fbpx
วิกิพีเดีย

ปีแยร์ กูว์รี

ปีแยร์ กูว์รี (ฝรั่งเศส: Pierre Curie; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 185919 เมษายน ค.ศ. 1906) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส สามีของมารี กูว์รี นักเคมีชาวโปแลนด์ ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1903

ปีแยร์ กูว์รี
เกิด15 พฤษภาคม 1859
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
เสียชีวิต19 เมษายน ค.ศ. 1906 (46 ปี)
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
สัญชาติชาวฝรั่งเศส
ศิษย์เก่าซอร์บอน
มีชื่อเสียงจากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี
รางวัลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์กับมารี กูว์รี (1903)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาฟิสิกส์
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอกปอล ล็องฌ์แว็ง
อ็องเดร-หลุยส์ เดอเบียร์น
มาร์เกอริต กาเตอรีน เปอแร
หมายเหตุ
แต่งงานกับมารี กูว์รี (แต่งงาน 25 กรกฎาคม 1895), ลูกของพวกเขาคือ อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี และ แอฟว์ กูว์รี

ประวัติ

ปีแยร์ กูว์รี เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยบิดาของเขาเป็นนายแพทย์ หลังจากจบการศึกษาขั้นต้นแล้ว ปีแยร์ได้เข้าศึกษาต่อวิชาเคมี ที่มหาวิทยาลัยซอร์บอนหลังจากที่เขาจบการศึกษาแล้วได้เข้าฝึกงานกับคณะผู้เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัย ซึ่งเขาก็สามารถสร้างผลงานเป็นที่น่าพอใจ และในปี ค.ศ. 1878 ปีแยร์ก็ได้รับรางวัลไซเอนซิเอต (Scienciate Award) ทางฟิสิกส์ และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการห้องทดลองประจำมหาวิทยาลัยซอร์บอน และในระหว่างนี้เขาได้รับเชิญเป็นที่ปรึกษาในโรงเรียน โรงงานอุตสาหกรรม และงานทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ

ต่อมาในปี ค.ศ. 1880 ปีแยร์ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับความต่างศักย์ของไฟฟ้าระหว่างผลึกหินควอทซ์กับเกลือโรเชลลีภายใต้ความกดดันสูง จากผลการทดลองเขาพบว่า ความกดดันมีผลกระทบต่อความต่างศักย์ ซึ่งปีแยร์เรียกสั้น ๆ ว่า "ปีแยร์โซอิเล็กทริซิตี" (Pierre so Electricity) และเขาได้พบเพิ่มเติมอีกว่า ถ้าเพิ่มค่าความต่างศักย์ของไฟฟ้าให้มากขึ้น จะทำให้พื้นผิวของผลึกเกิดการสั่นสะเทือน ทำให้เกิดคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงเกินกว่าที่คนปกติจะได้ยิน แต่ก็มีประโยชน์ เพราะต่อมานักวิทยาศาสตร์รุ่นหลังได้นำหลักการเดียวกันนี้มาประดิษฐ์อุปกรณ์เกี่ยวกับเสียงหลายชนิด เช่น ไมโครโฟน เครื่องบันทึกเสียง เป็นต้น

ในปี ค.ศ. 1895 ปีแยร์ได้ทดลองเกี่ยวกับความร้อนที่เกิดขึ้นกับแม่เหล็ก จากผลการทดลองปีแยร์พบว่าที่อุณหภูมิระดับหนึ่ง แม่เหล็กไม่สามารถแสดงสมบัติออกมาได้ โดยปีแยร์เรียกอุณหภูมิระดับนี้ว่า "เคียวรีพอยต์" (Cury Point) และจากการทดลองครั้งนี้ เขาได้สร้างเครื่องมือขึ้นมาชิ้นหนึ่งชื่อว่า อิเล็กทรอมิเตอร์ (Electrometer หรือ ThermoMeter) สำหรับใช้ในการทดลองครั้งนี้ด้วย จากผลงานชิ้นนี้เขาได้รับมอบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยซอร์บอน และได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการประจำห้องทดลองเคมีและฟิสิกส์ประจำมหาวิทยาลัยซอร์บอน ซึ่งทำให้เขามีโอกาสได้พบกับมาเรีย สกวอดอฟสกา (Maria Sklodowska) และแต่งงานกันในปี ค.ศ. 1895

ชีวิตส่วนตัว

หลังจากที่ปีแยร์ได้มีโอกาสพบกับมาเรีย สกวอดอฟสกา ภายหลังทั้งคู้จึงได้แต่งงานกันในปี ค.ศ. 1895 โดยมีบุตรสาวสองคน ได้แก่

  • อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี (Irène Joliot-Curie) โดยอีแรนเป็นบุตรีคนแรก และได้แต่งงานกับเฟรเดริก ฌอลีโย ผู้ค้นคว้าเรื่องการแผ่รังสีเทียม จนได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 1935
  • แอฟว์ กูว์รี (Ève Denise Curie Labouisse) บุตรีคนที่สอง ได้เขียนชีวประวัติของมารดาของเธอคือมารี กูว์รี ใน ค.ศ. 1937

เสียชีวิต

ในขณะที่ปีแยร์มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จทั้งด้านการงานและครอบครัว เหตุการณ์ไม่คาดคิดก็เกิดขึ้น ในขณะที่เขากำลังเดินไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อตรวจต้นฉบับ ได้มีรถบรรทุกคันหนึ่งวิ่งเข้ามาชนเขาล้มลง และทับศีรษะ ทำให้ปีแยร์เสียชีวิตทันทีในวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1906 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

อ้างอิง

  1. ที่สุดแห่ง "โนเบล" ตระกูล "กูรี" เหมาทั้งพ่อแม่ลูก แถมด้วย ใครอ่อนสุด-เมินไม่รับ
  • ปิแอร์ กูว์รี|ThaiGoodView.com
  • ปีแอร์ กูว์รี เว็บรางวัลโนเบล

แยร, ฝร, งเศส, pierre, curie, พฤษภาคม, 1859, เมษายน, 1906, เป, นน, กฟ, กส, ชาวฝร, งเศส, สาม, ของมาร, กเคม, ชาวโปแลนด, ได, บรางว, ลโนเบลสาขาฟ, กส, ในป, 1903เก, ด15, พฤษภาคม, 1859ปาร, ประเทศฝร, งเศสเส, ยช, ต19, เมษายน, 1906, ปาร, ประเทศฝร, งเศสส, ญชาต, ชาวฝร, งเ. piaeyr kuwri frngess Pierre Curie 15 phvsphakhm kh s 1859 19 emsayn kh s 1906 epnnkfisikschawfrngess samikhxngmari kuwri nkekhmichawopaelnd thiidrbrangwloneblsakhafisiksinpi kh s 1903piaeyr kuwriekid15 phvsphakhm 1859paris praethsfrngessesiychiwit19 emsayn kh s 1906 46 pi paris praethsfrngesssychatichawfrngesssisyekasxrbxnmichuxesiyngcakkarslaytwkhxngsarkmmntrngsirangwlrangwloneblsakhafisikskbmari kuwri 1903 xachiphthangwithyasastrsakhafisiksluksisyinradbpriyyaexkpxl lxngchaewngxxngedr hluys edxebiyrnmarekxrit kaetxrin epxaerhmayehtuaetngngankbmari kuwri aetngngan 25 krkdakhm 1895 lukkhxngphwkekhakhux xiaern chxlioy kuwri aela aexfw kuwri enuxha 1 prawti 2 chiwitswntw 3 esiychiwit 4 xangxingprawti aekikhpiaeyr kuwri ekidemuxwnthi 15 phvsphakhm kh s 1859 thikrungparis praethsfrngess odybidakhxngekhaepnnayaephthy hlngcakcbkarsuksakhntnaelw piaeyridekhasuksatxwichaekhmi thimhawithyalysxrbxnhlngcakthiekhacbkarsuksaaelwidekhafukngankbkhnaphuechiywchaythangwithyasastrkhxngthangmhawithyaly sungekhaksamarthsrangphlnganepnthinaphxic aelainpi kh s 1878 piaeyrkidrbrangwlisexnsiext Scienciate Award thangfisiks aelaidrbkaraetngtngihdarngtaaehnngphuchwyphuxanwykarhxngthdlxngpracamhawithyalysxrbxn aelainrahwangniekhaidrbechiyepnthipruksainorngeriyn orngnganxutsahkrrm aelanganthangwithyasastrtangtxmainpi kh s 1880 piaeyridthakarthdlxngekiywkbkhwamtangskykhxngiffarahwangphlukhinkhwxthskbekluxorechlliphayitkhwamkddnsung cakphlkarthdlxngekhaphbwa khwamkddnmiphlkrathbtxkhwamtangsky sungpiaeyreriyksn wa piaeyrosxielkthrisiti Pierre so Electricity aelaekhaidphbephimetimxikwa thaephimkhakhwamtangskykhxngiffaihmakkhun cathaihphunphiwkhxngphlukekidkarsnsaethuxn thaihekidkhlunesiyngthimikhwamthisungekinkwathikhnpkticaidyin aetkmipraoychn ephraatxmankwithyasastrrunhlngidnahlkkarediywknnimapradisthxupkrnekiywkbesiynghlaychnid echn imokhrofn ekhruxngbnthukesiyng epntninpi kh s 1895 piaeyridthdlxngekiywkbkhwamrxnthiekidkhunkbaemehlk cakphlkarthdlxngpiaeyrphbwathixunhphumiradbhnung aemehlkimsamarthaesdngsmbtixxkmaid odypiaeyreriykxunhphumiradbniwa ekhiywriphxyt Cury Point aelacakkarthdlxngkhrngni ekhaidsrangekhruxngmuxkhunmachinhnungchuxwa xielkthrxmietxr Electrometer hrux ThermoMeter sahrbichinkarthdlxngkhrngnidwy cakphlnganchinniekhaidrbmxbpriyyaexkcakmhawithyalysxrbxn aelaidrbkaraetngtngepnphuxanwykarpracahxngthdlxngekhmiaelafisikspracamhawithyalysxrbxn sungthaihekhamioxkasidphbkbmaeriy skwxdxfska Maria Sklodowska aelaaetngngankninpi kh s 1895chiwitswntw aekikh mari kuwriinpi 1911 hlngcakthipiaeyridmioxkasphbkbmaeriy skwxdxfska phayhlngthngkhucungidaetngngankninpi kh s 1895 odymibutrsawsxngkhn idaek xiaern chxlioy kuwri Irene Joliot Curie odyxiaernepnbutrikhnaerk aelaidaetngngankbefredrik chxlioy phukhnkhwaeruxngkaraephrngsiethiym cnidrbrangwloneblinpi kh s 1935 1 aexfw kuwri Eve Denise Curie Labouisse butrikhnthisxng idekhiynchiwprawtikhxngmardakhxngethxkhuxmari kuwri in kh s 1937esiychiwit aekikhinkhnathipiaeyrmichuxesiyngaelaprasbkhwamsaercthngdankarnganaelakhrxbkhrw ehtukarnimkhadkhidkekidkhun inkhnathiekhakalngedinipyngsankphimph ephuxtrwctnchbb idmirthbrrthukkhnhnungwingekhamachnekhalmlng aelathbsirsa thaihpiaeyresiychiwitthnthiinwnthi 19 emsayn kh s 1906 thikrungparis praethsfrngessxangxing aekikh thisudaehng onebl trakul kuri ehmathngphxaemluk aethmdwy ikhrxxnsud eminimrb piaexr kuwri ThaiGoodView com piaexr kuwri ewbrangwlonebl khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb piaeyr kuwri bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title piaeyr kuwri amp oldid 7829501, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม