใต้ของประเทศ เช่นไมอามีซึ่งคุ้นกับสภาพวะอากาศร้อนประสบปัญหาน้อยกว่า

ผลต่อเนื่องอีกประการหนึ่งของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองได้แก่การเพิ่มความสิ้นเปลืองพลังงานสำหรับเครื่องปรับอากาศและตู้เย็นในเมืองที่มีอากาศร้อน กลุ่มผู้ศึกษาปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองได้ทำการประมาณความสิ้นเปลืองดังกล่าวในนครลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนียว่าตกถึงประมาณ 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี ในขณะที่เมืองในเขตหนาว เช่น ชิคาโกกลับมีค่าใช้จ่ายสำหรับพลังงานเชื้อเพลิงสำหรับความอบอุ่นลดลงในฤดูหนาว

นอกจากผลกระทบที่ชัดเจนเกี่ยวกับอุณหภูมิแล้ว ปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองยังมีผลกระทบระดับที่สองต่อการอุตุนิยมท้องถิ่นด้วย ซึ่งรวมถึงการเปลี่ยนรูปแบบของลมประจำถิ่น การเกิดเมฆ หมอก ความชื้นและอัตราของหยาดน้ำฟ้า (Precipitation - ฝน หิมะ น้ำค้าง ฯลฯ) อีกด้วย

ด้วยการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม นักวิจัยได้พบว่าลมฟ้าอากาศของเมืองมีอิทธิพลที่สังเกตได้ต่อการเจริญเติบโตของพืชพรรณท้องถิ่นตามฤดูการปลูก โดยส่งผลไปไกลมากถึง 10 กิโลเมตรจากขอบของเมือง ฤดูเพาะปลูกในเมืองต่างๆ 70 เมืองในภาคตะออกเฉียงเหนือของสหรัฐฯ มีความยาวนานมากขึ้นประมาณ 15 วันเมื่อเทียบกับพื้นที่ชนบทขอบเมืองที่อยู่นอกอิทธิพลของปรากฏการณ์เกาะความร้อนของเมือง

การบรรเทา

ผลกระทบของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองอาจบรรเทาได้เล็กน้อยด้วยการใช้วัสดุที่มีผิวพื้นสีขาว หรือที่เป็นวัสดุสะท้อนความร้อนมาใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน ลานและถนนซึ่งเป็นการเพิ่มอัตรส่วนรังสีสะท้อน (albedo) โดยรวมของเมือง มีหลายประเทศที่นำวิธีนี้มาใช้นานแล้ว ทางเลือกที่สองได้แก่การเพิ่มจำนวนของพืชพรรณที่คายน้ำมาก วิธีทั้งสองนี้อาจนำมาประยุกต์รวมในรูปของ “หลังคาเขียว

เทศบาลนครนิวยอร์กได้ชี้ชัดว่าศักยภาพในการทำความเย็นตามพื้นที่ต่างๆ ที่สูงสุดได้แก่การปลูกต้นไม้ถนน ตามาด้วยหลังคาเขียว หรือสวนหลังคา หลังคาที่เป็นสีอ่อน และการปลูกพืชพรรณในที่ว่าง ในแง่ของค่าใช้จ่ายต่อประโยชน์ที่ได้ พบว่าการใช้พื้นผิวสีอ่อน หลังคาสีอ่อนและการปลูกต้นไม้ถนนมีค่าใช้จ่ายต่ออุณหภูมิที่ลดต่ำสุด [1]

ลักษณะการเกิดช่วงกลางวัน

องค์คณะรัฐบาลนานาชาติว่าด้วยการเปลียนแปลงภูมิอากาศ (IPCC) ได้ออกแถลงการณ์ดังนี้ “เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วว่า เมื่อเปรียบเทียบพื้นที่ที่ไม่ใช่เมือง เกาะความร้อนเมืองทำให้อุณหภูมิเมืองในตอนกลางคืนมากกว่าอุณหภูมิเมืองตอนกลางวัน" ตัวอย่างเช่น เมืองมอเรโน-การ์เซีย (Int. J. Climatology, 1994) พบว่าอุณหภูมิของเมืองบาร์เซโลนา เย็นกว่า 0.2°C สำหรับอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดประจำวันและร้อนกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุดประจำวันของสถานีตรวจวัดในพื้นที่ชนบทใกล้เคียง 2.9°C ความจริงแล้ว รายงานทำนองนี้แรกสุดเกี่ยวกับปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองเป็นของลุค เฮาวาร์ด (Luke Howard) ใน ปี พ.ศ. 2363 ว่า:

“เฮาวาร์ดได้ค้นพบว่าศูนย์กลางของเมืองในเวลากลางคืนร้อนกว่าพื้นที่พื้นที่ชนบทใกล้เคียง ซึ่งเป็นสภาวะที่เรียกกันในปัจจุบันว่าปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมือง ในการนำเสนอในการประชุม “ภูมิอากาศของลอนดอน” (พ.ศ. 2363) ในการเปรียบเทียบการอ่านค่าอุณหภูมิที่แตกต่างระหว่างลอนดอนกับชนบทในช่วงเวลา 9 ปี เฮาวาร์ดให้ข้อคิดเห็นว่า “ในเมืองตอนกลางคืนร้อนกว่า 3.70° และตอนกลางวันเย็นกว่า 0.34° เมื่อเทียบกับชนบท” เฮาวาร์ดกล่าวว่าความแตกต่างนี้เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงเป็นจำนวนมากในเมือง

ถึงแม้อุณหภูมิปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองจะแลเห็นชัดกว่าในเวลากลางคืน แต่ปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองก็ได้แสดงให้เห็นความชัดเจนและที่ค่อนข้างขัดกันลักษณะการเกิดตอนกลางวัน อุณหภูมิปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองจะมากในตอนกลางวันและน้อยกว่าในตอนกลางวัน ในขณะที่สิ่งตรงกันข้ามก็เป็นความจริง คืออุณหภูมิที่พื้นผิวของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองที่ร้อนกว่า จากการศึกษาของ Roth et al. (1990):

ความแตกต่างของอุณหภูมิผิวพื้นระหว่าง เมือง-ชนบท ในตอนกลางคืนน้อยกว่าตอนกลางวันมาก ซึ่งนี่ก็คือการกลับกันของอุณหภูมิใกล้ผิวพื้น ตลอดช่วงวลากลางวัน โดยเฉพาะเมื่อท้องฟ้าปราศจากเมฆ ผิวพื้นของเมืองจะร้อนขึ้นจากการดูดซับการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ผิวพื้นของเมืองจะร้อนเร็วกว่าผิวพื้นในชนบท โดยคุณสมบัติในการจุความร้อนที่ที่สูงมาก ผิวพื้นของเมือง (รวมผิวอาคารและโครงสร้างอื่นๆ) จึงกลายเป็นแหล่งเก็บกักพลังงานความร้อนขนาดยักษ์ (ตัวอย่างเช่น คอนกรีตสามารถจุความร้อนได้เป็น 2,000 เท่าของอากาศในบริมาตรเท่ากัน) ด้วยเหตุนี้ อุณหภูมิผิวที่สูงมากของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองจึงปรากฏชัดในภาพถ่ายดาวเทียมที่ถ่ายด้วยรังสีความร้อน (e.g. Lee, 1993)

อย่างไรก็ตาม ในกรณีของความร้อนช่วงกลางวันนี้ก็ทำให้เกิดปรากฏการณ์ “การพาความร้อน” (convective) โดยลมภายใน “เขตชั้นเมือง” (boundary layer) มีการเสนอทฤษฎีว่า เนื่องจากการผสมกันของบรรยากาศ อุณหภูมิอากาศในปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองจึงมีน้อยหรือเกือบไม่มีเลยแม้อุณหภูมิพื้นผิวจะร้อนมากก็ตาม (Camilloni and Barros, 1997)

ส่วนในตอนกลางคืน สถานการณ์กลับกลับกัน การไม่มีความร้อนจากรังสีดวงอาทิตย์ทำให้การพาความร้อนในบรรยากาศลดลง เขตชั้นเมืองเริ่มนิ่ง “ชั้นผกผัน” (inversion layer) จึงเกิดขึ้นและกักอากาศบริเวณใกล้ผิวในเมืองไว้ การร้อนขึ้นที่มาจากผิวพื้นที่ยังร้อนจึงเกิดได้กลายเป็นอุณหภูมิอากาศตอนกลางคืนของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมือง

คำอธิบายสำหรับการเพิ่มขึ้นสูงสุดของอุณหภูมิตอนกลางคืนคือ ต้นเหตุหลักของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองนั้นเกิดจากการปิดกั้น “วิวท้องฟ้า” ในช่วงที่กำลังอุณหภูมิกำลังเย็นลง ผิวพื้นสูญเสียความร้อนจำนวนมากในตอนกลางคืนด้วยการแผ่รังสีให้แก่ท้องฟ้า (ซึ่งค่อนข้างเย็น) แต่สำหรับในเมืองมีอาคารต่างๆ จำนวนมากปิดกั้นการแผ่รังสีเอาไว้ ปกติการเย็นโดยการคายรังสีจะเพิ่มมากขึ้นอย่างสำคัญเมื่อลมไม่แรงและท้องฟ้าไม่มีเมฆ ดังนั้น ปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองที่เกิดมากในตอนกลางคืนก็ด้วยเหตุนี้นั่นเอง

ความสัมพันธ์ที่มีต่อปรากฏการณ์โลกร้อน

เนื่องจากบางส่วนของบางเมืองอาจร้อนกว่าบริเวณโดยรอบได้หลายองศา จึงเป็นที่ห่วงใยว่า ผลของการพัฒนาเมืองแบบกระจาย (urban sprawl) อาจถูกแปลความหมายผิดไปว่าเป็นตัวการทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน แม้ปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองจะทำให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น แม้การร้อนของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองจะเพิ่มมากแต่ก็เป็นการเพิ่มเฉพาะถิ่น ยังไม่ปรากฏหลักฐานว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน


องค์คณะรัฐบาลนานาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (IPCC 2001) กล่าวว่า:

อย่างไรก็ดี เหนือซีกโลกตอนเหนือ บริเวณผิวแผ่นดินที่เกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองเด่นชัด แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของชั้นบรรยากาศชั้นล่าง (Troposphere) และอุณหภูมิอากาศที่ผิวพื้นดินไม่ปรากฏความแตกต่าง ในความเป็นจริง อุณหภูมิชั้นโทรโปสเฟียร์ตอนล่างเหนืออเมริกาเหนือจะร้อนขึ้นในอัตราที่เร็วกว่าเล็กน้อย (ประมาณ 0.28°C/ทศวรรษ โดยอาศัยข้อมูลดาวเทียม) เมื่อเทียบกับอุณหภูมิผิวพื้นแผ่นดิน (0.27°C/ทศวรรษ) ซึ่งในเชิงสถิติถือว่าไม่มีนัยสำคัญ

เป็นที่น่าสังเกตว่า ไม่ใช่เมืองทั้งหมดที่แสดงการร้อนที่สัมพันธ์กับพื้นที่ชนบทที่ล้อมรอบ ตัวอย่างเช่นที่ เฮนเสนและคณะ (Hansen et al. JGR, 2001) ได้ปรับแนวโน้มในสถานีตรวจวัดในเมืองต่างๆ ทั่วโลกเพื่อเทียบกับสถานีตรวจวัดในชนบทของภูมิภาคนั้นๆ เพื่อให้เกิดความกลมกลืนในการบันทึกอุณหภูมิ พบว่า จากการปรับ ร้อยละ 42 ทำให้แนวโน้มในเมืองเพิ่มขึ้น ซึ่งหมายความว่า ร้อยละ 42 ของกรณี เมืองเย็นลงเมื่อเทียบกับบริเวณโดยรอบแทนที่จะร้อนขึ้น เหตุผลหนึ่งก็คือเนื้อของเมืองไม่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน และสถานีตรวจวัดในเมืองส่วนใหญ่ตั้งอยู่ใน “เกาะเย็น” ซึ่งมักเป็นสวนสาธารณะที่อยู่ในเมือง

ปีเตอร์สัน (2003) ระบุว่าผลกระทบของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองอาจถูกขยายเกินจริง ปีเตอร์สันพบว่า “ขัดกับความรอบรู้ที่เป็นที่ยอมรับกัน ไม่พบว่ามีสถิติที่มีนัยชัดเจนว่าการพัฒนาเมืองมีผลกระทบต่ออุณหภูมิรายปี” การศึกษานี้ทำโดยการใช้ดาวเทียมตรวจจับแสงกลางคืนในบริเวณเมือง ในขณะที่งานวิจัยทั้งหมดกล่าวว่า ถ้าข้อสรุปเป็นที่ยอมรับ ดังนั้นย่อมจำเป็นที่จะต้อง “แก้ปมปัญหาความลับที่ว่าเหตุใดอนุกรมเวลา (time series) ของอุณหภูมิโลกจึงเกิดส่วนหนึ่งจากสถานีตรวจวัดในเมืองจึงไม่แสดงความเกี่ยวพันกับปรากฏการณ์โลกร้อน” ข้อสรุปสำคัญคือ ผลกระทบระดับจุลภาคและขนาดท้องถิ่นบดบังผลกระทบระดับมิโส หรือระดับกลาง (meso-scale impact) ของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมือง หลายสถานีตรวจวัดในเมืองอาจร้อนกว่าสถานีในชนบท แต่สถานีตรวจวัดทางอุตุนิยมวิทยาส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในสวนสาธารณะซึ่งเป็น “เกาะเย็น”

การศึกษาโดยเดวิด ปาร์กเกอร์ตีพิมพ์ใน “วารสารเนเจอร์” (Nature') ฉบับเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2547 และในวาสารภูมิอากาศ (Journal of Climate) เมือ่ปี พ.ศ. 2549 ได้พยายามทดสอบทฤษฎีปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมือง โดยทำการเปรียบเทียบค่าอุณหภูมิที่ได้จากคืนที่มีลมสงบกับคืนที่มีลมแรง หากทฤษฎีปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองถูกต้อง เครื่องมือย่อมวัดการเพิ่มมากของอุณหภูมิในคืนลมสงบมากกว่าคืนลมแรง เพราะการพัดของลมพาความร้อนออกไปจากเมืองและจากเครื่องมือที่ใช้วัด แต่กลับไม่ปรากฏว่ามีความแตกต่างกันของอุณหภูมิในคืนลมสงบและคืนลมแรง ผู้วิจัยจึงได้กล่าวว่า “เราแสดงให้เห็นว่า โดยรวมทั้งโลกแล้ว อุณหภูมิเหนือพื้นผิวแผ่นดินเพิ่มเท่าๆ กันขึ้นในคืนลมแรงและคืนลมสงบ ซึ่งแสดงว่าการร้อนขึ้นโดยรวมของโลกไม่ได้เกิดจากการพัฒนาเมือง

อย่างไรก็ตาม โรเจอร์ เอ. พิเอลเก (Roger A. Pielke) อ้างว่า การศึกษาของปาร์กเกอร์ (2004) นั้น “มีประเด็นปัญหาที่หนักที่การสรุป” [2] จากการวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร “Geophysical Research Letters” ที่กล่าวว่า "ถ้าความร้อนของขอบเขตชั้นกลางคืน (nocturnal boundary layer heat) เปลี่ยนไปตามเวลา แนวโน้มอุณหภูมิในขณะลมอ่อนในชั้นผิวพื้นก็จะเกี่ยวกับผลของความสูง และว่า แนวโน้มในลักษณะเดียวกันของอุณหภูมิย่อมไม่เกิดในชั้นผิวพื้นทั้งในคืนลมสงบและคืนลมแรง"[3]. อีกมุมมองหนึ่งมักเป็นข้อกังขาเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน ที่ว่าการเพิ่มของอุณหภูมิที่มากจะพบที่เทอร์มอมิเตอร์ที่ตั้งวัดบนดินเกิดจากการเพิ่มการพัฒนาเมืองและการวางตำแหน่งที่ตั้งของสถานีตรวจวัดในเมือง [4][5] อย่างไรก็ดี มุมมองนี้เป็นเพียงการนำเสนอใน “บทความแบบทั่วไป” (popular literature) ซึ่งไม่ปรากฏว่ามีการสอบทานโดยผู้รู้ของวารสารวิทยาศาสตร์แต่อย่างใด รายงานการประเมินฉบับที่ 4 ของ IPCC (Fourth Assessment Report from the IPCC) (2007: p.244) กล่าวไว้ดังนี้

การศึกษาที่มองในระดับซีกโลกและระดับโลกสรุปว่า แนวโน้มที่สัมพันธ์กับเมืองนับเป็นลำดับของขนาดที่เล็กกว่าแนวโน้มรอบทศวรรษและแนวโน้มในช่วงเวลาที่นานกว่าที่ปรากฏให้เห็นในอนุกรม (e.g., Jones et al., 1990; Peterson et al., 1999) ผลลัพธ์นี้ส่วนหนึ่งอาจเป็นลักษณะที่เกิดจากการละเว้นชุดข้อมูลตาตรางของสถานีตรวจที่มีจำนวนน้อย (<1%) ที่ปลอดจากแนวโน้มการร้อนที่สัมพันธ์กับเมือง ในชุดข้อมูลทั่งโลกที่มี 270 สถานี ปาร์กเกอร์ Parker (2004, 2006) กล่าวว่าแนวโน้มอุณหภูมิต่ำสุดช่วงการร้อนกลางคืนในช่วง พ.ศ. 2493 – พ.ศ. 2543 ไม่ได้เสริมคืนที่มีลมสงบ ซึ่งน่าจะเป็นเวลาที่ควรได้รับผลกระทบจากความร้อนเมือง ดังนั้น แนวโน้มการร้อนของพื้นผิวโลกที่ถกเถียงกันไปแล้วไม่น่าที่จะได้รับอิทธิพลมากจากการเพิ่มการพัฒนาเมือง (Parker, 2006). ... ในทำนองเดียวกัน ผลการประเมินนี้เพิ่มการร้อนขึ้นของเมืองในระดับเดียวกันย่อมไม่แน่นอน ดังปรากฏตาม TAR: 0.006°C ต่อทศวรรษนับตั้งแต่ พ.ศ. 2443 สำหรับบนแผ่นดิน และ 0.002°C ต่อทศวรรษนับตั้งแต่ พ.ศ. 2443 สำหรับการผสมรวมแผ่นดินกับมหาสมุทร ในขณะที่ปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองของมหาสมุทรเท่ากับศูนย์

อ้างอิง

  1. Fuchs, Dale (2005-06-28). "Spain goes hi-tech to beat drought". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 2007-08-02.
  2. home.pusan.ac.kr
  3. Hinkel, Kenneth M. (March 2003). "Barrow Urban Heat Island Study". Department of Geography, University of Cincinnati. สืบค้นเมื่อ 2007-08-02. Check date values in: |date= (help)
  4. http://eetd.lbl.gov/HeatIsland/EnergyUse/
  5. "Urban Climate - Climate Study and UHI". Arizona State University. สืบค้นเมื่อ 2007-08-02.
  6. "Urban Heat Islands Make Cities Greener" (Press release). NASA. 2004-06-29. สืบค้นเมื่อ 2007-08-02.
  7. "Urban Heat Islands Make Cities Greener". NASA. 2004-06-29. สืบค้นเมื่อ 2007-08-02.
  8. grida.no
  9. islandnet.com
  10. earthsci.unimelb.edu.au
  11. ams.confex.com
  12. grida.no
  13. Parker, David E. (2004), "Large-scale warming is not urban" (PDF), Nature, 432 (7015): 290–290, doi:10.1038/432290a, สืบค้นเมื่อ 2007-08-02
  14. Black, Richard (2004-11-18). "Climate change sceptics 'wrong'". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2007-08-02.
  15. Sandalow, David B. (2005-01-28). "Michael Crichton and Global Warming" (PDF). Brookings Institution. สืบค้นเมื่อ 2007-07-06. Check date values in: |date= (help)
  • R. W. Buechley, J. Van Bruggen, and L. E. Trippi (1972). "Heat island = death island?". Environmental Research. 5: 85–92.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  • I. Camilloni and V. Barros (1997). "On the urban heat island effect dependence on temperature trends". Climatic Change. 37: 665–681.
  • S. A. Changnon, Jr., K. E. Kunkel, and B. C. Reinke (1996). "Impacts and responses to the 1995 heat wave: A call to action". Bulletin of the American Meteorological Society. 77: 1497–1506.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  • J. F. Clarke (1972). "Some effects of the urban structure on heat mortality". Environmental Research. 5: 93–104.
  • P. D. Jones, P.Y. Groisman, M. Coughlan, N. Plummer, W.-C. Wang, T.R. Karl (1990). "Assessment of urbanization effects in time series of surface air temperature over land". Nature. 347: 169–172.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  • Helmut E. Landsberg (1981). The Urban Climate. New York: Academic Press. 0124359604.
  • H.-Y. Lee (1993). "An application of NOAA AVHRR thermal data to the study or urban heat islands". Atmospheric Environment. 27B: 1–13.
  • T. R. Oke (1982). "The energetic basis of the urban heat island". Quarterly Journal of the Royal Meteorological Society. 108: 1–24.
  • D. E. Parker (2004). "Climate: Large-scale warming is not urban". Nature. 432: 290.
  • David E. Parker (2006). "A demonstration that large-scale warming is not urban". Journal of Climate. 19: 2882–2895.
  • T. C. Peterson (2003). "Assessment of Urban Versus Rural In Situ Surface Temperatures in the Contiguous United States: No Difference Found". Journal of Climate. 16: 2941–2959. [6]
  • M. Roth, T. R. Oke, and W. J. Emery (1989). "Satellite-derived urban heat islands from three coastal cities and the utilization of such data in urban climatology". International Journal of Remote Sensing. 10: 1699–1720.CS1 maint: multiple names: authors list (link)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Land-Surface Air Temperature - จาก IPCC
  • Urban Heat Islands and Climate Change - จากมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น
  • The Surface Temperature Record and the Urban Heat Island จาก RealClimate.org
  • NASA Earth Observatory: The Earth's Big Cities, Urban Heat Islands
  • Research and mitigation strategies on UHI - US EPA designated, National Center of Excellence on SMART Innovations at Arizona State University
  • Urban Heat Island research group - NSF project, Department of Geography, Indiana State University

ปรากฏการณ, เกาะความร, อน, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, หร, เกาะความร, อนเม, อง, งกฤษ, urban, heat, island, อปรากฏการณ, . lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudpraktkarnekaakhwamrxn hrux ekaakhwamrxnemuxng xngkvs urban heat island UHI khuxpraktkarnthiphunthiinmhankhrmixunhphumisungkwabriewnodyrxbxyangminy khwamaetktangkhxngxunhphumithisungkwadngklawcachdecnintxnklangkhunmakkwatxnklangwn invduhnawmakkwavdurxnaelaemuximmilmhruxmilmphdxxn saehtusakhythithaihekidekaakhwamrxnemuxngkhuxkarepliynaeplngphunphiwkhxngaephndinthiekidcakkarphthnaemuxngsungichwsduthithaihekidkarsasmknkhxngkhwamrxnprakxbkbkhwamrxnthiplxyxxkcakkarichphlngngantamxakharsthanthitang emuxsunyklangprachakrkhxngemuxngephim karepliynaeplngphiwphunaephndinkyingephimmakkhuntamiperuxy sungepnsaehtukhxngkarephimxunhphumithwipodyechliy phlkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngthaihprimannafnechliyrayeduxninbriewnitlmthihangcakicklangemuxngxxkippraman 60 kiolemtrephimkhuncakpktipramanrxyla 28 emuxethiybkbbriewnphunthiehnuxlm 1 otekiyw krnipraktkarnekaakhwamrxnemuxng xunhphumipktikhxngotekiywthisungkwabriewniklekhiyng enuxha 1 saehtu 2 nysakhy 3 karbrretha 4 lksnakarekidchwngklangwn 5 khwamsmphnththimitxpraktkarnolkrxn 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunsaehtu aekikh khwamrxn bn aelaphuchphrrn lang thiwdodydawethiymkhxmulxinfraerdaelndaesth 7 Landsat 7 chux Enhanced Thematic Mapper Plus khxngnasaemuxwnthi 14 singhakhm ph s 2545 sungepnwnthirxnthisudinvdurxnkhxngnkhrniwyxrk karepriybethiybphaphthayniaesdngihehnwabriewnthimiphuchphrrnpkkhlumhnaaenncamixunhphumitakwa saehtukhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngmihlayprakar saehtuhlkthikarrxnkhuninchwngklangkhunekidcakkarthixakhartang pidknkhwamrxncakphakhphundinimihaephkhunsuthxngfatxnklangkhun thieynkwa dukaraephrngsikhwamrxn thermal radiation ehtuphlxik 2 prakaridaekkhunsmbtidankhwamrxnkhxngphiwwsdukhxngsingpluksrangaelakarkhadkarraehykhayna evapotranspiration inbriewnemuxng wsduthiichodythwipinemuxng echn khxnkritaelaaexsfltmikhunsmbtiinkarrbkhwamrxnthitangknmak rwmthngkhunsmbtiinkarcukhwamrxnaelakhunsmbtiinkarnakhwamrxn aelakhunsmbtikhxngxtraswnrngsisathxn albedo aelasphaphkareplngrngsi emissivity makkwabriewnodyrxbemuxng pccytang ehlanithaihekidkarepliynkhwamsmdulkhxngphlngngan energy balance inekhtemuxngsungepnehtuihxunhphumiinemuxngsungkwaphunthichanemuxnghruxphunthichnbth khwamsmdulkhxngphlngnganyngthukkrathbcakkarkhadphuchphrrninphunthiinemuxngthicachwyiheynlngcakkarraehykhaynakhxngtnim xiksaehtuhnungkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngidaek praktkarnerkhakhnit geometric effects nnkhuxxakharsungcanwnmakinyanklangemuxngepn phiwechingxenk thirbkarsathxnaelakardudsbaesngxathity thaihbriewninemuxngrxnkhun sungeriykknwa praktkarnhubpha canyon effect xiksaehtuhnungthiekidcakxakharsungidaekkarbnglmsungthaihimekidkhwameyncakkarphakhwamrxn convection khwamrxnthiplxyxxkcakekhruxngprbxakaskhxngxakhar orngnganxutsahkrrmaelaaehlngkxkhwamrxnxun inemuxngmiswnthaihekidpraktkarnekaakhwamrxnemuxngidechnkn rwmthngbriewnthimiprachakrhnaaenninemuxngkmiswndwyechnkn nxkcaknimlphawainruptang kmiswnepliynaeplngkhunsmbtikhxngbrryakasdwysanknganpkpxngsingaewdlxmshrth EPA idihkhaxthibayekiywkberuxngniiwwa ekaakhwamrxnekidkhunemuxphuchphrrnthukaethnthidwyaexsflthaelakhxnkritthiichthathnn xakharaelaokhrngsrangxunthimikhwamcaepnsahrbkarephimthixyuxasyaelathithangankhxngprachakr phiwphunehlanidudsb makkwasathxnkhwamrxncakaesngaedd thaihxunhphumiphiwphunaelaxunhphumikhxngxakasephimkhun karichwli ekaakhwamrxn xikaenwhnungidaekkarichhmaythungbriewnid ktam imwacamikarxyuxasyhruxxakharbaneruxnhruximktam aetmikarekidkhwamrxnsungkwabriewnodyrxb inbangemuxngxacekidpraktkarnekaakhwamrxnemuxngsungsudintxnklangkhun duphaphlang odyechphaabang 2 hruxinbangkhrnginvduhnaw 3 odymikhwamaetktangkhxngxunhphumihlayxngsarahwangsunyklangemuxngaelabriewnthungchanemuxng khwamaetktangkhxngxunhphumikhxngsxngbriewndngklawnimkpraktinraynganphyakrnxakaskhxngtangpraeths echn xunhphumiklangemuxng 68 xngsa aelachanemuxng 64 xngsa epntnnysakhy aekikh phaphkhwamrxnkhxngnkhraextaelnta rthcxreciy sinaenginaesdngxunhphumithieyn aedngxun aelakhawrxn xunhphumichwngewlaklangwncatkephiyngpraman 26 7 C 80 F aetxunhphumiphiwphunbangaehngsungthung 47 8 C 118 F praktkarnekaakhwamrxnemuxngmiskyphaphthicasngxiththiphltxsukhphaphaelakhwamphasukkhxngprachakrinemuxng inshrth praethsediyw odyechliymiphuesiychiwitthung 1 000 khncakkhwamrxncd Changnon et al 1996 inkhnathipraktkarnekaakhwamrxnemuxngthipraktinrupkhxngkarephimxunhphumimiskyphaphthicaephimkhnadkhwameninnankhxngkhlunkhwamrxn heat wave thiekidinemuxngid phlkarwicyaesdngihehnwaxtrakaresiychiwitsungsudinchwngkarekidkhlunkhwamrxncaepnsdswnrbknkbchwngthimixunhphumisungsud Buechley et al 1972 sungnbepnphlkrathbinthangelwthiekidcakpraktkarnekaakhwamrxnemuxng phlkrathbinchwngklangkhunnbwamixntraymakinchwngekidkhlunkhwamrxnechnknenuxngcakepnkarthaihprachakrinemuxngimihidrbkarphxnkhlayehmuxnprachakrchanemuxngcakxunhphumitxnklangkhunldtalng Clarke 1972 nganwicyinshrth aesdngihehnwakhwamsmphnthrahwangxunhphumithisudotngaelakartayinshrth phnaepriptamthxngthin inraynganchux okhrngkarwadwysukhphaphthiidrbphlkrathbcakepliynaeplngsingaewdlxmkhxngolk thimhawithyalycxnshxpkins JHU phbwa khwamrxnmkephimkhwamesiynginkaresiychiwitmakinemuxngthixyuinesnlaticudpanklangaelalaticudsungthimikhwamphnphwnkhxngxunhphumimak twxyangechn emuxnkhrchikhaokaelaniwyxrkthiidprasbkbphawaxunhphumiinvdurxnsungphidprkti khwamecbpwyaelakaresiychiwitsamarthkhadidwacasungtamipdwy trngkhamkbpraethsthimiimmikarphnphwnkhxngxunhphumitlxdpimak camikhwamesiyngdansukhphaphcakkhlunkhwamrxnkhxngsatharnchnnxykwa nganwicykhxng JHU aesdngihehnwaprachakrkhxngemuxngintxnitkhxngpraeths echnimxamisungkhunkbsphaphwaxakasrxnprasbpyhanxykwaphltxenuxngxikprakarhnungkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngidaekkarephimkhwamsinepluxngphlngngansahrbekhruxngprbxakasaelatueyninemuxngthimixakasrxn klumphusuksapraktkarnekaakhwamrxnemuxngidthakarpramankhwamsinepluxngdngklawinnkhrlxsaexneclis aekhlifxreniywatkthungpraman 100 landxllarshrth txpi 4 inkhnathiemuxnginekhthnaw echn chikhaokklbmikhaichcaysahrbphlngnganechuxephlingsahrbkhwamxbxunldlnginvduhnawnxkcakphlkrathbthichdecnekiywkbxunhphumiaelw praktkarnekaakhwamrxnemuxngyngmiphlkrathbradbthisxngtxkarxutuniymthxngthindwy sungrwmthungkarepliynrupaebbkhxnglmpracathin karekidemkh hmxk khwamchunaelaxtrakhxnghyadnafa Precipitation fn hima nakhang l xikdwy 5 dwykarichphaphthaydawethiym nkwicyidphbwalmfaxakaskhxngemuxngmixiththiphlthisngektidtxkarecriyetibotkhxngphuchphrrnthxngthintamvdukarpluk odysngphlipiklmakthung 10 kiolemtrcakkhxbkhxngemuxng vduephaaplukinemuxngtang 70 emuxnginphakhtaxxkechiyngehnuxkhxngshrth mikhwamyawnanmakkhunpraman 15 wnemuxethiybkbphunthichnbthkhxbemuxngthixyunxkxiththiphlkhxngpraktkarnekaakhwamrxnkhxngemuxng 6 7 karbrretha aekikhphlkrathbkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngxacbrrethaidelknxydwykarichwsduthimiphiwphunsikhaw hruxthiepnwsdusathxnkhwamrxnmaichinkarkxsrangxakharbaneruxn lanaelathnnsungepnkarephimxtrswnrngsisathxn albedo odyrwmkhxngemuxng mihlaypraethsthinawithinimaichnanaelw thangeluxkthisxngidaekkarephimcanwnkhxngphuchphrrnthikhaynamak withithngsxngnixacnamaprayuktrwminrupkhxng hlngkhaekhiyw ethsbalnkhrniwyxrkidchichdwaskyphaphinkarthakhwameyntamphunthitang thisungsudidaekkarpluktnimthnn tamadwyhlngkhaekhiyw hruxswnhlngkha hlngkhathiepnsixxn aelakarplukphuchphrrninthiwang inaengkhxngkhaichcaytxpraoychnthiid phbwakarichphunphiwsixxn hlngkhasixxnaelakarpluktnimthnnmikhaichcaytxxunhphumithildtasud 1 lksnakarekidchwngklangwn aekikhxngkhkhnarthbalnanachatiwadwykarepliynaeplngphumixakas IPCC idxxkaethlngkarndngni epnthithrabknodythwipaelwwa emuxepriybethiybphunthithiimichemuxng ekaakhwamrxnemuxngthaihxunhphumiemuxngintxnklangkhunmakkwaxunhphumiemuxngtxnklangwn 8 twxyangechn emuxngmxeron karesiy Int J Climatology 1994 phbwaxunhphumikhxngemuxngbaresolna eynkwa 0 2 C sahrbxunhphumiechliysungsudpracawnaelarxnkwaxunhphumiechliytasudpracawnkhxngsthanitrwcwdinphunthichnbthiklekhiyng 2 9 C khwamcringaelw raynganthanxngniaerksudekiywkbpraktkarnekaakhwamrxnemuxngepnkhxnglukh ehaward Luke Howard in pi ph s 2363 wa ehawardidkhnphbwasunyklangkhxngemuxnginewlaklangkhunrxnkwaphunthiphunthichnbthiklekhiyng sungepnsphawathieriykkninpccubnwapraktkarnekaakhwamrxnemuxng inkarnaesnxinkarprachum phumixakaskhxnglxndxn ph s 2363 inkarepriybethiybkarxankhaxunhphumithiaetktangrahwanglxndxnkbchnbthinchwngewla 9 pi ehawardihkhxkhidehnwa inemuxngtxnklangkhunrxnkwa 3 70 aelatxnklangwneynkwa 0 34 emuxethiybkbchnbth ehawardklawwakhwamaetktangniekidcakkarichechuxephlingepncanwnmakinemuxng 9 thungaemxunhphumipraktkarnekaakhwamrxnemuxngcaaelehnchdkwainewlaklangkhun aetpraktkarnekaakhwamrxnemuxngkidaesdngihehnkhwamchdecnaelathikhxnkhangkhdknlksnakarekidtxnklangwn xunhphumipraktkarnekaakhwamrxnemuxngcamakintxnklangwnaelanxykwaintxnklangwn inkhnathisingtrngknkhamkepnkhwamcring khuxxunhphumithiphunphiwkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngthirxnkwa cakkarsuksakhxng Roth et al 1990 khwamaetktangkhxngxunhphumiphiwphunrahwang emuxng chnbth intxnklangkhunnxykwatxnklangwnmak sungnikkhuxkarklbknkhxngxunhphumiiklphiwphun tlxdchwngwlaklangwn odyechphaaemuxthxngfaprascakemkh phiwphunkhxngemuxngcarxnkhuncakkardudsbkaraephrngsikhxngdwngxathity dngidklawmaaelwkhangtn phiwphunkhxngemuxngcarxnerwkwaphiwphuninchnbth odykhunsmbtiinkarcukhwamrxnthithisungmak phiwphunkhxngemuxng rwmphiwxakharaelaokhrngsrangxun cungklayepnaehlngekbkkphlngngankhwamrxnkhnadyks twxyangechn khxnkritsamarthcukhwamrxnidepn 2 000 ethakhxngxakasinbrimatrethakn dwyehtuni xunhphumiphiwthisungmakkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngcungpraktchdinphaphthaydawethiymthithaydwyrngsikhwamrxn e g Lee 1993 xyangirktam inkrnikhxngkhwamrxnchwngklangwnnikthaihekidpraktkarn karphakhwamrxn convective odylmphayin ekhtchnemuxng boundary layer mikaresnxthvsdiwa enuxngcakkarphsmknkhxngbrryakas xunhphumixakasinpraktkarnekaakhwamrxnemuxngcungminxyhruxekuxbimmielyaemxunhphumiphunphiwcarxnmakktam Camilloni and Barros 1997 swnintxnklangkhun sthankarnklbklbkn karimmikhwamrxncakrngsidwngxathitythaihkarphakhwamrxninbrryakasldlng ekhtchnemuxngerimning chnphkphn inversion layer cungekidkhunaelakkxakasbriewniklphiwinemuxngiw karrxnkhunthimacakphiwphunthiyngrxncungekididklayepnxunhphumixakastxnklangkhunkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngkhaxthibaysahrbkarephimkhunsungsudkhxngxunhphumitxnklangkhunkhux tnehtuhlkkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngnnekidcakkarpidkn wiwthxngfa inchwngthikalngxunhphumikalngeynlng phiwphunsuyesiykhwamrxncanwnmakintxnklangkhundwykaraephrngsiihaekthxngfa sungkhxnkhangeyn aetsahrbinemuxngmixakhartang canwnmakpidknkaraephrngsiexaiw pktikareynodykarkhayrngsicaephimmakkhunxyangsakhyemuxlmimaerngaelathxngfaimmiemkh dngnn praktkarnekaakhwamrxnemuxngthiekidmakintxnklangkhunkdwyehtuninnexng 10 11 khwamsmphnththimitxpraktkarnolkrxn aekikhenuxngcakbangswnkhxngbangemuxngxacrxnkwabriewnodyrxbidhlayxngsa cungepnthihwngiywa phlkhxngkarphthnaemuxngaebbkracay urban sprawl xacthukaeplkhwamhmayphidipwaepntwkarthaihekidsphawaolkrxn aempraktkarnekaakhwamrxnemuxngcathaihxunhphumikhxngolkephimkhun aemkarrxnkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngcaephimmakaetkepnkarephimechphaathin yngimprakthlkthanwaepnsaehtuthithaihekidsphawaolkrxnxngkhkhnarthbalnanachatiwadwykarepliynaeplngphumixakas IPCC 2001 klawwa xyangirkdi ehnuxsikolktxnehnux briewnphiwaephndinthiekidpraktkarnekaakhwamrxnemuxngednchd aenwonmkarepliynaeplngxunhphumikhxngchnbrryakaschnlang Troposphere aelaxunhphumixakasthiphiwphundinimpraktkhwamaetktang inkhwamepncring xunhphumichnothropsefiyrtxnlangehnuxxemrikaehnuxcarxnkhuninxtrathierwkwaelknxy praman 0 28 C thswrrs odyxasykhxmuldawethiym emuxethiybkbxunhphumiphiwphunaephndin 0 27 C thswrrs sunginechingsthitithuxwaimminysakhy 12 epnthinasngektwa imichemuxngthnghmdthiaesdngkarrxnthismphnthkbphunthichnbththilxmrxb twxyangechnthi ehnesnaelakhna Hansen et al JGR 2001 idprbaenwonminsthanitrwcwdinemuxngtang thwolkephuxethiybkbsthanitrwcwdinchnbthkhxngphumiphakhnn ephuxihekidkhwamklmkluninkarbnthukxunhphumi phbwa cakkarprb rxyla 42 thaihaenwonminemuxngephimkhun sunghmaykhwamwa rxyla 42 khxngkrni emuxngeynlngemuxethiybkbbriewnodyrxbaethnthicarxnkhun ehtuphlhnungkkhuxenuxkhxngemuxngimklmklunepnenuxediywkn aelasthanitrwcwdinemuxngswnihytngxyuin ekaaeyn sungmkepnswnsatharnathixyuinemuxngpietxrsn 2003 rabuwaphlkrathbkhxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxngxacthukkhyayekincring pietxrsnphbwa khdkbkhwamrxbruthiepnthiyxmrbkn imphbwamisthitithiminychdecnwakarphthnaemuxngmiphlkrathbtxxunhphumiraypi karsuksanithaodykarichdawethiymtrwccbaesngklangkhuninbriewnemuxng inkhnathinganwicythnghmdklawwa thakhxsrupepnthiyxmrb dngnnyxmcaepnthicatxng aekpmpyhakhwamlbthiwaehtuidxnukrmewla time series khxngxunhphumiolkcungekidswnhnungcaksthanitrwcwdinemuxngcungimaesdngkhwamekiywphnkbpraktkarnolkrxn khxsrupsakhykhux phlkrathbradbculphakhaelakhnadthxngthinbdbngphlkrathbradbmios hruxradbklang meso scale impact khxngpraktkarnekaakhwamrxnemuxng hlaysthanitrwcwdinemuxngxacrxnkwasthaniinchnbth aetsthanitrwcwdthangxutuniymwithyaswnihycatngxyuinswnsatharnasungepn ekaaeyn karsuksaodyedwid parkekxrtiphimphin warsarenecxr Nature chbbeduxnphvscikayn ph s 2547 aelainwasarphumixakas Journal of Climate emuxpi ph s 2549 idphyayamthdsxbthvsdipraktkarnekaakhwamrxnemuxng odythakarepriybethiybkhaxunhphumithiidcakkhunthimilmsngbkbkhunthimilmaerng hakthvsdipraktkarnekaakhwamrxnemuxngthuktxng ekhruxngmuxyxmwdkarephimmakkhxngxunhphumiinkhunlmsngbmakkwakhunlmaerng ephraakarphdkhxnglmphakhwamrxnxxkipcakemuxngaelacakekhruxngmuxthiichwd aetklbimpraktwamikhwamaetktangknkhxngxunhphumiinkhunlmsngbaelakhunlmaerng phuwicycungidklawwa eraaesdngihehnwa odyrwmthngolkaelw xunhphumiehnuxphunphiwaephndinephimetha knkhuninkhunlmaerngaelakhunlmsngb sungaesdngwakarrxnkhunodyrwmkhxngolkimidekidcakkarphthnaemuxng 13 14 xyangirktam orecxr ex phiexlek Roger A Pielke xangwa karsuksakhxngparkekxr 2004 nn mipraednpyhathihnkthikarsrup 2 cakkarwicythitiphimphinwarsar Geophysical Research Letters thiklawwa thakhwamrxnkhxngkhxbekhtchnklangkhun nocturnal boundary layer heat epliyniptamewla aenwonmxunhphumiinkhnalmxxninchnphiwphunkcaekiywkbphlkhxngkhwamsung aelawa aenwonminlksnaediywknkhxngxunhphumiyxmimekidinchnphiwphunthnginkhunlmsngbaelakhunlmaerng 3 xikmummxnghnungmkepnkhxkngkhaekiywkbphawaolkrxn thiwakarephimkhxngxunhphumithimakcaphbthiethxrmxmietxrthitngwdbndinekidcakkarephimkarphthnaemuxngaelakarwangtaaehnngthitngkhxngsthanitrwcwdinemuxng 4 5 xyangirkdi mummxngniepnephiyngkarnaesnxin bthkhwamaebbthwip popular literature sungimpraktwamikarsxbthanodyphurukhxngwarsarwithyasastraetxyangid 15 rayngankarpraeminchbbthi 4 khxng IPCC Fourth Assessment Report from the IPCC 2007 p 244 klawiwdngni karsuksathimxnginradbsikolkaelaradbolksrupwa aenwonmthismphnthkbemuxngnbepnladbkhxngkhnadthielkkwaaenwonmrxbthswrrsaelaaenwonminchwngewlathinankwathipraktihehninxnukrm e g Jones et al 1990 Peterson et al 1999 phllphthniswnhnungxacepnlksnathiekidcakkarlaewnchudkhxmultatrangkhxngsthanitrwcthimicanwnnxy lt 1 thiplxdcakaenwonmkarrxnthismphnthkbemuxng inchudkhxmulthngolkthimi 270 sthani parkekxr Parker 2004 2006 klawwaaenwonmxunhphumitasudchwngkarrxnklangkhuninchwng ph s 2493 ph s 2543 imidesrimkhunthimilmsngb sungnacaepnewlathikhwridrbphlkrathbcakkhwamrxnemuxng dngnn aenwonmkarrxnkhxngphunphiwolkthithkethiyngknipaelwimnathicaidrbxiththiphlmakcakkarephimkarphthnaemuxng Parker 2006 inthanxngediywkn phlkarpraeminniephimkarrxnkhunkhxngemuxnginradbediywknyxmimaennxn dngprakttam TAR 0 006 C txthswrrsnbtngaet ph s 2443 sahrbbnaephndin aela 0 002 C txthswrrsnbtngaet ph s 2443 sahrbkarphsmrwmaephndinkbmhasmuthr inkhnathipraktkarnekaakhwamrxnemuxngkhxngmhasmuthrethakbsunyxangxing aekikh Fuchs Dale 2005 06 28 Spain goes hi tech to beat drought The Guardian subkhnemux 2007 08 02 home pusan ac kr Hinkel Kenneth M March 2003 Barrow Urban Heat Island Study Department of Geography University of Cincinnati subkhnemux 2007 08 02 Check date values in date help http eetd lbl gov HeatIsland EnergyUse Urban Climate Climate Study and UHI Arizona State University subkhnemux 2007 08 02 Urban Heat Islands Make Cities Greener Press release NASA 2004 06 29 subkhnemux 2007 08 02 Urban Heat Islands Make Cities Greener NASA 2004 06 29 subkhnemux 2007 08 02 grida no islandnet com earthsci unimelb edu au ams confex com grida no Parker David E 2004 Large scale warming is not urban PDF Nature 432 7015 290 290 doi 10 1038 432290a subkhnemux 2007 08 02 Black Richard 2004 11 18 Climate change sceptics wrong BBC News subkhnemux 2007 08 02 Sandalow David B 2005 01 28 Michael Crichton and Global Warming PDF Brookings Institution subkhnemux 2007 07 06 Check date values in date help R W Buechley J Van Bruggen and L E Trippi 1972 Heat island death island Environmental Research 5 85 92 CS1 maint multiple names authors list link I Camilloni and V Barros 1997 On the urban heat island effect dependence on temperature trends Climatic Change 37 665 681 S A Changnon Jr K E Kunkel and B C Reinke 1996 Impacts and responses to the 1995 heat wave A call to action Bulletin of the American Meteorological Society 77 1497 1506 CS1 maint multiple names authors list link J F Clarke 1972 Some effects of the urban structure on heat mortality Environmental Research 5 93 104 P D Jones P Y Groisman M Coughlan N Plummer W C Wang T R Karl 1990 Assessment of urbanization effects in time series of surface air temperature over land Nature 347 169 172 CS1 maint multiple names authors list link Helmut E Landsberg 1981 The Urban Climate New York Academic Press 0124359604 H Y Lee 1993 An application of NOAA AVHRR thermal data to the study or urban heat islands Atmospheric Environment 27B 1 13 T R Oke 1982 The energetic basis of the urban heat island Quarterly Journal of the Royal Meteorological Society 108 1 24 D E Parker 2004 Climate Large scale warming is not urban Nature 432 290 David E Parker 2006 A demonstration that large scale warming is not urban Journal of Climate 19 2882 2895 T C Peterson 2003 Assessment of Urban Versus Rural In Situ Surface Temperatures in the Contiguous United States No Difference Found Journal of Climate 16 2941 2959 6 M Roth T R Oke and W J Emery 1989 Satellite derived urban heat islands from three coastal cities and the utilization of such data in urban climatology International Journal of Remote Sensing 10 1699 1720 CS1 maint multiple names authors list link aehlngkhxmulxun aekikhLand Surface Air Temperature cak IPCC Urban Heat Islands and Climate Change cakmhawithyalyemlebirn The Surface Temperature Record and the Urban Heat Island cak RealClimate org NASA Earth Observatory The Earth s Big Cities Urban Heat Islands Research and mitigation strategies on UHI US EPA designated National Center of Excellence on SMART Innovations at Arizona State University Urban Heat Island research group NSF project Department of Geography Indiana State Universityekhathungcak https th wikipedia org w index php title praktkarnekaakhwamrxn amp oldid 8260613, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม