fbpx
วิกิพีเดีย

สารระเหย

สารระเหย (อังกฤษ: inhalants) หรือศัพท์บัญญัติว่า ยาดม หรือ ยาสูด เป็นกลุ่มสารเคมีในครัวเรือนและอุตสาหกรรมหลายชนิดซึ่งไอระเหยหรือแก๊สอัดความดันสามารถทำให้เข้มข้นและสูดหายใจเข้าไปทางจมูกหรือปากเพื่อให้เกิดภาวะพิษได้ (หรือภาษาแสลงว่า "เมา") ในทางที่ผู้ผลิตมิได้ตั้งใจให้ใช้ มีการหายใจสารระเหยเข้าที่อุณหภูมิห้องผ่นการกลายเป็นไอ (ในกรณีของแกโซลีนหรืออะซีโตน) หรือจากบรรจุภัณฑ์อัดความดัน (เช่น ไนตรัสอ็อกไซด์หรือบิวเทน และไม่รวมยาที่สูดหลังเผาหรือให้ความร้อน ตัวอย่างเช่น เอมิลไนไตรต์ (ป็อปเปอร์) ไนตรัสอ็อกไซด์และโทลูอีน ซึ่งเป็นตัวทำละลายที่ใช้อย่างกว้างขวางในคอนแท็กต์ซีเมนต์ (contact cement) ปากกาเคมีชนิดลบไม่ได้ และกาวบางชนิด ถือเป็นสารระเหย แต่การสูบยาสูบ กัญชาและโคเคนไม่ใช่สารระเหย แม้ยาเหล่านี้สูดดมเข้าไปเมื่อสูบเช่นกัน

สารระเหย
ผลิตภัณฑ์ในบ้านทั่วไปอย่างยาทาสีเล็บมีตัวทำละลายที่สามารถทำให้เข้มข้นและสูดได้เพื่อก่อให้เกิดภาวะพิษในทางที่ผู้ผลิตมิได้ตั้งใจ การใช้ผลิตภัณฑ์แบบนี้อาจเป็นอันตรายหรือถึงตายได้
สาขาวิชาพิษวิทยา

แม้วิชาชีพแพทย์มีการจ่ายสารระเหยบางชนิด และใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการแพทย์ เช่น ยาสลบชนิดสูดและไนตรัสอ็อกไซด์ แต่บทความนี้จะเน้นการใช้สารขับเคลื่อนในครัวเรือนและอุตสาหกรรม กาว เชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์อื่นในทางที่ผู้ผลิตไม่ได้ตั้งใจให้ใช้ เพื่อให้เกิดภาวะพิษหรือผลออกฤทธิ์ต่อประสาทอย่างอื่น ผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีใช้เป็นยาเพื่อนันทนานการสำหรับผลภาวะพิษของมัน ในรายงานของสถาบันการใช้ยาเสพติดแห่งชาติของสหรัฐปี 2538 ผู้ใช้สารระเหยที่รุนแรงที่สุด ได้แก่ เด็กและวัยรุ่นไร้บ้านซึ่ง "ไม่มีครอบครัว" สารระเหยเป็นสารชนิดเดียวที่วัยรุ่นอายุน้อยใช้มากกว่าวัยรุ่นอายุมากกว่า ผู้ใช้สารระเหยสูดไอหรือแก๊สขับเคลื่อนละอองฝอยโดยใช้ถงพลาสติกครอบไว้เหนือปากหรือโดยหายใจจากผ้าที่ชุบตัวทำละลายหรือสูดจากภาชนะเปิด

ผลของสารระเหยมีตั้งแต่ภาวะพิษคล้ายแอลกอฮอลและภาวะครึ้มใจอย่างเข้มไปจนถึงประสาทหลอนชัดเจนขึ้นอยู่กับสารและขนาดที่ใช้ ผู้ใช้สารระเหยบางคนได้รับบาดเจ็บเนื่องจากผลเป็นอันตรายของตัวทำละลายหรือแก๊ส หรือเนื่องจากสารเคมีอื่นที่ใชในผลิตภัณฑ์ที่สูด สำหรับยาที่ใช้เพื่อนันทนาการ ผู้ใช้อาจได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรมอันตรายขณะเป็นพิษ เช่น ขับยานพาหนะโดยอยู่ภายใต้อิทธิพลของสารระเหย ในบางกรณีผู้ใช้เสียชีวิตจากภาวะออกซิเจนต่ำในเลือด ปอดบวม หัวใจล้มเหลวหรือหยุด หรือการสำลักอาเจียน การบาดเจ็บของสมองมักเกิดในผู้ใช้ตัวทำละลายระยะยาว

อ้างอิง

  1. Michael B. First; Allan Tasman (2 October 2009). Clinical Guide to the Diagnosis and Treatment of Mental Disorders. John Wiley and Sons. p. 203. ISBN 978-0-470-74520-5. สืบค้นเมื่อ 20 April 2010.
  2. Sharp, Charles W; Rosenberg, Neil L (2005). "Inhalants". ใน Lowinson, Joyce H; Ruiz, Pedro; Millman, Robert B; Langrod, John G (บ.ก.). Substance Abuse: A Comprehensive Textbook (4th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. ISBN 0-7817-3474-6. สืบค้นเมื่อ 2 December 2010.
  3. "Epidemiology of Inhalant Abuse: An International Perspective" 2016-10-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (PDF), National Institute on Drug Abuse, NIDA Research Monograph 148, 1995
  4. Abuse, National Institute on Drug. "Inhalants". สืบค้นเมื่อ 19 July 2017.
  5. . Greater Dallas Council on Alcohol & Drug Abuse. 4 March 2006. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 8 April 2009.
  6. "Inhalants: Background, Pathophysiology, Epidemiology". 5 May 2017. สืบค้นเมื่อ 19 July 2017 – โดยทาง eMedicine. Cite journal requires |journal= (help)

สารระเหย, งกฤษ, inhalants, หร, อศ, พท, ญญ, ยาดม, หร, ยาส, เป, นกล, มสารเคม, ในคร, วเร, อนและอ, ตสาหกรรมหลายชน, ดซ, งไอระเหยหร, อแก, สอ, ดความด, นสามารถทำให, เข, มข, นและส, ดหายใจเข, าไปทางจม, กหร, อปากเพ, อให, เก, ดภาวะพ, ษได, หร, อภาษาแสลงว, เมา, ในทางท, ผล, . sarraehy xngkvs inhalants hruxsphthbyytiwa yadm hrux yasud epnklumsarekhmiinkhrweruxnaelaxutsahkrrmhlaychnidsungixraehyhruxaeksxdkhwamdnsamarththaihekhmkhnaelasudhayicekhaipthangcmukhruxpakephuxihekidphawaphisid hruxphasaaeslngwa ema inthangthiphuphlitmiidtngicihich mikarhayicsarraehyekhathixunhphumihxngphnkarklayepnix inkrnikhxngaekoslinhruxxasiotn hruxcakbrrcuphnthxdkhwamdn echn intrsxxkisdhruxbiwethn aelaimrwmyathisudhlngephahruxihkhwamrxn twxyangechn exmilinitrt pxpepxr intrsxxkisdaelaothluxin sungepntwthalalaythiichxyangkwangkhwanginkhxnaethktsiemnt contact cement pakkaekhmichnidlbimid aelakawbangchnid thuxepnsarraehy aetkarsubyasub kychaaelaokhekhnimichsarraehy aemyaehlanisuddmekhaipemuxsubechnkn 1 2 sarraehyphlitphnthinbanthwipxyangyathasielbmitwthalalaythisamarththaihekhmkhnaelasudidephuxkxihekidphawaphisinthangthiphuphlitmiidtngic karichphlitphnthaebbnixacepnxntrayhruxthungtayidsakhawichaphiswithyaaemwichachiphaephthymikarcaysarraehybangchnid aelaichephuxwtthuprasngkhthangkaraephthy echn yaslbchnidsudaelaintrsxxkisd aetbthkhwamnicaennkarichsarkhbekhluxninkhrweruxnaelaxutsahkrrm kaw echuxephlingaelaphlitphnthxuninthangthiphuphlitimidtngicihich ephuxihekidphawaphishruxphlxxkvththitxprasathxyangxun phlitphnthehlanimiichepnyaephuxnnthnankarsahrbphlphawaphiskhxngmn inrayngankhxngsthabnkarichyaesphtidaehngchatikhxngshrthpi 2538 phuichsarraehythirunaerngthisud idaek edkaelawyrunirbansung immikhrxbkhrw 3 sarraehyepnsarchnidediywthiwyrunxayunxyichmakkwawyrunxayumakkwa 4 phuichsarraehysudixhruxaekskhbekhluxnlaxxngfxyodyichthngphlastikkhrxbiwehnuxpakhruxodyhayiccakphathichubtwthalalayhruxsudcakphachnaepidphlkhxngsarraehymitngaetphawaphiskhlayaexlkxhxlaelaphawakhrumicxyangekhmipcnthungprasathhlxnchdecnkhunxyukbsaraelakhnadthiich phuichsarraehybangkhnidrbbadecbenuxngcakphlepnxntraykhxngtwthalalayhruxaeks hruxenuxngcaksarekhmixunthiichinphlitphnththisud sahrbyathiichephuxnnthnakar phuichxacidrbbadecbcakphvtikrrmxntraykhnaepnphis echn khbyanphahnaodyxyuphayitxiththiphlkhxngsarraehy inbangkrniphuichesiychiwitcakphawaxxksiecntaineluxd pxdbwm hwiclmehlwhruxhyud 5 hruxkarsalkxaeciyn karbadecbkhxngsmxngmkekidinphuichtwthalalayrayayaw 6 xangxing aekikh Michael B First Allan Tasman 2 October 2009 Clinical Guide to the Diagnosis and Treatment of Mental Disorders John Wiley and Sons p 203 ISBN 978 0 470 74520 5 subkhnemux 20 April 2010 Sharp Charles W Rosenberg Neil L 2005 Inhalants in Lowinson Joyce H Ruiz Pedro Millman Robert B Langrod John G b k Substance Abuse A Comprehensive Textbook 4th ed Philadelphia Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 0 7817 3474 6 subkhnemux 2 December 2010 Epidemiology of Inhalant Abuse An International Perspective Archived 2016 10 05 thi ewyaebkaemchchin PDF National Institute on Drug Abuse NIDA Research Monograph 148 1995 Abuse National Institute on Drug Inhalants subkhnemux 19 July 2017 Inhalants Facts and Statistics Greater Dallas Council on Alcohol amp Drug Abuse 4 March 2006 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 8 April 2009 Inhalants Background Pathophysiology Epidemiology 5 May 2017 subkhnemux 19 July 2017 odythang eMedicine Cite journal requires journal help ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sarraehy amp oldid 9597834, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม