fbpx
วิกิพีเดีย

ยอซีป บรอซ ตีโต

ยอซีป บรอซ (แม่แบบ:Lang-sh-Cyrl, ออกเสียง: [jǒsip brôːz]; 7 May 1892 – 4 May 1980), มักเป็นที่รู้จักกันว่า ตีโต (/ˈtt/; แม่แบบ:Lang-sh-Cyrl, ออกเสียง: [tîto]), เป็นนักปฏิวัติลัทธิคอมมิวนิสต์และรัฐบุรุษชาวยูโกสลาฟ ทำหน้าที่ในบทบาทต่างๆ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จนถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1980 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้นำพลพรรค มักจะถือว่าเป็นขบวนการต่อต้านที่มีประสิทธิภาพมากในทวีปยูโรปที่ถูกยึดครอง เขายังทำหน้าที่เป็นประธานาธิบดีแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม ปี ค.ศ. 1953 ถึง วันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 ในขณะที่การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเขาจะถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นเผด็จการ และความกังวลเกี่ยวกับการปราบปรามฝ่ายตรงข้ามทางการเมืองได้ถูกหยิบยกขึ้น ตีโตได้รับความเห็นเป็นส่วนใหญ่ว่าเป็นเผด็จการผู้มีความเมตตา(benevolent dictator)

จอมพล
ยอซีป บรอซ ตีโต
ประธานาธิบดีคนที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย
ดำรงตำแหน่ง
14 มกราคม 1953 – 4 พฤษภาคม 1980
นายกรัฐมนตรี Himself (1953–63)
Petar Stambolić (1963–67)
Mika Špiljak (1967–69)
Mitja Ribičič (1969–71)
Džemal Bijedić (1971–77)
Veselin Đuranović (1977–80)
ก่อนหน้า Ivan Ribar
(as ประธานสภาสมัชชาสหพันธ์แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสสลาเวีย)
ถัดไป Lazar Koliševski
as ประธานสภาประธานาธิบดีแห่งยูโกสลาเวีย คนที่ 1)
22nd รายนามนายกรัฐมนตรียูโกสลาเวีย
ดำรงตำแหน่ง
2 พฤศจิกายน 1944 – 29 มิถุนายน 1963
กษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 (1943–45)
ประธานาธิบดี Ivan Ribar (1945–53)
Himself (1953–63)
ก่อนหน้า Ivan Šubašić
ถัดไป Petar Stambolić
เลขาธิการคนที่ 1 ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด
ดำรงตำแหน่ง
1 กันยายน 1961 – 5 ตุลาคม 1964
ก่อนหน้า Position created
ถัดไป ญะมาล อับดุนนาศิร
คนที่ 1 เลขาธิการสภากลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
7 มีนาคม 1945 – 14 มกราคม 1953
นายกรัฐมนตรี Himself
ก่อนหน้า Position created
ถัดไป Ivan Gošnjak
คนที่ 4 รายนามเลขาธิการสันนิบาตคอมมิวนิสต์แห่งยูโกสลาเวีย
ดำรงตำแหน่ง
มีนาคม 1939 – 4 พฤษภาคม 1980
ก่อนหน้า Milan Gorkić
ถัดไป Branko Mikulić
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 07 พฤษภาคม ค.ศ. 1892(1892-05-07)
Kumrovec, โครเอเชีย-สโลวีเนีย, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
(ปัจจุบัน โครเอเชีย)
เสียชีวิต 04 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 (87 ปี)
ลูบลิยานา, สาธารณรัฐสังคมนิยมสโลวีเนีย, สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
ที่ฝังร่าง เบลเกรด, เซอร์เบีย, House of Flowers
44°47′12″N 20°27′06″E / 44.78667°N 20.45167°E / 44.78667; 20.45167
สัญชาติ เซิร์บ
พรรคการเมือง สันนิบาตคอมมิวนิสต์แห่งยูโกสลาเวีย (SKJ)
คู่สมรส Pelagija Broz (1919–1939), div.
Herta Haas (1940–1943)
Jovanka Broz (1952–1980)
คู่อาศัย Davorjanka Paunović
บุตร Zlatica Broz
Hinko Broz
Žarko Leon Broz
Aleksandar Broz
อาชีพ Machinist, revolutionary, resistance commander, statesman
ศาสนา None (Atheist)
(เคยนับถือ โรมันคาทอลิก)
Ethnicity ชาวโครแอต
ลายมือชื่อ
การเข้าเป็นทหาร
รับใช้ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
สังกัด กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย
All (ผู้บัญชาการทหารสูงสุด)
ประจำการ 1913–1915
1941–1980
ยศ จอมพล
บังคับบัญชา ขบวนการปาร์ติซานชาวเซิร์บ
กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย
การยุทธ์ สงครามโลกครั้งที่ 1

สงครามกลางเมืองรัสเซีย
สงครามกลางเมืองสเปน
สงครามโลกครั้งที่ 2
บำเหน็จ 98 international and 21 Yugoslav decorations, including
เครื่องอิสริยาภรณ์มหาดาราแห่งยูโกสลาเวีย
เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์บาธ
เครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน
เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐอิตาลี
(short list below, full list in the article)

เขาได้เป็นบุคคลสาธารณรัฐที่ได้รับความนิยมทั้งในยูโกสลาเวียและต่างประเทศ มุมมองที่เป็นสัญลักษณ์รวมกัน, นโยบายภายในประเทศของเขาดำรงไว้ซึ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของชาติต่างๆ ในสหพันธ์ยูโกสลาเวีย เขาได้รับความสนใจจากนานาชาติมากขึ้นในฐานะผู้นำขบวนการไม่ฝักฝ่ายใด เคียงข้างกับ ชวาหะร์ลาล เนห์รูแห่งอินเดีย ญะมาล อับดุนนาศิรแห่งอียิปต์ และกวาเม อึนกรูมาแห่งกานา

บรอซเกิดจากบิดาที่เป็นชาวโครแอตและมารดาที่เป็นชาวสโลวีนในหมู่บ้าน Kumrovec, ออสเตรีย-ฮังการี(ปัจจุบันในโครเอเชีย) ถูกเกณฑ์เป็นทหารในกองทัพ เขามีความโดดเด่นในตัวเขาเอง กลายเป็นจ่าสิบเอกที่มีอายุน้อยที่สุดในกองทัพบกออสเตรีย-ฮังการีในช่วงสมัยนั้น ภายหลังจากได้รับบาดเจ็บสาหัสและถูกจับกุมโดยทหารจักรวรรดิรัสเซียในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เขาถูกส่งไปยังค่ายแรงงานในเทือกเขายูรัล เขาได้มีส่วนร่วมในบางเหตุการณ์ของการปฏิวัติรัสเซียในปี ค.ศ. 1917 และสงครามกลางเมืองที่ตามมา

เมื่อเขาเดินทางกลับสู่คาบสมุทรบอลข่านในปี ค.ศ. 1918 บรอซได้เข้าสู่ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ที่เขาได้เข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์แห่งยูโกสลาเวีย(KPJ) ต่อมาเขาได้รับเลือกเป็นเลขาธิการพรรค(ต่อมาได้เป็นประธานรัฐสภา) ของสันนิบาตคอมมิวนิสต์แห่งยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1939–1980) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนาซีได้ส่งกองทัพเข้ารุกรานประเทศ เขาได้เป็นผู้นำขบวนการกองโจรชาวยูโกสลาฟ พลพรรค (ค.ศ. 1941–1945)

ภายหลังสงคราม เขาได้รับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี (ค.ศ. 1944–1963) และประธานาธิบดี(ต่อมาเป็นประธานาธิบดีตลอดชีพ) (ค.ศ. 1953–1980) แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย(SFRY) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จนถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1980 ตีโตได้รับยศตำแหน่งเป็นจอมพลแห่งยูโกสลาเวีย ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดในกองทัพยูโกสลาเวีย กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย (JNA) ด้วยชื่อเสียงที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในกลุ่มประเทศสองฝ่ายในช่วงสงครามเย็น เขาได้รับเครื่องอิสรยาภรณ์จากต่างประเทศ 98 ชิ้น รวมทั้งเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ และเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งบาธ

ตีโตเป็นหัวหน้าผู้ออกแบบประเทศยูโกสลาเวียที่สอง สหพันธ์สังคมนิยม  ที่ดำเนินมาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1943 จนถึง เดือนเมษายน ค.ศ. 1992 แม้ว่าจะเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งโคมินฟอร์ม เขากลายเป็นสมาชิกโคมินฟอร์มคนแรกที่ท้าทายอำนาจโซเวียตในปี ค.ศ. 1948 เขาเป็นผู้นำเพียงคนเดียวที่ถอนตัวออกจากโคมินฟอร์มในช่วงสมัยโจเซฟ สตาลิน และเริ่มต้นด้วยโครงการสังคมนิยมในประเทศของเขา ซึ่งมีองค์ประกอบของตลาดสังคมนิยม  นักเศรษฐศาสตร์ที่ทำงานอยู่ในอดีตยูโกสลาเวีย รวมทั้ง Jaroslav Vaněk ที่เกิดเป็นชาวเช็ก และ Branko Horvat เกิดเป็นชาวยูโกสลาฟ ได้ส่งเสริมรูปแบบของตลาดสังคมนิยมที่ถูกขนานนามว่ารูปแบบอีลิเลียน สถานประกอบการที่สังคมเป็นเจ้าของโดยลูกจ้างของพวกเขาและโครงสร้างแรงงานที่จัดการด้วยตัวเอง พวกเขาได้เข้าแข่งขันในตลาดเปิดและเสรี

ตีโตได้สร้างลัทธิบูชาบุคคลที่ทรงอำนาจอย่างมากรอบๆ ตัวเขา ซึ่งได้รับการทำนุบำรุงโดยสันนิบาตคอมมิวนิสต์แห่งยูโกสลาเวีย หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของเขา

ตีโตพยายามควบคุมความตึงเครียดของกลุ่มชาติพันธุ์โดยมอบหมายอำนาจให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้แก่แต่ละสาธารณรัฐ รัฐธรรมนูญยูโกสลาเวีย ปี ค.ศ.1974 กำหนดให้สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียเป็น"สหพันธ์สาธารณรัฐแห่งชาติและเชื้อชาตืที่เสมอภาค โดยอยู่ร่วมกันอย่างอิสระบนหลักการภราดรภาพและเอกภาพในการบรรลุผลประโยชน์ที่เฉพาะเจาะจงและร่วมกัน" แต่ละสาธารณรัฐยังได้รับสิทธิ์ในการตัดสินใจด้วยตนเองและทำการแยกตัวออก ถ้าหากทำผ่านช่องทางกฎหมาย ผลสุดท้าย, โคโซโวและวอยวอดีนา ทั้งสองมณฑลที่มีอำนาจการเลือกตั้งของเซอร์เบียต่างได้รับเอกราชเพิ่มขึ้นอย่างมาก รวมทั้งอำนาจโดยพฤตินัยในรัฐสภาเซอร์เบีย

สิบปีภายหลังจากการถึงแก่อสัญกรรม ลัทธิคอมมิวนิสต์ล่มสลายในยุโรปตะวันออกและประเทศยูโกสลาเวียได้เข้าสู่สงครามกลางเมือง

ดูเพิ่มต่อ

อ้างอิง

  1. (Rowman & Littlefield, 2002) in Yugoslavia's ruin: the bloody lessons of nationalism, a patriot's warning (p. 58) "Without denying his Croatian and Slovenian roots, he always identified himself as a Yugoslav".
  2. Nikolaos A. Stavrou (ed.), Mediterranean Security at the Crossroads: a Reader, p.193, Duke University Press, 1999 ISBN 0-8223-2459-8
  3. Vjekoslav Perica, Balkan Idols: Religion and Nationalism in Yugoslav States, p.103, Oxford University Press US, 2004 ISBN 0-19-517429-1
  4. Richard West, Tito and the Rise and Fall of Yugoslavia, p.211, Carroll & Graff, 1996 ISBN 0-7867-0332-6
    "In one of his talks with Church officials, Tito went so far as to speak of himself 'as a Croat and a Catholic', but this comment was cut out of the press reports on the orders of Kardelj."
  5. Minahan, James (1998). Miniature Empires: A Historical Dictionary of the Newly Independent States. Greenwood Publishing Group. p. 50. ISBN 0313306109.
  6. Lee, Khoon Choy (1993). Diplomacy of a Tiny State. World Scientific. p. 9. ISBN 9810212194.
  7. Laqueur, Walter (1976). Guerrilla Warfare: A Historical & Critical Study. Transaction Publishers. p. 218. ISBN 0765804069.
  8. "Tito". Random House Webster's Unabridged Dictionary.
  9. "Josip Broz Tito". Encyclopædia Britannica Online. สืบค้นเมื่อ 27 April 2010.
  10. Rhodri Jeffreys-Jones (13 June 2013). In Spies We Trust: The Story of Western Intelligence. OUP Oxford. p. 87. ISBN 978-0-19-958097-2.
  11. Andjelic, Neven (2003). Bosnia-Herzegovina: The End of a Legacy. Frank Cass. p. 36. ISBN 978-0-7146-5485-0.
  12. McGoldrick 2000, p. 17.
  13. Shapiro, Susan; Shapiro, Ronald (2004). The Curtain Rises: Oral Histories of the Fall of Communism in Eastern Europe. McFarland. ISBN 978-0-7864-1672-1."...All Yugoslavs had educational opportunities, jobs, food, and housing regardless of nationality. Tito, seen by most as a benevolent dictator, brought peaceful co-existence to the Balkan region, a region historically synonymous with factionalism."
  14. Melissa Katherine Bokovoy, Jill A. Irvine, Carol S. Lilly, State-society Relations in Yugoslavia, 1945–1992; Palgrave Macmillan, 1997 p. 36 ISBN 0-312-12690-5 "...Of course, Tito was a popular figure, both in Yugoslavia and outside it."
  15. Martha L. Cottam, Beth Dietz-Uhler, Elena Mastors, Thomas Preston, Introduction to political psychology, Psychology Press, 2009 p. 243 ISBN 1-84872-881-6 "...Tito himself became a unifying symbol. He was charismatic and very popular among the citizens of Yugoslavia."
  16. Peter Willetts, The Non-aligned Movement: The Origins of a Third World Alliance (1978) p. xiv
  17. Bremmer, Ian (2007). The J Curve: A New Way to Understand Why Nations Rise and Fall. Simon & Schuster. p. 175. ISBN 978-0-7432-7472-2.

แหล่งข้อมูลอื่น


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "nb" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="nb"/> ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>

ยอซ, บรอซ, โต, ยอซ, บรอซ, แม, แบบ, lang, cyrl, ออกเส, ยง, jǒsip, brôːz, 1892, 1980, กเป, นท, กก, นว, โต, แม, แบบ, lang, cyrl, ออกเส, ยง, tîto, เป, นน, กปฏ, ทธ, คอมม, วน, สต, และร, ฐบ, ษชาวย, โกสลาฟ, ทำหน, าท, ในบทบาทต, างๆ, งแต, 1943, จนถ, งแก, อส, ญกรรมในป, 1. yxsip brxs aemaebb Lang sh Cyrl xxkesiyng jǒsip broːz 7 May 1892 4 May 1980 mkepnthiruckknwa tiot ˈ t iː t oʊ 8 aemaebb Lang sh Cyrl xxkesiyng tito epnnkptiwtilththikhxmmiwnistaelarthburuschawyuokslaf thahnathiinbthbathtang tngaetpi kh s 1943 cnthungaekxsykrrminpi kh s 1980 9 inchwngsngkhramolkkhrngthisxng ekhaepnphunaphlphrrkh mkcathuxwaepnkhbwnkartxtanthimiprasiththiphaphmakinthwipyuorpthithukyudkhrxng 10 ekhayngthahnathiepnprathanathibdiaehngshphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiy tngaetwnthi 14 mkrakhm pi kh s 1953 thung wnthi 4 phvsphakhm kh s 1980 inkhnathikardarngtaaehnngprathanathibdikhxngekhacathukwiphakswicarnwaepnephdckar 11 12 aelakhwamkngwlekiywkbkarprabpramfaytrngkhamthangkaremuxngidthukhyibykkhun tiotidrbkhwamehnepnswnihywaepnephdckarphumikhwamemtta benevolent dictator 13 cxmphl yxsip brxs tiotprathanathibdikhnthi 1 aehngyuokslaewiydarngtaaehnng 14 mkrakhm 1953 4 phvsphakhm 1980naykrthmntri Himself 1953 63 Petar Stambolic 1963 67 Mika Spiljak 1967 69 Mitja Ribicic 1969 71 Dzemal Bijedic 1971 77 Veselin Đuranovic 1977 80 kxnhna Ivan Ribar as prathansphasmchchashphnthaehngshphnthsatharnrthsngkhmniymyuoksslaewiy thdip Lazar Kolisevskias prathansphaprathanathibdiaehngyuokslaewiy khnthi 1 22nd raynamnaykrthmntriyuokslaewiydarngtaaehnng 2 phvscikayn 1944 29 mithunayn 1963kstriy smedcphraecapietxrthi 2 1943 45 prathanathibdi Ivan Ribar 1945 53 Himself 1953 63 kxnhna Ivan Subasicthdip Petar Stambolicelkhathikarkhnthi 1 khbwnkarimfkiffayiddarngtaaehnng 1 knyayn 1961 5 tulakhm 1964kxnhna Position createdthdip yamal xbdunnasirkhnthi 1 elkhathikarsphaklaohmdarngtaaehnng 7 minakhm 1945 14 mkrakhm 1953naykrthmntri Himselfkxnhna Position createdthdip Ivan Gosnjakkhnthi 4 raynamelkhathikarsnnibatkhxmmiwnistaehngyuokslaewiydarngtaaehnng minakhm 1939 4 phvsphakhm 1980kxnhna Milan Gorkicthdip Branko Mikulickhxmulswnbukhkhlekid 07 phvsphakhm kh s 1892 1892 05 07 nb 1 Kumrovec okhrexechiy solwieniy ckrwrrdixxsetriy hngkari pccubn okhrexechiy esiychiwit 04 phvsphakhm kh s 1980 87 pi lubliyana satharnrthsngkhmniymsolwieniy shphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiythifngrang eblekrd esxrebiy House of Flowers44 47 12 N 20 27 06 E 44 78667 N 20 45167 E 44 78667 20 45167sychati esirb 1 phrrkhkaremuxng snnibatkhxmmiwnistaehngyuokslaewiy SKJ khusmrs Pelagija Broz 1919 1939 div Herta Haas 1940 1943 Jovanka Broz 1952 1980 khuxasy Davorjanka Paunovicbutr Zlatica BrozHinko BrozZarko Leon BrozAleksandar Brozxachiph Machinist revolutionary resistance commander statesmansasna None Atheist 2 3 ekhynbthux ormnkhathxlik 4 Ethnicity chawokhraext 5 6 7 laymuxchuxkarekhaepnthharrbich ckrwrrdixxsetriy hngkari shphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiysngkd kxngthphprachachnyuokslaewiyAll phubychakarthharsungsud pracakar 1913 19151941 1980ys cxmphlbngkhbbycha khbwnkarpartisanchawesirbkxngthphprachachnyuokslaewiykaryuthth sngkhramolkkhrngthi 1sngkhramklangemuxngrsesiysngkhramklangemuxngsepnsngkhramolkkhrngthi 2baehnc 98 international and 21 Yugoslav decorations including ekhruxngxisriyaphrnmhadaraaehngyuokslaewiy ekhruxngxisriyaphrnelchiyngdxenxr ekhruxngrachxisriyaphrnbath ekhruxngxisriyaphrnelnin ekhruxngxisriyaphrnkittikhunaehngsatharnrthxitali short list below full list in the article ekhaidepnbukhkhlsatharnrththiidrbkhwamniymthnginyuokslaewiyaelatangpraeths 14 mummxngthiepnsylksnrwmkn 15 noybayphayinpraethskhxngekhadarngiwsungkarxyurwmknxyangsntisukhkhxngchatitang inshphnthyuokslaewiy ekhaidrbkhwamsniccaknanachatimakkhuninthanaphunakhbwnkarimfkfayid ekhiyngkhangkb chwaharlal enhruaehngxinediy yamal xbdunnasiraehngxiyipt aelakwaem xunkrumaaehngkana 16 brxsekidcakbidathiepnchawokhraextaelamardathiepnchawsolwininhmuban Kumrovec xxsetriy hngkari pccubninokhrexechiy thukeknthepnthharinkxngthph ekhamikhwamoddednintwekhaexng klayepncasibexkthimixayunxythisudinkxngthphbkxxsetriy hngkariinchwngsmynn phayhlngcakidrbbadecbsahsaelathukcbkumodythharckrwrrdirsesiyinchwngsngkhramolkkhrngthihnung ekhathuksngipyngkhayaerngnganinethuxkekhayurl ekhaidmiswnrwminbangehtukarnkhxngkarptiwtirsesiyinpi kh s 1917 aelasngkhramklangemuxngthitammaemuxekhaedinthangklbsukhabsmuthrbxlkhaninpi kh s 1918 brxsidekhasurachxanackryuokslaewiythiephingkxtngkhun thiekhaidekharwmphrrkhkhxmmiwnistaehngyuokslaewiy KPJ txmaekhaidrbeluxkepnelkhathikarphrrkh txmaidepnprathanrthspha khxngsnnibatkhxmmiwnistaehngyuokslaewiy kh s 1939 1980 inchwngsngkhramolkkhrngthisxng phayhlngcaknasiidsngkxngthphekharukranpraeths ekhaidepnphunakhbwnkarkxngocrchawyuokslaf phlphrrkh kh s 1941 1945 17 phayhlngsngkhram ekhaidrbeluxktngepnnaykrthmntri kh s 1944 1963 aelaprathanathibdi txmaepnprathanathibditlxdchiph kh s 1953 1980 aehngshphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiy SFRY tngaetpi kh s 1943 cnthungaekxsykrrminpi kh s 1980 tiotidrbystaaehnngepncxmphlaehngyuokslaewiy thahnathiepnphubychakarthharsungsudinkxngthphyuokslaewiy kxngthphprachachnyuokslaewiy JNA dwychuxesiyngthiidrbkhwamniymxyangsunginklumpraethssxngfayinchwngsngkhrameyn ekhaidrbekhruxngxisryaphrncaktangpraeths 98 chin rwmthngekhruxngxisriyaphrnelchiyngdxenxr aelaekhruxngrachxisriyaphrnaehngbathtiotepnhwhnaphuxxkaebbpraethsyuokslaewiythisxng shphnthsngkhmniym thidaeninmatngaeteduxnphvscikayn kh s 1943 cnthung eduxnemsayn kh s 1992 aemwacaepnhnunginphukxtngokhminfxrm ekhaklayepnsmachikokhminfxrmkhnaerkthithathayxanacosewiytinpi kh s 1948 ekhaepnphunaephiyngkhnediywthithxntwxxkcakokhminfxrminchwngsmyocesf stalin aelaerimtndwyokhrngkarsngkhmniyminpraethskhxngekha sungmixngkhprakxbkhxngtladsngkhmniym nkesrsthsastrthithanganxyuinxdityuokslaewiy rwmthng Jaroslav Vanek thiekidepnchawechk aela Branko Horvat ekidepnchawyuokslaf idsngesrimrupaebbkhxngtladsngkhmniymthithukkhnannamwarupaebbxilieliyn sthanprakxbkarthisngkhmepnecakhxngodylukcangkhxngphwkekhaaelaokhrngsrangaerngnganthicdkardwytwexng phwkekhaidekhaaekhngkhnintladepidaelaesritiotidsranglththibuchabukhkhlthithrngxanacxyangmakrxb twekha sungidrbkarthanubarungodysnnibatkhxmmiwnistaehngyuokslaewiy hlngcakkarthungaekxsykrrmkhxngekhatiotphyayamkhwbkhumkhwamtungekhriydkhxngklumchatiphnthuodymxbhmayxanacihmakthisudethathiepnipidaekaetlasatharnrth rththrrmnuyyuokslaewiy pi kh s 1974 kahndihshphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiyepn shphnthsatharnrthaehngchatiaelaechuxchatuthiesmxphakh odyxyurwmknxyangxisrabnhlkkarphradrphaphaelaexkphaphinkarbrrluphlpraoychnthiechphaaecaacngaelarwmkn aetlasatharnrthyngidrbsiththiinkartdsinicdwytnexngaelathakaraeyktwxxk thahakthaphanchxngthangkdhmay phlsudthay okhosowaelawxywxdina thngsxngmnthlthimixanackareluxktngkhxngesxrebiytangidrbexkrachephimkhunxyangmak rwmthngxanacodyphvtinyinrthsphaesxrebiysibpiphayhlngcakkarthungaekxsykrrm lththikhxmmiwnistlmslayinyuorptawnxxkaelapraethsyuokslaewiyidekhasusngkhramklangemuxngduephimtx aekikhtiot phrarachniphnthaeplinphrabathsmedcphraecaxyuhwphumiphlxdulyedch sychy suwngbutr tiot rthburusaehngyuokslaewiy warsarprawtisastr mhawithyalysrinkhrinthrwiorth 41 s kh 2559 k kh 2560 n 1 15 xangxing aekikh Rowman amp Littlefield 2002 in Yugoslavia s ruin the bloody lessons of nationalism a patriot s warning p 58 Without denying his Croatian and Slovenian roots he always identified himself as a Yugoslav Nikolaos A Stavrou ed Mediterranean Security at the Crossroads a Reader p 193 Duke University Press 1999 ISBN 0 8223 2459 8 Vjekoslav Perica Balkan Idols Religion and Nationalism in Yugoslav States p 103 Oxford University Press US 2004 ISBN 0 19 517429 1 Richard West Tito and the Rise and Fall of Yugoslavia p 211 Carroll amp Graff 1996 ISBN 0 7867 0332 6 In one of his talks with Church officials Tito went so far as to speak of himself as a Croat and a Catholic but this comment was cut out of the press reports on the orders of Kardelj Minahan James 1998 Miniature Empires A Historical Dictionary of the Newly Independent States Greenwood Publishing Group p 50 ISBN 0313306109 Lee Khoon Choy 1993 Diplomacy of a Tiny State World Scientific p 9 ISBN 9810212194 Laqueur Walter 1976 Guerrilla Warfare A Historical amp Critical Study Transaction Publishers p 218 ISBN 0765804069 Tito Random House Webster s Unabridged Dictionary Josip Broz Tito Encyclopaedia Britannica Online subkhnemux 27 April 2010 Rhodri Jeffreys Jones 13 June 2013 In Spies We Trust The Story of Western Intelligence OUP Oxford p 87 ISBN 978 0 19 958097 2 Andjelic Neven 2003 Bosnia Herzegovina The End of a Legacy Frank Cass p 36 ISBN 978 0 7146 5485 0 McGoldrick 2000 p 17 Shapiro Susan Shapiro Ronald 2004 The Curtain Rises Oral Histories of the Fall of Communism in Eastern Europe McFarland ISBN 978 0 7864 1672 1 All Yugoslavs had educational opportunities jobs food and housing regardless of nationality Tito seen by most as a benevolent dictator brought peaceful co existence to the Balkan region a region historically synonymous with factionalism Melissa Katherine Bokovoy Jill A Irvine Carol S Lilly State society Relations in Yugoslavia 1945 1992 Palgrave Macmillan 1997 p 36 ISBN 0 312 12690 5 Of course Tito was a popular figure both in Yugoslavia and outside it Martha L Cottam Beth Dietz Uhler Elena Mastors Thomas Preston Introduction to political psychology Psychology Press 2009 p 243 ISBN 1 84872 881 6 Tito himself became a unifying symbol He was charismatic and very popular among the citizens of Yugoslavia Peter Willetts The Non aligned Movement The Origins of a Third World Alliance 1978 p xiv Bremmer Ian 2007 The J Curve A New Way to Understand Why Nations Rise and Fall Simon amp Schuster p 175 ISBN 978 0 7432 7472 2 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb yxsip brxs tiot bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul xangxingphidphlad mipayrabu lt ref gt sahrbklumchux nb aetimphbpayrabu lt references group nb gt thisxdkhlxngkn hruximmikarpid lt ref gt ekhathungcak https th wikipedia org w index php title yxsip brxs tiot amp oldid 9527484, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม