fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาชอง

ภาษาชอง (ชอง: พะซาช์อง) เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร สาขาย่อยเปียริก ใกล้เคียงกับภาษาสมราย ใช้พูดในหมู่ชาวชองในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด (ในอดีตมีในจังหวัดฉะเชิงเทรา เรียกว่า ภาษาป่า) มีผู้พูดทั้งหมด 5,500 คน ในกัมพูชามี 5,000 คน ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชาระหว่างจังหวัดจันทบุรีของไทยกับจังหวัดโพธิสัตว์ของกัมพูชา ในไทยมีผู้พูดจำนวน 500 คนในจังหวัดจันทบุรีและตราด

ภาษาชอง
พะซาช์อง
ประเทศที่มีการพูดจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย
จังหวัดโพธิสัตว์ ประเทศกัมพูชา
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
จำนวนผู้พูด5,500  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนชอง, ไทย, เขมร
รหัสภาษา
ISO 639-3cog

ตัวอักษร

เดิมทีภาษาชองไม่มีตัวอักษรสำหรับเขียน เนื่องจากเป็นภาษาที่ใช้พูดเท่านั้น แต่ในภายหลังก็มีการกำหนดให้ใช้อักษรไทยบางตัวเขียนภาษาชอง ซึ่งกำหนดโดยนักวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล แล้วสะกดตามอักขรวิธีของภาษาไทย (การอ่านตามที่เขียนอาจไม่ถูกสำเนียงตามต้นฉบับ)

ต่อมาเฉิน ผันผาย อดีตกำนันตำบลคลองพลู อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ที่มีความพยายามในการรักษาอัตลักษณ์ชอง ได้คิดค้นระบบการเขียนใหม่ โดยศึกษาจากอักษรไทย, มอญ, เขมร และโรมัน ซึ่งได้รับคำแนะนำจากนักภาษาศาสตร์แคนาดาที่ออกแบบอักษรให้ใช้งานง่าย มีระบบการเขียนบรรทัดเดียวแบบภาษาอังกฤษ ไม่มีสระและวรรณยุกต์อยู่เหนือหรือใต้บรรทัด และมีความพยายามที่จะทำเป็นชุดแบบอักษร ในปี พ.ศ. 2553 มีผู้สามารถใช้อักษรนี้ได้ระดับคล่องแคล่ว 20 คน

พยัญชนะ

 
ตารางตัวอักษรชองที่ถูกทำมาขึ้นอย่างเป็นทางการ

พยัญชนะ (เรียกว่า ตัวนั่งซือ) แบ่งเป็นพยัญชนะต้น (ตัวต้น) และพยัญชนะสะกด (ตัวซะก็อด)

ตัวต้นมี 22 ตัว ตามลำดับดังนี้ ก ค ง จ ช ซ ญ ด ต ท น บ ป พ ฟ ม ย ร ล อ ว ฮ

ตัวสะกดมี 11 ตัว ตามลำดับดังนี้ -ก -ง -จ -ญ -ด -น -บ -ม -ย -ว -ฮ

สระ

สระ (เรียกว่า ซะระ) มี 24 เสียง ตามลำดับดังนี้ -ะ -า -ิ -ี เ-ะ เ- แ-ะ แ- -ึ -ือ เ-อะ เ-อ -ุ -ู โ-ะ โ- เ-าะ -อ เ-ีย เ-ือ -ัว -ำ ไ- เ-า และแปลงรูปสระเมื่อมีตัวสะกดอย่างภาษาไทย

วรรณยุกต์

วรรณยุกต์ (เรียกว่า วันนะยุก) มี 3 รูป 4 เสียงดังนี้

  1. เสียงกลางปกติ ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น กะวาญ = กระวาน, กะปาว = ควาย
  2. เสียงต่ำใหญ่ (เสียงก้องมีลม) ใช้รูป -่ (ไม้เอก) เช่น กะว่าย = เสือ, มะง่าม = ผึ้ง
  3. เสียงสูงบีบ (เสียงปกติตามด้วยการกักของเส้นเสียง) ใช้รูป -้ (ไม้โท) เช่น ค้อน = หนู, ซู้จ = มด
  4. เสียงต่ำกระตุก (เสียงก้องมีลมตามด้วยการกักของเส้นเสียง) ใช้รูป -์ (ทัณฑฆาต) เช่น ช์อง = ชอง, เม์ว = ปลา

ปัจจุบัน

ปัจจุบันภาษาชองกำลังอยู่ในขั้นวิกฤต คนเฒ่าคนแก่เสียดายที่ภาษาชองจะสูญหายไป โดยปัจจุบันมีชาวชองอยู่อาศัยถิ่นฐานเดิมบริเวณตำบลคลองพลู อำเภอเขาคิชฌกูฏ (แต่แหล่งที่พูดกันมากที่สุดอยู่ที่ตำบลตะเคียนทอง) จังหวัดจันทบุรี ประมาณ 6,000 คน แต่ที่พูดได้มีเพียงประมาณ 500 คน โดยส่วนใหญ่เป็นคนสูงอายุที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ส่วนวัยรุ่นชาวชองนั้นอายที่จะพูดภาษาดั้งเดิมประจำชาติพันธุ์ของตน

ขณะนี้มหาวิทยาลัยมหิดล พยายามจะฟื้นฟูโดยให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการบันทึกเสียง และถอดภาษาพูดเป็นภาษาเขียน ให้โรงเรียนบ้านคลองพลูสอนภาษาชองให้กับลูกหลานชอง แทรกเป็นหลักสูตรท้องถิ่นในช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

อ้างอิง

  1. "ฟื้นภาษาชอง...สะท้อนการดำรงอยู่ของคนชอง". Technology Media. 17 กุมภาพันธ์ 2548. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2558. Check date values in: |accessdate=, |date= (help)
  2. องค์ บรรจุน. สยาม หลากเผ่าหลายพันธุ์. กรุงเทพฯ : มติชน, 2553, หน้า 132
  3. วิบูลย์ เข็มเฉลิม. วิถีคนป่าตะวันออกผืนสุดท้าย, กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, หน้า 69-71
  4. Chong Language Revitalization Project
  • ผศ.เจตน์จรรย์ อาจไธสง พระอธิการธวัชชัย จนฺทโชโต พระอาจารย์สี เตชพโล เฉิน ผันผาย และคำรณ วังศรี. 2556. แบบเรียนภาษาชอง.พิมพ์ครั้งที่ 3 จันทบุรี : ต้นฉบับ.
  • พระครูธรรมสรคุณ (เขียน ขนฺธสโร). ธรรม พันธุศิริสด. อารยธรรมชอง จันทบุรี ใน อารยธรรมชองจันทบุรี และอาณาจักรจันทบูร เมืองเพนียต. กทม. โรงพิมพ์ไทยรายวัน. 2541.
  • Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.

ภาษาชอง, ชอง, พะซาช, อง, เป, นภาษาในตระก, ลภาษาออสโตรเอเช, ยต, สาขามอญ, เขมร, สาขาย, อยเป, ยร, ใกล, เค, ยงก, บภาษาสมราย, ใช, ดในหม, ชาวชองในจ, งหว, ดระยอง, นทบ, และตราด, ในอด, ตม, ในจ, งหว, ดฉะเช, งเทรา, เร, ยกว, ภาษาป, ดท, งหมด, คน, ในก, มพ, ชาม, คน, ตามแนวชา. phasachxng chxng phasachxng epnphasaintrakulphasaxxsotrexechiytik sakhamxy ekhmr sakhayxyepiyrik iklekhiyngkbphasasmray ichphudinhmuchawchxngincnghwdrayxng cnthburi aelatrad inxditmiincnghwdchaechingethra eriykwa phasapa 3 miphuphudthnghmd 5 500 khn inkmphuchami 5 000 khn tamaenwchayaednithy kmphucharahwangcnghwdcnthburikhxngithykbcnghwdophthistwkhxngkmphucha inithymiphuphudcanwn 500 khnincnghwdcnthburiaelatradphasachxngphasachxngpraethsthimikarphudcnghwdcnthburi praethsithycnghwdophthistw praethskmphuchaphumiphakhexechiytawnxxkechiyngitcanwnphuphud5 500 imphbwnthi trakulphasaxxsotrexechiytik mxy ekhmrepiyrikphasachxngrabbkarekhiynchxng 1 2 ithy ekhmrrhsphasaISO 639 3cog enuxha 1 twxksr 1 1 phyychna 1 2 sra 1 3 wrrnyukt 2 pccubn 3 xangxingtwxksr aekikhedimthiphasachxngimmitwxksrsahrbekhiyn enuxngcakepnphasathiichphudethann aetinphayhlngkmikarkahndihichxksrithybangtwekhiynphasachxng sungkahndodynkwicykhxngmhawithyalymhidl aelwsakdtamxkkhrwithikhxngphasaithy 4 karxantamthiekhiynxacimthuksaeniyngtamtnchbb txmaechin phnphay xditkanntablkhlxngphlu xaephxekhakhichchkut cnghwdcnthburi thimikhwamphyayaminkarrksaxtlksnchxng idkhidkhnrabbkarekhiynihm odysuksacakxksrithy mxy ekhmr aelaormn sungidrbkhaaenanacaknkphasasastraekhnadathixxkaebbxksrihichnganngay mirabbkarekhiynbrrthdediywaebbphasaxngkvs immisraaelawrrnyuktxyuehnuxhruxitbrrthd aelamikhwamphyayamthicathaepnchudaebbxksr inpi ph s 2553 miphusamarthichxksrniidradbkhlxngaekhlw 20 khn 2 phyychna aekikh tarangtwxksrchxngthithukthamakhunxyangepnthangkar phyychna eriykwa twnngsux aebngepnphyychnatn twtn aelaphyychnasakd twsakxd twtnmi 22 tw tamladbdngni k kh ng c ch s y d t th n b p ph f m y r l x w htwsakdmi 11 tw tamladbdngni k ng c y d n b m y w h sra aekikh sra eriykwa sara mi 24 esiyng tamladbdngni a a i i e a e ae a ae u ux e xa e x u u o a o e aa x e iy e ux w a i e a aelaaeplngrupsraemuxmitwsakdxyangphasaithy wrrnyukt aekikh wrrnyukt eriykwa wnnayuk mi 3 rup 4 esiyngdngni esiyngklangpkti immirupwrrnyukt echn kaway krawan kapaw khway esiyngtaihy esiyngkxngmilm ichrup imexk echn kaway esux mangam phung esiyngsungbib esiyngpktitamdwykarkkkhxngesnesiyng ichrup imoth echn khxn hnu suc md esiyngtakratuk esiyngkxngmilmtamdwykarkkkhxngesnesiyng ichrup thnthkhat echn chxng chxng emw plapccubn aekikhpccubnphasachxngkalngxyuinkhnwikvt khnethakhnaekesiydaythiphasachxngcasuyhayip odypccubnmichawchxngxyuxasythinthanedimbriewntablkhlxngphlu xaephxekhakhichchkut aetaehlngthiphudknmakthisudxyuthitabltaekhiynthxng cnghwdcnthburi praman 6 000 khn aetthiphudidmiephiyngpraman 500 khn odyswnihyepnkhnsungxayuthimixayu 50 pikhunip swnwyrunchawchxngnnxaythicaphudphasadngedimpracachatiphnthukhxngtnkhnanimhawithyalymhidl phyayamcafunfuodyihchawbanmiswnrwminkarbnthukesiyng aelathxdphasaphudepnphasaekhiyn ihorngeriynbankhlxngphlusxnphasachxngihkblukhlanchxng aethrkepnhlksutrthxngthininchwngchnprathmsuksapithi 3 thungchnprathmsuksapithi 5xangxing aekikh funphasachxng sathxnkardarngxyukhxngkhnchxng Technology Media 17 kumphaphnth 2548 subkhnemux 25 phvsphakhm 2558 Check date values in accessdate date help 2 0 2 1 xngkh brrcun syam hlakephahlayphnthu krungethph mtichn 2553 hna 132 wibuly ekhmechlim withikhnpatawnxxkphunsudthay krungethph sankngankxngthunsnbsnunkarwicy hna 69 71 Chong Language Revitalization Project phs ectncrry xacithsng phraxthikarthwchchy cn thochot phraxacarysi etchphol echin phnphay aelakharn wngsri 2556 aebberiynphasachxng phimphkhrngthi 3 cnthburi tnchbb phrakhruthrrmsrkhun ekhiyn khn thsor thrrm phnthusirisd xarythrrmchxng cnthburi in xarythrrmchxngcnthburi aelaxanackrcnthbur emuxngephniyt kthm orngphimphithyraywn 2541 Gordon Raymond G Jr ed 2005 Ethnologue Languages of the World Fifteenth edition Dallas Tex SIL International Online version http www ethnologue com ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasachxng amp oldid 9350407, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม