fbpx
วิกิพีเดีย

รอยต่อ p-n

รอยต่อ p-n (อังกฤษ: p-n junction) คือ บริเวณขอบเขตแดนหรือรอยเชื่อมต่อระหว่างสารกึ่งตัวนำสองประเภท ได้แก่สารแบบ p-type และแบบ n-type ภายในผลึกกึ่งตัวนำเดี่ยว รอยต่อ p-n นี้จะถูกสร้างขึ้นโดยการโด๊ป ด้วยวิธีการเช่นการปลูกไอออน หรือด้วยแพร่กระจายของสารเจือปน หรือด้วยการ epitaxy (การปลูกผลึกหนึ่งชั้นที่ถูกโด๊ปด้วย สารเจือปนประเภทหนึ่งบนด้านบนของชั้นผลึกที่ถูกโด๊ปด้วยสารเจือปนอีกประเภทหนึ่ง) ถ้าวัสดุที่เป็นรอยต่อนี้ถูกทำเป็นสองชิ้นแยกจากกัน รอยต่อนี้จะเป็นขอบเขตระหว่างสารกึ่งตัวนำที่ ยับยั้งการไหลของกระแสอย่างรุนแรง โดยทำให้อิเล็กตรอนและโฮลในสารกึ่งตัวนำกระจัดกระจาย.

รูปแสดงสัญญลักษณ์ของ PN diode รูปสามเหลี่ยมแทน p side เส้นขีดแนวตั้งแทน n side

รอยต่อ p-n เป็น"สิ่งก่อสร้าง"เบื้องต้นของอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ เช่น ไดโอด, ทรานซิสเตอร์, เซลล์แสงอาทิตย์, LED และวงจรรวม โดยถูกนำมาใช้เป็น ทรานซิสเตอร์ทั่วไปและ Bipolar Junction Transistor ที่ประกอบด้วย p-n junction สองต้วต่อกันแบบอนุกรมในรูปแบบ n-p-n หรือ p-n-p

การค้นพบ p-n junction มักจะให้เกียรติกับนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน รัสเซล Ohl แห่ง เบลล์แล็บ

รอยต่อของ Schottky เป็น p-n junction กรณีพิเศษ ที่ซึ่งโลหะจะทำหน้าที่เป็นสารกึ่งตัวนำ ชนิด p

คุณสมบัติของ p-n junction ,

p-n junction มีคุณสมบัติที่น่าสนใจบางอย่างที่เป็นประโยชน์ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย เซมิคอนดักเตอร์ที่ถูกโด็ปเป็น p-type ค่อนข้างเป็นตัวนำไฟฟ้า เช่นเดียวกับเซมิคอนดักเตอร์ที่ถูกโด็ปเป็น n-type แต่รอยต่อที่แยกระหว่างเซมิคอนดักเตอร์สองชนิดทำให้พาหะของประจุไฟฟ้า(อังกฤษ: charge carrier)หายไป และนั่นคือไม่นำไฟฟ้าอีกต่อไป หรือการนำไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับเซมิคอนดักเตอร์ทั้งสองด้านนั้น โดยการปรุงแต่งจัดการกับชั้นที่ไม่เป็นสื่อไฟฟ้านี้ p-n junction จึงมักถูกทำเป็นไดโอดหรือบางครั้งเรียก junction diode ซึ่งเป็นส่วนประกอบของวงจรที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียวเท่านั้น การป้อนแรงดันให้กับ p-n junction เรียกว่า bias นั่นคือ ถ้าป้อนแรงดันให้กระแสไหลได้เรียกว่า forward bias แต่ถ้าป้อนแรงดันแล้ว กระแสไหลผ่านไม่ได้ เรียกว่า reverse bias

สมดุล (bias เป็นศูนย์)

p-n junction จะอยู่ในสภาพสมดุลถ้าไม่มีแรงดันไฟฟ้าภายนอกจ่ายให้ ความต่างศักย์ที่ตกครอมรอยต่อจะเรียกว่า ความต่างศักย์สร้างเองภายใน สัญญลักษณ์ Vbi

หลังจากเชื่อม เซมิคอนดักเตอร์ p-type และ n-type เข้าด้วยกันผ่าน junction แล้ว, อิเล็กตรอนจากพื้นที่ n ใกล้รอยต่อ p-n มีแนวโน้มที่จะแพร่กระจายเข้าไปในพื้นที่ p. ในขณะที่อิเล็กตรอนแตกตัว มันทิ้งไอออนประจุบวก (ผู้บริจาค) ไว้ข้างหลัง. ในทำนองเดียวกันโฮลจากพื้นที่ p ใกล้รอยต่อ p-n เริ่มที่จะแพร่กระจายเข้าไปในพื่นที่ n ก็ทิ้งไอออนประจุลบ (ผู้รับบริจาค) ไว้ข้างหลังเหมือนกัน พื้นที่ใกล้รอยต่อ p-n จึงสูญเสียความเป็นกลางและมีประจุไฟฟ้า เรียกพื้นที่นี้ว่า space charge region หรือชั้น พร่อง (ดูรูป A)

 
รูป A แสดง p-n junction ในสภาวะสมดุลที่ bias voltage เป็นศูนย์ ความเข้มข้นของอิเล็คตรอนและโฮลแสดงด้วยเส้นสีสีน้ำเงินและสีแดงตามลำดับ พื้นที่สีเทาเป็นกลาง โซนสีแดงอ่อนมีประจุบวก โซนสีฟ้าอ่อนมีประจุลบ สนามไฟฟ้าจะแสดงด้านล่าง แรงไฟฟ้าสถิตบนอิเล็กตรอนและโฮล และทิศทางในการแพร่กระจาย มีแนวโน้มที่จะย้ายอิเล็กตรอนและหลุม

สนามไฟฟ้าที่ถูกสร้างขึ้นโดย space charge region ขัดขวางกระบวนการแพร่กระจายของทั้งอิเล็กตรอนและโฮล มีปรากฏการณ์สองอย่างเกิดขึ้นพร้อมกัน ปรากฏการณ์แรกเป็นกระบวนการ แพร่กระจายที่มีแนวโน้มที่จะสร้างประจุมากขึ้น และปรากฏการณ์ที่สองเป็นสนามไฟฟ้าที่สร้างขึ้นโดยประจุที่มีแนวโน้มที่จะต่อต้านการแพร่กระจาย ความเข้มข้นของประจุที่สมดุลแสดงด้วยเส้นสีน้ำเงินและสีแดง และยังแสดงให้เห็นสองปรากฏการณ์ที่ถ่วงดุลเพื่อสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้น

 
รูป B. p-n junction ในสมดุลที่มี bias เป็นศูนย์ ด้านล่างแสดงปริมาณประจุไฟฟ้า และสนามไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าในแต่ละพื้นที่

space charge region เป็นโซนที่มีประจุอิสระที่ได้รับจากไอออนคงที่(ผู้บริจาคหรือผู้รับบริจาค) ที่ถูกทิ้งไว้จากการแพร่กระจายของพาหะส่วนใหญ่ เมื่ออยู่ในภาวะสมดุล ความหนาแน่นของประจุถูกประมาณเป็นขั้นๆตามที่แสดง ในความเป็นจริง ใน region นี้จะไม่มี majority carriers อย่างสมบูรณ์ (ทำให้ค่าความหนาแน่นของประจุเท่ากับระดับการโด๊ปสุทธิ) และที่รอยต่อระหว่าง space charge region และ neutral region จะค่อนข้างเป็นเส้นตรง (ดูรูป B, Q (x) กราฟ) space charge region มีปริมาณประจุทั้งสองด้านของรอยต่อ p-n เท่ากัน และปริมาณประจุจะค่อยๆน้อยลงเมื่อห่างจากรอยต่อออกไป (ด้าน n ในรูป A และ B)

รอยต, งกฤษ, junction, บร, เวณขอบเขตแดนหร, อรอยเช, อมต, อระหว, างสารก, งต, วนำสองประเภท, ได, แก, สารแบบ, type, และแบบ, type, ภายในผล, กก, งต, วนำเด, ยว, จะถ, กสร, างข, นโดยการโด, วยว, การเช, นการปล, กไอออน, หร, อด, วยแพร, กระจายของสารเจ, อปน, หร, อด, วยการ, epi. rxytx p n xngkvs p n junction khux briewnkhxbekhtaednhruxrxyechuxmtxrahwangsarkungtwnasxngpraephth idaeksaraebb p type aelaaebb n type phayinphlukkungtwnaediyw rxytx p n nicathuksrangkhunodykarodp dwywithikarechnkarplukixxxn hruxdwyaephrkracaykhxngsarecuxpn hruxdwykar epitaxy karplukphlukhnungchnthithukodpdwy sarecuxpnpraephthhnungbndanbnkhxngchnphlukthithukodpdwysarecuxpnxikpraephthhnung thawsduthiepnrxytxnithukthaepnsxngchinaeykcakkn rxytxnicaepnkhxbekhtrahwangsarkungtwnathi ybyngkarihlkhxngkraaesxyangrunaerng odythaihxielktrxnaelaohlinsarkungtwnakracdkracay rupaesdngsyylksnkhxng PN diode rupsamehliymaethn p side esnkhidaenwtngaethn n side rxytx p n epn singkxsrang ebuxngtnkhxngxupkrnesmikhxndketxrxielkthrxniksswnihy echn idoxd thransisetxr esllaesngxathity LED aelawngcrrwm odythuknamaichepn thransisetxrthwipaela Bipolar Junction Transistor thiprakxbdwy p n junction sxngtwtxknaebbxnukrminrupaebb n p n hrux p n pkarkhnphb p n junction mkcaihekiyrtikbnkfisikschawxemrikn rsesl Ohl aehng ebllaelbrxytxkhxng Schottky epn p n junction krniphiess thisungolhacathahnathiepnsarkungtwna chnid pkhunsmbtikhxng p n junction aekikhp n junction mikhunsmbtithinasnicbangxyangthiepnpraoychninxupkrnxielkthrxniksthithnsmy esmikhxndketxrthithukodpepn p type khxnkhangepntwnaiffa echnediywkbesmikhxndketxrthithukodpepn n type aetrxytxthiaeykrahwangesmikhxndketxrsxngchnidthaihphahakhxngpracuiffa xngkvs charge carrier hayip aelannkhuximnaiffaxiktxip hruxkarnaiffacakhunxyukbaerngdniffathicayihkbesmikhxndketxrthngsxngdannn odykarprungaetngcdkarkbchnthiimepnsuxiffani p n junction cungmkthukthaepnidoxdhruxbangkhrngeriyk junction diode sungepnswnprakxbkhxngwngcrthiyxmihkraaesiffaihlphanidinthisthangediywethann karpxnaerngdnihkb p n junction eriykwa bias nnkhux thapxnaerngdnihkraaesihlideriykwa forward bias aetthapxnaerngdnaelw kraaesihlphanimid eriykwa reverse biassmdul bias epnsuny aekikhp n junction caxyuinsphaphsmdulthaimmiaerngdniffaphaynxkcayih khwamtangskythitkkhrxmrxytxcaeriykwa khwamtangskysrangexngphayin syylksn Vbihlngcakechuxm esmikhxndketxr p type aela n type ekhadwyknphan junction aelw xielktrxncakphunthi n iklrxytx p n miaenwonmthicaaephrkracayekhaipinphunthi p inkhnathixielktrxnaetktw mnthingixxxnpracubwk phubricakh iwkhanghlng inthanxngediywknohlcakphunthi p iklrxytx p n erimthicaaephrkracayekhaipinphunthi n kthingixxxnpraculb phurbbricakh iwkhanghlngehmuxnkn phunthiiklrxytx p n cungsuyesiykhwamepnklangaelamipracuiffa eriykphunthiniwa space charge region hruxchn phrxng durup A rup A aesdng p n junction insphawasmdulthi bias voltage epnsuny khwamekhmkhnkhxngxielkhtrxnaelaohlaesdngdwyesnsisinaenginaelasiaedngtamladb phunthisiethaepnklang osnsiaedngxxnmipracubwk osnsifaxxnmipraculb snamiffacaaesdngdanlang aerngiffasthitbnxielktrxnaelaohl aelathisthanginkaraephrkracay miaenwonmthicayayxielktrxnaelahlum snamiffathithuksrangkhunody space charge region khdkhwangkrabwnkaraephrkracaykhxngthngxielktrxnaelaohl mipraktkarnsxngxyangekidkhunphrxmkn praktkarnaerkepnkrabwnkar aephrkracaythimiaenwonmthicasrangpracumakkhun aelapraktkarnthisxngepnsnamiffathisrangkhunodypracuthimiaenwonmthicatxtankaraephrkracay khwamekhmkhnkhxngpracuthismdulaesdngdwyesnsinaenginaelasiaedng aelayngaesdngihehnsxngpraktkarnthithwngdulephuxsrangkhwamsmdulihekidkhun rup B p n junction insmdulthimi bias epnsuny danlangaesdngprimanpracuiffa aelasnamiffaaelaaerngdniffainaetlaphunthi space charge region epnosnthimipracuxisrathiidrbcakixxxnkhngthi phubricakhhruxphurbbricakh thithukthingiwcakkaraephrkracaykhxngphahaswnihy emuxxyuinphawasmdul khwamhnaaennkhxngpracuthukpramanepnkhntamthiaesdng inkhwamepncring in region nicaimmi majority carriers xyangsmburn thaihkhakhwamhnaaennkhxngpracuethakbradbkarodpsuththi aelathirxytxrahwang space charge region aela neutral region cakhxnkhangepnesntrng durup B Q x kraf space charge region miprimanpracuthngsxngdankhxngrxytx p n ethakn aelaprimanpracucakhxynxylngemuxhangcakrxytxxxkip dan n inrup A aela B khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb rxytx p nekhathungcak https th wikipedia org w index php title rxytx p n amp oldid 7618669, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม