fbpx
วิกิพีเดีย

ภาวะเสียความจำ

ภาวะเสียความจำ (อังกฤษ: amnesia) เป็นการขาดความจำที่เกิดจากความเสียหายต่อสมอง โรคหรือการบาดเจ็บทางใจ ภาวะเสียความจำอาจเกิดได้ชั่วคราวจากการใช้ยาระงับประสาทและยานอนหลับชนิดต่าง ๆ ความจำอาจเสียได้ทั้งหมดหรือบางส่วนขึ้นอยู่กับขอบเขตของความเสียหายที่เป็นสาเหตุ

ภาวะเสียความจำ
Amnesia
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10F04, R41.3
ICD-9294.0, 780.9, 780.93
MedlinePlus003257
MeSHD000647

ภาวะเสียความจำมีสองชนิดหลัก ได้แก่ ภาวะเสียความจำไปข้างหลัง (retrograde amnesia) และภาวะเสียความจำไปข้างหน้า (anterograde amnesia) ภาวะเสียความจำไปข้างหลังคือความไม่สามารถดึงสารสนเทศที่เคยได้มาก่อนวันหนึ่ง ๆ ซึ่งปกติเป็นวันที่เกิดอุบัติเหตุหรือการผ่าตัด ในบางกรณี การเสียความจำสามารถขยายไปได้หลายทศวรรษ ส่วนบางกรณี บุคคลอาจเสียความจำไปไม่กี่เดือน ภาวะเสียความจำไปข้างหน้าคือความไม่สามารถส่งผ่านสารสนเทศใหม่จากคลังระยะสั้นไปคลังระยะยาว บุคคลที่มีภาวะเสียความจำชนิดนี้ไม่สามารถจำอะไรได้นาน ทั้งสองชนิดไม่จำเป็นต้องเกิดแยกกันเสมอไป สามารถเกิดภาวะเสียความจำทั้งสองชนิดในผู้ป่วยคนหนึ่งได้พร้อมกัน การศึกษาผู้ป่วย เช่น การศึกษาผู้ป่วยอาร์.บี. แสดงว่าภาวะเสียความจำทั้งสองชนิดเกิดได้พร้อมกัน

การศึกษาผู้ป่วยยังแสดงว่าภาวะเสียความจำตรงแบบสัมพันธ์กับความเสียหายต่อกลีบขมับใกล้กลาง (medial temporal lobe) นอกจากนี้ บางบริเวณของฮิปโปแคมปัส (บริเวณซีเอ1) เกี่ยวข้องกับความจำ การวิจัยยังแสดงว่าเมื่อบางบริเวณของไดเอ็นเซฟาลอน (diencephalon) ได้รับความเสียหายก็สามารถเกิดภาวะเสียความจำได้ การศึกษาสมัยหลังแสดงสหสัมพันธ์ระหว่างการขาดโปรตีนอาร์บีเอพี48 (RbAp48) กับการเสียความจำ ในผู้ที่มีภาวะเสียความจำ จะยังมีความสามารถระลึกสารสนเทศทันที (immediate information) อยู่ และอาจยังสามารถก่อความจำใหม่ได้ ทว่า สังเกตได้ว่าความสามารถเรียนสิ่งใหม่และดึงสารสนเทศเก่าลดลงอย่างรุนแรง ผู้ป่วยสามารถเรียนความจำกระบวนการ (procedural knowledge) ใหม่ได้อยู่ นอกจากนี้ การเตรียมการรู้ (priming) ทั้งความรู้สึกและความคิด สามารถช่วยผู้เสียความจำในการเรียนความรู้ชนิดไม่ประกาศ (non-declarative knowledge) ใหม่ได้ ผู้ป่วยที่เสียความจำยังคงมีทักษะทางปัญญา ภาษาและสังคมอยู่พอควรแม้มีความสามารถระลึกสารสนเทศบางอย่างที่เคยประสบในช่วงการเรียนก่อนหน้าบกพร่องไปมาก

อ้างอิง

  1. Gazzaniga, M., Ivry, R., & Mangun, G. (2009) Cognitive Neuroscience: The biology of the mind. New York: W.W. Norton & Company.
  2. "Amnesia." The Gale Encyclopedia of Science. Ed. K. Lee Lerner and Brenda Wilmoth Lerner. 4th ed. Vol. 1. Detroit: Gale, 2008. 182-184. Gale Virtual Reference Library.
  3. Schacter, Daniel. L "Psychology"
  4. D. Frank Benson, "AMNESIA"
  5. LS., Cermak (1984). The episodic-semantic distinction in amnesia. New York: Guilford Press. p. 55.
  6. M, Kinsbourne (1975). Short-term memory processes and the amnesic syndrome. New York: Academic. pp. 258–91.
  7. H, Weingartner (1983). Forms of cognitive failure. Sc alzheimerience. pp. 221:380–2.

ภาวะเส, ยความจำ, งกฤษ, amnesia, เป, นการขาดความจำท, เก, ดจากความเส, ยหายต, อสมอง, โรคหร, อการบาดเจ, บทางใจ, อาจเก, ดได, วคราวจากการใช, ยาระง, บประสาทและยานอนหล, บชน, ดต, าง, ความจำอาจเส, ยได, งหมดหร, อบางส, วนข, นอย, บขอบเขตของความเส, ยหายท, เป, นสาเหต, amnesi. phawaesiykhwamca xngkvs amnesia epnkarkhadkhwamcathiekidcakkhwamesiyhaytxsmxng orkhhruxkarbadecbthangic 1 phawaesiykhwamcaxacekididchwkhrawcakkarichyarangbprasathaelayanxnhlbchnidtang khwamcaxacesiyidthnghmdhruxbangswnkhunxyukbkhxbekhtkhxngkhwamesiyhaythiepnsaehtu 2 phawaesiykhwamcaAmnesiabychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F04 R41 3ICD 9294 0 780 9 780 93MedlinePlus003257MeSHD000647phawaesiykhwamcamisxngchnidhlk idaek phawaesiykhwamcaipkhanghlng retrograde amnesia aelaphawaesiykhwamcaipkhanghna anterograde amnesia phawaesiykhwamcaipkhanghlngkhuxkhwamimsamarthdungsarsnethsthiekhyidmakxnwnhnung sungpktiepnwnthiekidxubtiehtuhruxkarphatd 3 inbangkrni karesiykhwamcasamarthkhyayipidhlaythswrrs swnbangkrni bukhkhlxacesiykhwamcaipimkieduxn phawaesiykhwamcaipkhanghnakhuxkhwamimsamarthsngphansarsnethsihmcakkhlngrayasnipkhlngrayayaw bukhkhlthimiphawaesiykhwamcachnidniimsamarthcaxairidnan thngsxngchnidimcaepntxngekidaeykknesmxip samarthekidphawaesiykhwamcathngsxngchnidinphupwykhnhnungidphrxmkn karsuksaphupwy echn karsuksaphupwyxar bi aesdngwaphawaesiykhwamcathngsxngchnidekididphrxmknkarsuksaphupwyyngaesdngwaphawaesiykhwamcatrngaebbsmphnthkbkhwamesiyhaytxklibkhmbiklklang medial temporal lobe nxkcakni bangbriewnkhxnghipopaekhmps briewnsiex1 ekiywkhxngkbkhwamca karwicyyngaesdngwaemuxbangbriewnkhxngidexnesfalxn diencephalon idrbkhwamesiyhayksamarthekidphawaesiykhwamcaid karsuksasmyhlngaesdngshsmphnthrahwangkarkhadoprtinxarbiexphi48 RbAp48 kbkaresiykhwamca inphuthimiphawaesiykhwamca cayngmikhwamsamarthraluksarsnethsthnthi immediate information xyu 4 aelaxacyngsamarthkxkhwamcaihmid thwa sngektidwakhwamsamartheriynsingihmaeladungsarsnethsekaldlngxyangrunaerng phupwysamartheriynkhwamcakrabwnkar procedural knowledge ihmidxyu nxkcakni karetriymkarru priming thngkhwamrusukaelakhwamkhid samarthchwyphuesiykhwamcainkareriynkhwamruchnidimprakas non declarative knowledge ihmid 1 phupwythiesiykhwamcayngkhngmithksathangpyya phasaaelasngkhmxyuphxkhwraemmikhwamsamarthraluksarsnethsbangxyangthiekhyprasbinchwngkareriynkxnhnabkphrxngipmak 5 6 7 xangxing aekikh 1 0 1 1 Gazzaniga M Ivry R amp Mangun G 2009 Cognitive Neuroscience The biology of the mind New York W W Norton amp Company Amnesia The Gale Encyclopedia of Science Ed K Lee Lerner and Brenda Wilmoth Lerner 4th ed Vol 1 Detroit Gale 2008 182 184 Gale Virtual Reference Library Schacter Daniel L Psychology D Frank Benson AMNESIA LS Cermak 1984 The episodic semantic distinction in amnesia New York Guilford Press p 55 M Kinsbourne 1975 Short term memory processes and the amnesic syndrome New York Academic pp 258 91 H Weingartner 1983 Forms of cognitive failure Sc alzheimerience pp 221 380 2 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phawaesiykhwamca amp oldid 6170437, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม