fbpx
วิกิพีเดีย

ยาซูนาริ คาวาบาตะ

ยาซูนาริ คาวาบาตะ (ญี่ปุ่น: 川端康成โรมาจิKawabata Yasunari) (14 มิถุนายน ค.ศ. 1899 - 16 เมษายน ค.ศ. 1972) เป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นชาวญี่ปุ่น เขาเป็นชาวญี่ปุ่นคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1968 คาวาบาตะมีผลงานที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในต่างประเทศโดยผลงานของเขาที่ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศต่าง ๆ รวมทั้ง ยูกิงูนิ (Yukiguni: เมืองหิมะ) เซ็มบาซูรุ (Senbazuru: กระเรียนพันตัว) และโคโตะ (Koto: เมืองหลวงเก่า)

ยาซูนาริ คาวาบาตะ ในปี ค.ศ. 1938

ลักษณะการเขียนที่เด่นชัดของเขาคือความงดงามของบทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นด้วยความรู้สึกอันแหลมคม

อ้างอิง

  • สมาคมนานาชาติเพื่อข่าวสารการศึกษา, ญี่ปุ่นปัจจุบัน , บริษัทโรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์

ยาซ, นาร, คาวาบาตะ, 川端康成, โรมาจ, kawabata, yasunari, นายน, 1899, เมษายน, 1972, เป, นน, กเข, ยนนวน, ยายและเร, องส, นชาวญ, เขาเป, นชาวญ, นคนแรกท, ได, บรางว, ลโนเบลสาขาวรรณกรรม, ในป, 1968, คาวาบาตะม, ผลงานท, เป, นท, กอย, างกว, างขวางในต, างประเทศโดยผลงานของเขาท, . yasunari khawabata yipun 川端康成 ormaci Kawabata Yasunari 14 mithunayn kh s 1899 16 emsayn kh s 1972 epnnkekhiynnwniyayaelaeruxngsnchawyipun ekhaepnchawyipunkhnaerkthiidrbrangwloneblsakhawrrnkrrm inpi kh s 1968 khawabatamiphlnganthiepnthiruckxyangkwangkhwangintangpraethsodyphlngankhxngekhathiidrbkaraeplepnphasatangpraethstang rwmthng yukinguni Yukiguni emuxnghima esmbasuru Senbazuru kraeriynphntw aelaokhota Koto emuxnghlwngeka yasunari khawabata inpi kh s 1938 lksnakarekhiynthiednchdkhxngekhakhuxkhwamngdngamkhxngbthrxykrxngaebbyipundwykhwamrusukxnaehlmkhmxangxing aekikh sthaniyxypraethsyipun sthaniyxyolkwrrnsilp khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb yasunari khawabatasmakhmnanachatiephuxkhawsarkarsuksa yipunpccubn bristhorngphimphxksrsmphnth bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul ekhathungcak https th wikipedia org w index php title yasunari khawabata amp oldid 8042417, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม