fbpx
วิกิพีเดีย

พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์

ศาสตราจารย์ เภสัชกร พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ (Pornsak Sriamornsak) เป็นเภสัชกร, อาจารย์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และปริญญาโท จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2539 ก่อนได้รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอกจาก Charles Stuart University ประเทศออสเตรเลีย

พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์
เกิดพรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 (51 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
สัญชาติไทย
ชาติพันธุ์ไทย
การศึกษาสูงสุดปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยชาร์สล์สเติร์ต Charles Sturt University, Australia
อาชีพเภสัชกร, อาจารย์
ศาสนาพุทธ

พรศักดิ์ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2547 สาขาเภสัชศาสตร์ จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ 2556 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จากสภาวิจัยแห่งชาติ มีความเชี่ยวชาญพิเศษทางด้านเทคโนโลยีเภสัชกรรม (Pharmaceutical Technology) เน้นการพัฒนาและออกแบบรูปแบบยาและระบบนำส่งยา (Dosage Form and Drug Delivery Design) การผลิตยารูปแบบของแข็ง การใช้พอลิเมอร์ในทางเภสัชกรรม เทคนิคการพิมพ์สามมิติทางเภสัชกรรม นาโนเทคโนโลยีทางเภสัชกรรม และวิศวเภสัชกรรม

ประวัติ

ศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกร พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนกระทุ่มแบน “วิเศษสมุทคุณ” จังหวัดสมุทรสาคร จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) และปริญญาโท จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2537 และ 2539 ตามลำดับ และเข้ารับราชการเป็นอาจารย์อยู่ที่คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับทุนจากรัฐบาลประเทศออสเตรเลีย (International Postgraduate Research Scholarship) และจากมหาวิทยาลัย Charles Sturt (Charles Sturt University Postgraduate Research Scholarship) ในปี พ.ศ. 2542 เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัย Charles Sturt ประเทศออสเตรเลีย และสำเร็จการศึกษากลับมารับราชการอยู่ที่เดิม เมื่อปี พ.ศ. 2545 ในปี พ.ศ. 2550 ได้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสาขาเกษตรศาสตร์ (การจัดการการผลิตสัตว์)

ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ได้รับเงินประจำตำแหน่งสูงขึ้น (ศาสตราจารย์ระดับ 11 เดิม) สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ ประจำภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

เข้ารับราชการในคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรเมื่อปี พ.ศ. 2539 และเข้ารับการฝึกอบรมต่างๆ โดยได้รับประกาศนียบัตร/เกียรติบัตร/วุฒิบัตร จากการเข้ารับการฝึกอบรมฯ อาทิ

  • ประกาศนียบัตรหลักสูตรการฝึกอบรมความรู้ทางรัฐศาสตร์เรื่อง Bench-marking ในการบริหารองค์กร รุ่นที่ 4 โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (21 สิงหาคม 2548)
  • วุฒิบัตรหลักสูตรผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน หลักสูตร 2 โดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (8-10 ตุลาคม 2555)
  • วุฒิบัตรการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการบริหารความเสี่ยงด้านคุณภาพ รุ่นที่ 1 โดยสมาคมเภสัชกรการอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) (31 พฤษภาคม - 1 มิถุนายน 2556)
  • ประกาศนียบัตรการฝึกอบรมจริยธรรมการวิจัยในคน โดยชมรมจริยธรรมการวิจัยในคนในประเทศไทย และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (18 มิถุนายน 2558)
  • เกียรติบัตรสำเร็จหลักสูตรธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาคณะ สำหรับคณะกรรมการคณะ รุ่นที่ 11 โดยสถาบันคลังสมองของชาติ (17-20 สิงหาคม 2558)
  • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้ขอรับใบอนุญาตใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 16 โดยสถาบันพัฒนาการดำเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (18-19 พฤษภาคม 2559)
  • เกียรติบัตรสำเร็จหลักสูตรการประเมินผลกระทบจากงานวิจัยรุ่นที่ 1 โดยสถาบันคลังสมองของชาติ (26-27 พฤษภาคม 2559)
  • วุฒิบัตรโครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารมหาวิทยาลัยระดับสูง โดยมหาวิทยาลัยศิลปากร (18 มกราคม - 17 กรกฎาคม 2561)

เคยได้รับเชิญเป็นนักวิจัยรับเชิญหรือนักวิจัยอาคันตุกะในมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้แก่

  • Visiting Scientist, Department of Pharmacy, University of Sydney, Australia (2538)
  • Visiting Researcher, Department of Pharmaceutical Technology, Chiba University, Japan (2540)
  • Visiting Researcher, School of Biomedical Sciences, Charles Sturt University, Australia (2541)  
  • Visiting Researcher, Department of Pharmaceutical Engineering, University of Applied Sciences Berlin, Germany (2553)   

และเคยเดินทางไปศึกษาดูงานในมหาวิทยาลัยต่างๆ ในหลายภูมิภาค อาทิ

  • ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยในประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศสและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี อาทิ Universite Rene Descartes - Paris V, Universite Paris-Sud 11, Technische Universität Berlin, Beuth Hochschule für Technik Berlin, Otto-von-Guericke-Universität Magdeburg, Max-Planck-Institute for Colloids and Interface, Hochschule für Technik und Wirtschaft Berlin (2553)      
  • ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน อาทิ University of Pharmacy Mandalay, University of Pharmacy Yangon, Universiti Teknologi MARA, Monash University Malaysia, National University of Singapore (2557)      
  • ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสหรัฐอเมริกา อาทิ Johns Hopkins University, Massachusetts Institute of Technology (MIT), Harvard University, University of Pennsylvania, New York University (2560)  
  • ศึกษาดูงานด้านการจัดการศึกษาและวิจัยในประเทศสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) อาทิ National Taiwan Normal University, National Chung Cheng University, National Cheng Kung University, National Kaohsiung Normal University, Songshan Culture and Creative Park (2561)
  • ศึกษาดูงานด้านการจัดการศึกษาและนวัตกรรมในสหราชอาณาจักร อาทิ University of Cambridge, University of Leeds, Higher Education Academy, Heriot-Watt University (2561)

ตำแหน่งในปัจจุบัน

  • ภาคีสมาชิก ราชบัณฑิตยสภา (สำนักวิทยาศาสตร์ ประเภทวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์) (พ.ศ. 2560 -)
  • อุปนายก สมาคมเภสัชกรการอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) (พ.ศ. 2563 -)
  • กรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก (พ.ศ. 2563 -)
  • กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ประเภทคณาจารย์ประจำ (พ.ศ. 2564 -)
  • Editor-in-Chief วารสาร Science, Engineering and Health Studies (SEHS) (พ.ศ. 2562 -)
  • ประธานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์​ มหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ. 2562 -)

ประสบการณ์ด้านการบริหาร

  • ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ (พ.ศ. 2546)
  • ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ (พ.ศ. 2548)
  • ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา คณะเภสัชศาสตร์ (พ.ศ. 2548 – พ.ศ. 2550)
  • กรรมการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ. 2549 – พ.ศ. 2553)
  • หัวหน้ากลุ่มวิจัยพอลิเมอร์ธรรมชาติสำหรับอุตสาหกรรมยา (Pharmaceutical Biopolymer Group, PBiG) คณะเภสัชศาสตร์ (พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2559)
  • รองคณบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา คณะเภสัชศาสตร์ (พ.ศ. 2551)
  • รองคณบดีฝ่ายวิจัยและระบบสารสนเทศ คณะเภสัชศาสตร์ (พ.ศ. 2552 – พ.ศ. 2555)
  • กรรมการประจำศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2559)
  • ที่ปรึกษาประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ. 2554 – พ.ศ. 2559)
  • เลขาธิการและกรรมการบริหารสมาคมเภสัชกรการอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) (พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2563)
  • รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ (พ.ศ. 2556 – พ.ศ. 2559)
  • รักษาการผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2561)
  • กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร (ประเภทผู้บริหาร) (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2561)
  • เลขานุการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ. 2561)
  • รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2562)
  • ประธานอนุกรรมการเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2562)

ผลงานวิจัย

งานวิจัยและพัฒนาของศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ เกี่ยวข้องกับการออกแบบรูปแบบยาหรือระบบนำส่งยาแบบใหม่โดยใช้เทคโนโลยีทางเภสัชกรรม โดยเน้นการพัฒนาสารพอลิเมอร์จากธรรมชาติ (เช่น เพกตินจากเปลือกส้มหรือกากผลไม้ อัลจิเนตจากสาหร่ายทะเล หรือ ไคโตแซนจากเปลือกกุ้งหรือกระดองปู เป็นต้น) มาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเกษตร ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบระบบนำส่งยาและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตยาที่ได้ทำการศึกษาวิจัย เช่น

  • การออกแบบยาเม็ดโดยใช้เพคตินเป็นสารก่อเจล เพื่อชะลอการปลดปล่อยตัวยาที่ให้โดยการรับประทาน เนื่องจากเพกตินมีสมบัติในการดูดน้ำและพองตัวเกิดเป็นชั้นเจลรอบเม็ดยาได้ ซึ่งยาเม็ดที่ออกแบบสามารถเตรียมได้ง่ายโดยใช้เครื่องมือที่มีอยู่เดิม ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือราคาแพง และใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ไม่ซับซ้อน
  • การพัฒนาระบบยาเม็ดเคลือบฟิล์มชนิดคอมพอสิตระหว่างเพกตินกับพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่ไม่ละลายน้ำ เพื่อใช้ในการควบคุมการปลดปล่อยยาจากระบบนำส่งยาแบบนำวิถีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (site-specific drug delivery system) ที่ลำไส้ใหญ่
  • การพัฒนาเทคโนโลยีการเคลือบฟิล์มยาเม็ดโดยอาศัยหลักการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีที่ผิวประจันของเม็ดยากับเพกตินเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อน เพื่อใช้ในการควบคุมการปลดปล่อยตัวยาออกจากเม็ดยา ซึ่งวิธีการนี้ช่วยลดการใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ในการเคลือบ และไม่ต้องใช้อุณหภูมิสูงในการทำให้แห้ง
  • การออกแบบระบบเจลบีดเพื่อเก็บกักยาหรือยาโปรตีนสำหรับใช้ในการนำส่งยาที่ให้โดยการรับประทาน โดยอาศัยหลักการเกิดเจลระหว่างประจุ (ionotropic gelation) ซึ่งทำได้ง่าย ไม่ซับซ้อน ไม่ต้องใช้เครื่องมือที่มีราคาแพง ไม่ต้องใช้ความร้อนหรือแรงปั่นความเร็วสูง จึงไม่ทำให้โครงสร้างของยาโปรตีนเสียสภาพไป
  • การพัฒนาเทคโนโลยีการควบคุมการปลดปล่อยยาจากระบบนำส่งยาชนิดลอยตัวได้ในกระเพาะอาหารเพื่อให้ระบบคงอยู่ในทางเดินอาหารนานขึ้น เพื่อใช้สำหรับยาที่ต้องการให้ออกฤทธิ์เฉพาะที่ในกระเพาะอาหาร ยาที่มีปัญหาการดูดซึม หรือยาที่มีปัญหาเรื่องความคงตัว
  • การศึกษากลไกการยึดเกาะเยื่อเมือกในทางเดินอาหารและการพัฒนาระบบนำส่งยาชนิดยึดเกาะเยื่อเมือก เพื่อช่วยเพิ่มระยะเวลาคงอยู่ในบริเวณที่ต้องการหรือบริเวณที่ดูดซึมยา และการเกาะติดที่ชั้นเยื่อเมือกที่ปกคลุมเยื่อบุผิวทำให้ระยะทางที่ยาต้องแพร่ผ่านเข้าสู่กระแสเลือดสั้นลงทำให้มีการดูดซึมได้ดีขึ้น
  • การพัฒนารูปแบบยาและการตั้งตำรับเพื่อแก้ปัญหายาที่มีปัญหาการละลาย/การดูดซึมในทางเดินอาหาร
  • การพัฒนาระบบนำส่งยาชนิดมุ่งเป้าสำหรับการรักษาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
  • เทคนิคการพิมพ์สามมิติ (3D printing) สำหรับการออกแบบรูปแบบยาสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย

นอกจากนั้น ได้ทำการวิจัยด้านการผลิตเพกตินจากเปลือกส้มโอซึ่งเป็นของเหลือทิ้งจากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรในท้องถิ่นและนำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยาและพัฒนาเป็นระบบนำส่งยารูปแบบใหม่ๆ รวมถึงการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร และการใช้ประโยชน์เชิงสุขภาพ

งานวิจัยในกลุ่มวิจัยพอลิเมอร์ธรรมชาติสำหรับอุตสาหกรรมยา (PBiG) เน้นการใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์ธรรมชาติ เช่น เพกติน (pectin), ไคโตแซน (chitosan), อัลจิเนต (alginate), เชลแล็ก (shellac) เป็นต้น


ผลงานวิจัย

  • ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติมากกว่า 180 เรื่อง
  • บทคัดย่อและรายงานวิจัยตีพิมพ์ในเอกสารการประชุมวิชาการในและต่างประเทศมากกว่า 340 เรื่อง 
  • บทความวิชาการมากกว่า 22 เรื่อง 
  • หนังสือและบทในหนังสือมากกว่า 17 เล่ม/บท
  • คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร 9 เรื่อง
  • การถูกอ้างอิง (citation) ในฐานข้อมูล Scopus มากกว่า 4,500 ครั้ง และในฐานข้อมูล Google Scholar มากกว่า 6,700 ครั้ง
  • บรรณาธิการ/กองบรรณาธิการของวารสารวิชาการต่างประเทศหลายฉบับ

เกียรติคุณและรางวัล

  • พ.ศ. 2563 - Included in the World’s Top 2% of the Most-cited Scientists 2020, in pharmacology and pharmacy, as ranked by Stanford University (position 529 among 94,611 scientists)
  • พ.ศ. 2562 - Named as a finalist for ‘Alumni of the Year’ in the Australian Alumni Awards Thailand 2019
  • พ.ศ. 2561 - รางวัล Outstanding Contribution Awards of Editorial Board Member จากวารสาร Asian Journal of Pharmaceutical Sciences
  • พ.ศ. 2561 - รางวัลเพชรเภสัชมหิดล (เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีการก่อตั้งคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • พ.ศ. 2559 - รางวัล MyCRS Best Poster Award จาก Controlled Release Society (Malaysia Chapter)
  • พ.ศ. 2556 - รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ 2556 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
  • พ.ศ. 2556 - รางวัล 2012-2013 Thailand Distinguished Polymer Scientist จากสมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศ
  • พ.ศ. 2555 - รางวัล Ishidate Award (Pharmaceutical Research) จาก Federation of Asian Pharmaceutical Association
  • พ.ศ. 2554 - รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี พ.ศ. 2553 ประเภทวิชาการ/วิจัย จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
  • พ.ศ. 2552 - รางวัลนักวิจัยรุ่นกลางดีเด่นประจำปี 2552 (TRF-CHE-SCOPUS Researcher Award 2009) จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสำนักพิมพ์ Elsevier
  • พ.ศ. 2552 - รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี พ.ศ. 2552 จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • พ.ศ. 2548 - รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ: รางวัลผลงานวิจัย (รางวัลชมเชย) สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  • พ.ศ. 2548 - รางวัลผลงานวิจัยดี ประจำปี พ.ศ. 2548 จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • พ.ศ. 2547 - รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ. ประจำปี พ.ศ. 2547 จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • พ.ศ. 2547 - รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2547 สาขาเภสัชศาสตร์ จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
  • พ.ศ. 2547 - รางวัลทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเกษตรศาสตร์ ประจำปี พ.ศ. 2546 (จากมูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย)
  • พ.ศ. 2545 - รางวัล Nagai Award Thailand 2002 (Outstanding Research) จาก Nagai Foundation Tokyo ประเทศญี่ปุ่น
  • พ.ศ. 2545 - Charles Sturt University Writing-Up Award จาก Charles Sturt University ประเทศออสเตรเลีย


เครื่องราชอิสริยาภรณ์

  • พ.ศ. 2557 - จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)
  • พ.ศ. 2558 - ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
  • พ.ศ. 2563 - มหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)

อ้างอิง


พรศ, กด, ศร, อมรศ, กด, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดศาสตราจารย, เภส, ชกร, pornsak, sriamornsak, เป, นเภส, ชกร, อาจารย,. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudsastracary ephschkr phrskdi srixmrskdi Pornsak Sriamornsak epnephschkr xacarychawithy ekidemuxwnthi 23 kumphaphnth ph s 2513 saerckarsuksaradbpriyyatri aelapriyyaoth cakkhnaephschsastr mhawithyalymhidl aelaekharbrachkarepnxacarypracakhnaephschsastr mhawithyalysilpakr inpi ph s 2539 kxnidrbthunsuksatxradbpriyyaexkcak Charles Stuart University praethsxxsetreliyphrskdi srixmrskdiekidphrskdi srixmrskdi 23 kumphaphnth ph s 2513 51 pi krungethphmhankhr praethsithysychatiithychatiphnthuithykarsuksasungsudpriyyadusdibnthit mhawithyalycharslsetirt Charles Sturt University Australiaxachiphephschkr xacarysasnaphuththphrskdiidrbrangwlnkwithyasastrrunihm pracapi ph s 2547 sakhaephschsastr cakmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyiinphrabrmrachupthmph rangwlnkwicydiednaehngchati 2556 sakhawithyasastrekhmiaelaephsch caksphawicyaehngchati mikhwamechiywchayphiessthangdanethkhonolyiephschkrrm Pharmaceutical Technology ennkarphthnaaelaxxkaebbrupaebbyaaelarabbnasngya Dosage Form and Drug Delivery Design karphlityarupaebbkhxngaekhng karichphxliemxrinthangephschkrrm ethkhnikhkarphimphsammitithangephschkrrm naonethkhonolyithangephschkrrm aelawiswephschkrrm enuxha 1 prawti 2 taaehnnginpccubn 3 prasbkarndankarbrihar 4 phlnganwicy 5 ekiyrtikhunaelarangwl 6 xangxingprawti aekikhsastracary dr ephschkr phrskdi srixmrskdi cbkarsuksaradbmthymsuksacakorngeriynkrathumaebn wiesssmuthkhun cnghwdsmuthrsakhr cbkarsuksaradbpriyyatri ekiyrtiniym aelapriyyaoth cakkhnaephschsastr mhawithyalymhidl inpi ph s 2537 aela 2539 tamladb aelaekharbrachkarepnxacaryxyuthikhnaephschsastr mhawithyalysilpakr idrbthuncakrthbalpraethsxxsetreliy International Postgraduate Research Scholarship aelacakmhawithyaly Charles Sturt Charles Sturt University Postgraduate Research Scholarship inpi ph s 2542 ephuxekhasuksatxradbpriyyaexkthimhawithyaly Charles Sturt praethsxxsetreliy aelasaerckarsuksaklbmarbrachkarxyuthiedim emuxpi ph s 2545 inpi ph s 2550 idsaerckarsuksapriyyatri cakmhawithyalysuokhthythrrmathirach insakhaekstrsastr karcdkarkarphlitstw pccubndarngtaaehnng sastracaryidrbenginpracataaehnngsungkhun sastracaryradb 11 edim sakhawichaephschsastr pracaphakhwichaethkhonolyiephschkrrm khnaephschsastr mhawithyalysilpakrekharbrachkarinkhnaephschsastr mhawithyalysilpakremuxpi ph s 2539 aelaekharbkarfukxbrmtang odyidrbprakasniybtr ekiyrtibtr wuthibtr cakkarekharbkarfukxbrm xathi prakasniybtrhlksutrkarfukxbrmkhwamruthangrthsastreruxng Bench marking inkarbriharxngkhkr runthi 4 odymhawithyalythrrmsastr 21 singhakhm 2548 wuthibtrhlksutrphupraeminkhunphaphkarsuksaphayin hlksutr 2 odysankngankhnakrrmkarkarxudmsuksa aelakhnaephschsastr mhawithyalysilpakr 8 10 tulakhm 2555 wuthibtrkarxbrmechingptibtikareruxngkarbriharkhwamesiyngdankhunphaph runthi 1 odysmakhmephschkrkarxutsahkrrm praethsithy 31 phvsphakhm 1 mithunayn 2556 prakasniybtrkarfukxbrmcriythrrmkarwicyinkhn odychmrmcriythrrmkarwicyinkhninpraethsithy aelakhnaephschsastr mhawithyalysilpakr 18 mithunayn 2558 ekiyrtibtrsaerchlksutrthrrmaphibalephuxkarphthnakhna sahrbkhnakrrmkarkhna runthi 11 odysthabnkhlngsmxngkhxngchati 17 20 singhakhm 2558 prakasniybtrhlksutrphukhxrbibxnuyatichstwephuxnganthangwithyasastr khrngthi 16 odysthabnphthnakardaeninkartxstwephuxnganthangwithyasastr sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati 18 19 phvsphakhm 2559 ekiyrtibtrsaerchlksutrkarpraeminphlkrathbcaknganwicyrunthi 1 odysthabnkhlngsmxngkhxngchati 26 27 phvsphakhm 2559 wuthibtrokhrngkarfukxbrmhlksutrnkbriharmhawithyalyradbsung odymhawithyalysilpakr 18 mkrakhm 17 krkdakhm 2561 ekhyidrbechiyepnnkwicyrbechiyhruxnkwicyxakhntukainmhawithyalytang idaek Visiting Scientist Department of Pharmacy University of Sydney Australia 2538 Visiting Researcher Department of Pharmaceutical Technology Chiba University Japan 2540 Visiting Researcher School of Biomedical Sciences Charles Sturt University Australia 2541 Visiting Researcher Department of Pharmaceutical Engineering University of Applied Sciences Berlin Germany 2553 aelaekhyedinthangipsuksadunganinmhawithyalytang inhlayphumiphakh xathi suksadunganmhawithyalyinpraethssatharnrthfrngessaelashphnthsatharnrtheyxrmni xathi Universite Rene Descartes Paris V Universite Paris Sud 11 Technische Universitat Berlin Beuth Hochschule fur Technik Berlin Otto von Guericke Universitat Magdeburg Max Planck Institute for Colloids and Interface Hochschule fur Technik und Wirtschaft Berlin 2553 suksadunganmhawithyalyinklumpraethsxaesiyn xathi University of Pharmacy Mandalay University of Pharmacy Yangon Universiti Teknologi MARA Monash University Malaysia National University of Singapore 2557 suksadunganmhawithyalychnnainpraethsshrthxemrika xathi Johns Hopkins University Massachusetts Institute of Technology MIT Harvard University University of Pennsylvania New York University 2560 suksadungandankarcdkarsuksaaelawicyinpraethssatharnrthcin ithwn xathi National Taiwan Normal University National Chung Cheng University National Cheng Kung University National Kaohsiung Normal University Songshan Culture and Creative Park 2561 suksadungandankarcdkarsuksaaelanwtkrrminshrachxanackr xathi University of Cambridge University of Leeds Higher Education Academy Heriot Watt University 2561 taaehnnginpccubn aekikhphakhismachik rachbnthityspha sankwithyasastr praephthwichawithyasastrsukhphaph sakhawichaephschsastr ph s 2560 xupnayk smakhmephschkrkarxutsahkrrm praethsithy ph s 2563 krrmkarphicarnataaehnngthangwichakar sthabnphrabrmrachchnk ph s 2563 krrmkarsphamhawithyalysilpakr praephthkhnacarypraca ph s 2564 Editor in Chief warsar Science Engineering and Health Studies SEHS ph s 2562 prathankhnakrrmkarcriythrrmkarwicyinmnusy mhawithyalysilpakr ph s 2562 prasbkarndankarbrihar aekikhphuchwykhnbdifaykickarnksuksa khnaephschsastr ph s 2546 phuchwykhnbdifaypraknkhunphaphkarsuksa khnaephschsastr ph s 2548 phuchwykhnbdifaywicyaelaphthna khnaephschsastr ph s 2548 ph s 2550 krrmkarpracasthabnwicyaelaphthna mhawithyalysilpakr ph s 2549 ph s 2553 hwhnaklumwicyphxliemxrthrrmchatisahrbxutsahkrrmya Pharmaceutical Biopolymer Group PBiG khnaephschsastr ph s 2550 ph s 2559 rxngkhnbdifaywicyaelaphthna khnaephschsastr ph s 2551 rxngkhnbdifaywicyaelarabbsarsneths khnaephschsastr ph s 2552 ph s 2555 krrmkarpracasunykhxmphiwetxr mhawithyalysilpakr ph s 2553 ph s 2559 thipruksapracasthabnwicyaelaphthna mhawithyalysilpakr ph s 2554 ph s 2559 elkhathikaraelakrrmkarbriharsmakhmephschkrkarxutsahkrrm praethsithy ph s 2555 ph s 2563 rxngkhnbdifaywicyaelawiethssmphnth khnaephschsastr ph s 2556 ph s 2559 rksakarphuxanwykarsthabnwicyaelaphthna mhawithyalysilpakr ph s 2560 ph s 2561 krrmkarsphamhawithyalysilpakr praephthphubrihar ph s 2560 ph s 2561 elkhanukarsphamhawithyalysilpakr ph s 2561 rxngxthikarbdifaywichakaraelawicy mhawithyalysilpakr ph s 2560 ph s 2562 prathanxnukrrmkarekhruxkhaywicyxudmsuksaphakhklangtxnlang ph s 2560 ph s 2562 phlnganwicy aekikhnganwicyaelaphthnakhxngsastracary ephschkr dr phrskdi srixmrskdi ekiywkhxngkbkarxxkaebbrupaebbyahruxrabbnasngyaaebbihmodyichethkhonolyithangephschkrrm odyennkarphthnasarphxliemxrcakthrrmchati echn ephktincakepluxksmhruxkakphlim xlcientcaksahraythael hrux ikhotaesncakepluxkkunghruxkradxngpu epntn maichepnwtthudibinkarphlit ephuxepnkarsrangmulkhaephimihkbkhxngehluxthingcakxutsahkrrmekstr phlnganwicythiekiywkhxngkbkarxxkaebbrabbnasngyaaelaphthnaethkhonolyikarphlityathiidthakarsuksawicy echn karxxkaebbyaemdodyichephkhtinepnsarkxecl ephuxchalxkarpldplxytwyathiihodykarrbprathan enuxngcakephktinmismbtiinkardudnaaelaphxngtwekidepnchneclrxbemdyaid sungyaemdthixxkaebbsamarthetriymidngayodyichekhruxngmuxthimixyuedim imcaepntxngichekhruxngmuxrakhaaephng aelaichethkhonolyikarphlitthiimsbsxn karphthnarabbyaemdekhluxbfilmchnidkhxmphxsitrahwangephktinkbphxliemxrsngekhraahthiimlalayna ephuxichinkarkhwbkhumkarpldplxyyacakrabbnasngyaaebbnawithiipyngxwywaepahmay site specific drug delivery system thilaisihy karphthnaethkhonolyikarekhluxbfilmyaemdodyxasyhlkkarekidptikiriyathangekhmithiphiwpracnkhxngemdyakbephktinekidepnsarprakxbechingsxn ephuxichinkarkhwbkhumkarpldplxytwyaxxkcakemdya sungwithikarnichwyldkarichtwthalalayxinthriyinkarekhluxb aelaimtxngichxunhphumisunginkarthaihaehng karxxkaebbrabbeclbidephuxekbkkyahruxyaoprtinsahrbichinkarnasngyathiihodykarrbprathan odyxasyhlkkarekideclrahwangpracu ionotropic gelation sungthaidngay imsbsxn imtxngichekhruxngmuxthimirakhaaephng imtxngichkhwamrxnhruxaerngpnkhwamerwsung cungimthaihokhrngsrangkhxngyaoprtinesiysphaphip karphthnaethkhonolyikarkhwbkhumkarpldplxyyacakrabbnasngyachnidlxytwidinkraephaaxaharephuxihrabbkhngxyuinthangedinxaharnankhun ephuxichsahrbyathitxngkarihxxkvththiechphaathiinkraephaaxahar yathimipyhakardudsum hruxyathimipyhaeruxngkhwamkhngtw karsuksaklikkaryudekaaeyuxemuxkinthangedinxaharaelakarphthnarabbnasngyachnidyudekaaeyuxemuxk ephuxchwyephimrayaewlakhngxyuinbriewnthitxngkarhruxbriewnthidudsumya aelakarekaatidthichneyuxemuxkthipkkhlumeyuxbuphiwthaihrayathangthiyatxngaephrphanekhasukraaeseluxdsnlngthaihmikardudsumiddikhun karphthnarupaebbyaaelakartngtarbephuxaekpyhayathimipyhakarlalay kardudsuminthangedinxahar karphthnarabbnasngyachnidmungepasahrbkarrksaorkhmaernglaisihy ethkhnikhkarphimphsammiti 3D printing sahrbkarxxkaebbrupaebbyasahrbphupwyechphaaraynxkcaknn idthakarwicydankarphlitephktincakepluxksmoxsungepnkhxngehluxthingcakphlitphnththangkarekstrinthxngthinaelanamaprayuktichinxutsahkrrmphlityaaelaphthnaepnrabbnasngyarupaebbihm rwmthungkarprayuktichinxutsahkrrmxahar aelakarichpraoychnechingsukhphaphnganwicyinklumwicyphxliemxrthrrmchatisahrbxutsahkrrmya PBiG ennkarichpraoychncakphxliemxrthrrmchati echn ephktin pectin ikhotaesn chitosan xlcient alginate echlaelk shellac epntnphlnganwicy phlnganwicytiphimphinwarsarwichakarradbnanachatimakkwa 180 eruxng bthkhdyxaelaraynganwicytiphimphinexksarkarprachumwichakarinaelatangpraethsmakkwa 340 eruxng bthkhwamwichakarmakkwa 22 eruxng hnngsuxaelabthinhnngsuxmakkwa 17 elm bth khakhxrbsiththibtr xnusiththibtr 9 eruxng karthukxangxing citation inthankhxmul Scopus makkwa 4 500 khrng aelainthankhxmul Google Scholar makkwa 6 700 khrng brrnathikar kxngbrrnathikarkhxngwarsarwichakartangpraethshlaychbbekiyrtikhunaelarangwl aekikhph s 2563 Included in the World s Top 2 of the Most cited Scientists 2020 in pharmacology and pharmacy as ranked by Stanford University position 529 among 94 611 scientists ph s 2562 Named as a finalist for Alumni of the Year in the Australian Alumni Awards Thailand 2019 ph s 2561 rangwl Outstanding Contribution Awards of Editorial Board Member cakwarsar Asian Journal of Pharmaceutical Sciences ph s 2561 rangwlephchrephschmhidl enuxnginoxkaskhrbrxb 50 pikarkxtngkhnaephschsastr mhawithyalymhidl cakkhnaephschsastr mhawithyalymhidl ph s 2559 rangwl MyCRS Best Poster Award cak Controlled Release Society Malaysia Chapter ph s 2556 rangwlsphawicyaehngchati rangwlnkwicydiednaehngchati 2556 sakhawithyasastrekhmiaelaephsch ph s 2556 rangwl 2012 2013 Thailand Distinguished Polymer Scientist caksmakhmophliemxraehngpraeths ph s 2555 rangwl Ishidate Award Pharmaceutical Research cak Federation of Asian Pharmaceutical Association ph s 2554 rangwlsisyekadiednbnthitwithyaly mhawithyalymhidl pracapi ph s 2553 praephthwichakar wicy caksmakhmsisyekabnthitwithyaly mhawithyalymhidl ph s 2552 rangwlnkwicyrunklangdiednpracapi 2552 TRF CHE SCOPUS Researcher Award 2009 caksankngankhnakrrmkarkarxudmsuksa skx sankngankxngthunsnbsnunkarwicy skw aelasankphimph Elsevier ph s 2552 rangwlphlnganwicydiedn sakhawithyasastraelaethkhonolyi pracapi ph s 2552 caksthabnwicyaelaphthna mhawithyalysilpakr ph s 2548 rangwlsphawicyaehngchati rangwlphlnganwicy rangwlchmechy sakhawithyasastrekhmiaelaephsch caksankngankhnakrrmkarwicyaehngchati ph s 2548 rangwlphlnganwicydi pracapi ph s 2548 caksthabnwicyaelaphthna mhawithyalysilpakr ph s 2547 rangwlnkwicyrunihmdiedn skw skx pracapi ph s 2547 caksankngankhnakrrmkarkarxudmsuksa skx rwmkbsankngankxngthunsnbsnunkarwicy skw ph s 2547 rangwlnkwithyasastrrunihm pracapi ph s 2547 sakhaephschsastr cakmulnithisngesrimwithyasastraehngpraethsithyinphrabrmrachupthmph ph s 2547 rangwlthunchwyehluxthangdanwicywithyasastraelaethkhonolyi sakhaekstrsastr pracapi ph s 2546 cakmulnithiotherephuxkarsngesrimwithyasastr praethsithy ph s 2545 rangwl Nagai Award Thailand 2002 Outstanding Research cak Nagai Foundation Tokyo praethsyipun ph s 2545 Charles Sturt University Writing Up Award cak Charles Sturt University praethsxxsetreliyekhruxngrachxisriyaphrn ph s 2557 ctutthdierkkhunaphrn c ph ph s 2558 prathmaphrnchangephuxk p ch ph s 2563 mhawchirmngkut m w m xangxing aekikhI AM Pharmacist ephschkr https www youtube com watch v x3Q41NO94rA ethkhonolyikbkardudsumya http www thai explore net search detail result 423 nwtkrrmrupaebbyasahrbphusungxayu https www facebook com watch v 1017910115080430 rabbnasngyamungepachnidtxbsnxngtxsingera sahrbkarrksamaernglaisihy https www youtube com watch v BqWhA6tstgU CPhI South East Asia Webinar Dosage Form Design for Elderly https www youtube com watch v KLUzcLb4NGc amp feature youtu be amp t 1124 Research Gate http www researchgate net profile Pornsak Sriamornsak edliniws ephschkrkhnaerkthiepnnkwicydiednaehngchati https www dailynews co th article 213917ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phrskdi srixmrskdi amp oldid 9268160, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม