fbpx
วิกิพีเดีย

สารกึ่งตัวนำ

สารกึ่งตัวนำ (อังกฤษ: semiconductor) คือ วัสดุที่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เป็นวัสดุที่ใช้ทำอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ มักมีตัวประกอบของ germanium, selenium, silicon วัสดุเนื้อแข็งผลึกพวกหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำ หรือสื่อไฟฟ้าก้ำกึ่งระหว่างโลหะกับอโลหะหรือฉนวน ความเป็นตัวนำไฟฟ้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และสิ่งไม่บริสุทธิ์ที่มีเจือปนอยู่ในวัสดุพวกนี้ ซึ่งอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็มี เช่น ธาตุเจอร์เมเนียม ซิลิคอน ซีลีเนียม และตะกั่วเทลลูไรด์ เป็นต้น วัสดุกึ่งตัวนำพวกนี้มีความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับโลหะทั้งปวง

ที่อุณหภูมิ ศูนย์ เคลวิน วัสดุพวกนี้จะไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่านเลย เพราะเนื้อวัสดุเป็นผลึกโควาเลนต์ ซึ่งอิเล็กตรอนทั้งหลายจะถูกตรึงอยู่ในพันธะโควาเลนต์หมด (พันธะที่หยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม) แต่ในอุณหภูมิธรรมดา อิเล็กตรอนบางส่วนมีพลังงาน เนื่องจากความร้อนมากพอที่จะหลุดไปจากพันธะ ทำให้เกิดที่ว่างขึ้น อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเป็นสาเหตุให้สารกึ่งตัวนำ นำไฟฟ้าได้เมื่อมีมีสนามไฟฟ้ามาต่อเข้ากับสารนี้

สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ เป็นสารที่เกิดขึ้นจากการเติมสารเจือปนลงไปในสารกึ่งตัวนำแท้ เช่น ซิลิกอน หรือเยอรมันเนียม เพื่อให้ได้สารกึ่งตัวนำที่มีสภาพการนำไฟฟ้าที่ดีขึ้น สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์นี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ สารกึ่งตัวนำประเภทเอ็น (N-Type) และสารกึ่งตัวนำประเภทพี (P-Type)

สารกึ่งตัวนำบริสุทธิ์

สารกึ่งตัวนำที่นำมาใช้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คือ ซิลิกอน (Si) และเจอเมเนียม (Ge) ธาตุทั้งสองอยู่ในแถวที่ 4 ของตารางธาตุ มีวาเลนซ์อิเล็กตรอน 4 ตัว ในสภาวะปกติอยู่ในรูปผลึกเรียงตัวแบบเตตระฮีดรอล (tetrahedral) อะตอมตัวหนึ่งของสารกึ่งตัวนำจะจับกับอะตอมอื่นอีก 4 อะตอม การรวมตัวกันโดยพันธะโควาเลนต์ คือใช้วาเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน จึงเหมือนกับว่าอะตอมหนึ่งของสารกึ่งตัวนำมีวาเลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัว วาเลนซ์อิเล็กตรอน 4 ตัว เป็นของอะตอมสารกึ่งตัวนำในอะตอมนั้น ส่วนวาเลนซ์อิเล็กตรอนอีก 4 ตัว ใช้ร่วมกับอะตอมอื่น ดังนั้นอิเล็กตรอนของสารกึ่งตัวนำจึงยึดแน่นกับอะตอมมาก สารกึ่งตัวนำจึงเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ไม่ดี อย่างไรก็ตามเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อิเล็กตรอนได้รับพลังงานความร้อนหลุดจากอะตอมได้บ้าง ทำให้พบอิเล็กตรอนในแถบพลังงานนำ สารกึ่งตัวนำจึงนำไฟฟ้าได้ การนำไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำจะขึ้นกับอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูงอิเล็กตรอนในแถบนำมากจะนำไฟฟ้าได้ดี ถ้าอุณหภูมิต่ำจะเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ไม่ดี

เมื่ออิเล็กตรอนหลุดจากอะตอม ทำให้พันธะโควาเลนซ์เกิดช่องว่างขึ้น อิเล็กตรอนจากที่อื่นสามารถเคลื่อนที่เข้ามาแทนที่ได้มีลักษณะคล้ายกับหลุมที่อิเล็กตรอนอาจจะตกลงไป จึงเรียกช่องว่างนี้ว่า โฮล (Hole) ถ้าหากว่าอิเล็กตรอนของอะตอมข้างเคียงมีพลังงานเคลื่อนที่เข้ามาแทนที่โฮล อิเล็กตรอนข้างเคียงก็จะเกิดโฮลขึ้น คล้ายกับว่าโฮลเคลื่อนจากอะตอมเดิมไปยังอะตอมข้างเคียง ถ้ายังมีอิเล็กตรอนจากอะตอมอื่นเคลื่อนเข้ามาแทนที่โฮลต่อเนื่องกันหลาย ๆอะตอม โฮลจะเคลื่อนที่ไปตามอะตอมเหล่านั้น เนื่องจากอะตอมที่เกิดโฮลมีสภาพเป็นบวกเพราะขาดอิเล็กตรอน โฮลจึงเป็นตัวพาประจุบวกในสารกึ่งตัวนำ ซึ่งในสารกึ่งตัวนำนี้จะมีตัวพาประจุ 2 ชนิด คืออิเล็กตรอนพาประจุลบ และโฮลพาประจุบวก

การนำไฟฟ้าในสารกึ่งตัวนำ

ในสารกึ่งตัวนำมีพาหะของประจุอยู่ 2 ชนิด คือ อิเล็กตรอนและโฮล ความหนาแน่นกระแสจะขึ้นกับปริมาณพาหะทั้ง 2 ชนิด ดังนั้น

 

เมื่อ

  • n = จำนวนอิเล็กตรอน
  • p = จำนวนโฮล
  •   = ความคล่องตัวของอิเล็กตรอน
  •   = ความคล่องตัวของโฮล

ดังนั้น

 

ในสารกึ่งตัวนำบริสุทธิ์ (pure semi-conductor, intrinsic semiconductor) จำนวนโฮลเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน เพราะว่า โฮลเกิดจากการแตกตัวของอิเล็กตรอนจากอะตอม

 

เมื่อ   = ปริมาณพาหะ (โฮล หรือ อิเล็กตรอน) ในสารกึ่งตัวนำบริสุทธิ์

ความหนาแน่นของพาหะในสารกึ่งตัวนำบริสุทธิ์

จากสถิติเฟอร์มี-ดิแรค

 

และจำนวนอิเล็กตรอนต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร

 

จำนวนอิเล็กตรอนทั้งหมด

 

เมื่อ E' = พลังงานที่ชอบบนของแถบนำ


เนื่องจาก   มากกว่า 1 มาก ดังนั้น เราอาจประมาณว่า

 

ดังนั้น

 

จำนวนโฮล หาได้จาก

 


หลังจากอินทิเกรตจะได้

 

 

เมื่อ   = ความหนาแน่นของสเตทในแถบนำและแถบวาเลนซ์

สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์

ปริมาณอิเล็กตรอนและโฮลที่เกิดจากพลังงานความร้อนและแสงสว่าง ยังคงมีจำนวนน้อยเกินไป ทำให้สารกึ่งตัวนำบริสุทธิ์นำไฟฟ้าได้ไม่ดีเท่าที่ควร ในทางปฏิบัติจะเติมอะตอมอื่นที่มีวาเลนซ์อิเล็กตรอน 3 หรือ 5 ลงในสารกึ่งตัวนำบริสุทธิ์ เพื่อทำให้ปริมาณอิเล็กตรอนหรือโฮลเพิ่มขึ้น อะตอมที่เติมลงไปมีชื่อว่า อะตอมสารเจือ (impurity atom) การเติมสารเจือ เรียกว่าการโด๊ป (Doping) สารกึ่งตัวนำที่มีอะตอมสารเจือ เจือปนอยู่ เรียกว่า สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ (extrinsic semiconductor) หรือสารกึ่งตัวนำสารเจือ (doping semiconductor)

สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์มี 2 ชนิดคือ สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ชนิดเอ็น (N-type semiconductor) และสารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ชนิดพี (P-type semiconductor)

สารกึ่งตัวนำชนิดเอ็น

สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ชนิดเอ็นเป็นสารกึ่งตัวนำที่มีอิเล็กตรอนจำนวนมาก เกิดจากการเติมอะตอมที่มีวาเลนซ์อิเล็กตรอน 5 ตัว เช่น แอนติโมนี, ฟอสฟอรัส หรือ อาเซนิก

อะตอมสารเจือสามารถให้อิเล็กตรอนได้จึงมีชื่อเรียกว่า อะตอมผู้ให้ (donor atom) อะตอมสารเจือประมาณหนึ่งต่อล้านเป็นชนิดเอ็นเพราะว่ามีอิเล็กตรอนซึ่งเป็นพาหะของประจุลบอยู่มาก อย่างไรก็ตามในแถบวาเลนซ์ก็มีโฮลอยู่บ้าง สารกึ่งตัวนำชนิดเอ็นมีอิเล็กตรอนในแถบนำเป็นพาหะส่วนใหญ่ (majority carrier) มีโฮลเป็นพาหะส่วนน้อย

สารกึ่งตัวนำชนิดพี

สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ชนิดพี เป็นสารกึ่งตัวนำที่มีโฮลอยู่มาก เกิดจากการเติมอะตอมที่มีวาเลนซ์อิเล็ก 3 ตัว เช่น โบรอน, เจอเมเนียม หรืออินเดียม

เป็นสารกึ่งตัวนำที่เกิดจากการจับตัวของอะตอมซิลิกอนกับอะตอมของอะลูมิเนียม ทำให้เกิดที่ว่างซึ่งเรียกว่า โฮล (Hole) ขึ้นในแขนร่วมของอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนข้างโฮลจะเคลื่อนที่ไปอยู่ในโฮลทำให้ดูคล้ายกับโฮลเคลื่อนที่ได้จึงทำให้กระแสไหลได้

  1. นิพนธ์ ตั้งประเสริฐ. (2542). ฟิสิกส์ว่าด้วยของแข็ง2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สารก, งต, วนำ, บทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดหม, ใส, งก, ภายใน, หร, อเก, บกวาดเน, อหา, ให, ณภาพด, ณสามารถปร, บปร, งแก, ไขบทความน, ได, และนำป, ายออก, จารณาใช, ายข, อความอ, นเพ, อช, ดข, อบกพร, อง, งกฤษ, semiconductor, สด, ณสมบ, ในการนำไฟฟ, าอย, ระหว, างต, วนำและ. bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngsarkungtwna xngkvs semiconductor khux wsduthimikhunsmbtiinkarnaiffaxyurahwangtwnaaelachnwn epnwsduthiichthaxupkrnxielkhthrxniks mkmitwprakxbkhxng germanium selenium silicon wsduenuxaekhngphlukphwkhnungthimismbtiepntwna hruxsuxiffakakungrahwangolhakbxolhahruxchnwn khwamepntwnaiffakhunxyukbxunhphumi aelasingimbrisuththithimiecuxpnxyuinwsduphwkni sungxacepnthatuhruxsarprakxbkmi echn thatuecxremeniym silikhxn silieniym aelatakwethlluird epntn wsdukungtwnaphwknimikhwamtanthaniffaldlngemuxxunhphumisungkhun sungepnlksnatrngkhamkbolhathngpwngthixunhphumi suny ekhlwin wsduphwknicaimyxmihiffaihlphanely ephraaenuxwsduepnphlukokhwaelnt sungxielktrxnthnghlaycathuktrungxyuinphnthaokhwaelnthmd phnthathihyudehniywrahwangxatxm aetinxunhphumithrrmda xielktrxnbangswnmiphlngngan enuxngcakkhwamrxnmakphxthicahludipcakphntha thaihekidthiwangkhun xielktrxnthihludxxkmaepnsaehtuihsarkungtwna naiffaidemuxmimisnamiffamatxekhakbsarnisarkungtwnaimbrisuththi epnsarthiekidkhuncakkaretimsarecuxpnlngipinsarkungtwnaaeth echn silikxn hruxeyxrmneniym ephuxihidsarkungtwnathimisphaphkarnaiffathidikhun sarkungtwnaimbrisuththiniaebngxxkepn 2 praephthkhux sarkungtwnapraephthexn N Type aelasarkungtwnapraephthphi P Type enuxha 1 sarkungtwnabrisuththi 1 1 1 karnaiffainsarkungtwna 1 2 khwamhnaaennkhxngphahainsarkungtwnabrisuththi 2 sarkungtwnaimbrisuththi 1 2 1 sarkungtwnachnidexn 2 2 sarkungtwnachnidphisarkungtwnabrisuththi 1 aekikhsarkungtwnathinamaichphlitxupkrnxielkthrxniks khux silikxn Si aelaecxemeniym Ge thatuthngsxngxyuinaethwthi 4 khxngtarangthatu miwaelnsxielktrxn 4 tw insphawapktixyuinrupphlukeriyngtwaebbettrahidrxl tetrahedral xatxmtwhnungkhxngsarkungtwnacacbkbxatxmxunxik 4 xatxm karrwmtwknodyphnthaokhwaelnt khuxichwaelnsxielktrxnrwmkn cungehmuxnkbwaxatxmhnungkhxngsarkungtwnamiwaelnsxielktrxn 8 tw waelnsxielktrxn 4 tw epnkhxngxatxmsarkungtwnainxatxmnn swnwaelnsxielktrxnxik 4 tw ichrwmkbxatxmxun dngnnxielktrxnkhxngsarkungtwnacungyudaennkbxatxmmak sarkungtwnacungepntwnaiffathiimdi xyangirktamemuxxunhphumisungkhun xielktrxnidrbphlngngankhwamrxnhludcakxatxmidbang thaihphbxielktrxninaethbphlngnganna sarkungtwnacungnaiffaid karnaiffakhxngsarkungtwnacakhunkbxunhphumi thaxunhphumisungxielktrxninaethbnamakcanaiffaiddi thaxunhphumitacaepntwnaiffathiimdiemuxxielktrxnhludcakxatxm thaihphnthaokhwaelnsekidchxngwangkhun xielktrxncakthixunsamarthekhluxnthiekhamaaethnthiidmilksnakhlaykbhlumthixielktrxnxaccatklngip cungeriykchxngwangniwa ohl Hole thahakwaxielktrxnkhxngxatxmkhangekhiyngmiphlngnganekhluxnthiekhamaaethnthiohl xielktrxnkhangekhiyngkcaekidohlkhun khlaykbwaohlekhluxncakxatxmedimipyngxatxmkhangekhiyng thayngmixielktrxncakxatxmxunekhluxnekhamaaethnthiohltxenuxngknhlay xatxm ohlcaekhluxnthiiptamxatxmehlann enuxngcakxatxmthiekidohlmisphaphepnbwkephraakhadxielktrxn ohlcungepntwphapracubwkinsarkungtwna sunginsarkungtwnanicamitwphapracu 2 chnid khuxxielktrxnphapraculb aelaohlphapracubwk karnaiffainsarkungtwna aekikh insarkungtwnamiphahakhxngpracuxyu 2 chnid khux xielktrxnaelaohl khwamhnaaennkraaescakhunkbprimanphahathng 2 chnid dngnnJ n m n p m p e E s E displaystyle J n mu n p mu p eE sigma E emux n canwnxielktrxnp canwnohlm i displaystyle mu i khwamkhlxngtwkhxngxielktrxnm p displaystyle mu p khwamkhlxngtwkhxngohldngnns n m n p m p e displaystyle sigma n mu n p mu p e insarkungtwnabrisuththi pure semi conductor intrinsic semiconductor canwnohlethakbcanwnxielktrxn ephraawa ohlekidcakkaraetktwkhxngxielktrxncakxatxmn p n i displaystyle n p n i emux n i displaystyle n i primanphaha ohl hrux xielktrxn insarkungtwnabrisuththi khwamhnaaennkhxngphahainsarkungtwnabrisuththi aekikh caksthitiefxrmi diaerkhf E 1 1 e E E f k T displaystyle f E frac 1 1 e frac E E f kT aelacanwnxielktrxntxhnunghnwyprimatrd N m h 3 2 m E 8 p d E displaystyle dN frac m h 3 sqrt 2mE 8 pi dE canwnxielktrxnthnghmd 0 E f d N n n 0 E m h 3 2 m E 8 p d E 1 e E E f k T displaystyle int limits 0 E f dN n longrightarrow n int limits 0 E frac frac m h 3 sqrt 2mE 8 pi dE 1 e frac E E f kT emux E phlngnganthichxbbnkhxngaethbnaenuxngcak E E f k T displaystyle E E f kT makkwa 1 mak dngnn eraxacpramanwa1 1 e E E f k T e E E f k T displaystyle frac 1 1 e frac E E f kT thickapprox e frac E E f kT dngnnn 0 m h 3 2 m E 8 p e E E f k T d E displaystyle n int limits 0 infty frac m h 3 sqrt 2mE 8 pi e frac E E f kT dE canwnohl haidcakp 0 E v m h 3 2 m E 8 p e E E f k T d E displaystyle p int limits 0 E v frac m h 3 sqrt 2mE 8 pi e frac E E f kT dE hlngcakxinthiekrtcaidn 1 2 2 p m n k T h 2 3 2 e E f E v k T N c e E f E v k T displaystyle n 1 2 biggl frac 2 pi m n kT h 2 biggr frac 3 2 e tfrac E f E v kT N c e tfrac E f E v kT p 1 n 1 2 2 p m p k T h 2 3 2 e E f E v k T N v e E f E v k T displaystyle p 1 n 1 2 biggl frac 2 pi m p kT h 2 biggr frac 3 2 e tfrac E f E v kT N v e tfrac E f E v kT emux N c N v displaystyle N c N v khwamhnaaennkhxngsetthinaethbnaaelaaethbwaelnssarkungtwnaimbrisuththi 1 aekikhprimanxielktrxnaelaohlthiekidcakphlngngankhwamrxnaelaaesngswang yngkhngmicanwnnxyekinip thaihsarkungtwnabrisuththinaiffaidimdiethathikhwr inthangptibticaetimxatxmxunthimiwaelnsxielktrxn 3 hrux 5 lnginsarkungtwnabrisuththi ephuxthaihprimanxielktrxnhruxohlephimkhun xatxmthietimlngipmichuxwa xatxmsarecux impurity atom karetimsarecux eriykwakarodp Doping sarkungtwnathimixatxmsarecux ecuxpnxyu eriykwa sarkungtwnaimbrisuththi extrinsic semiconductor hruxsarkungtwnasarecux doping semiconductor sarkungtwnaimbrisuththimi 2 chnidkhux sarkungtwnaimbrisuththichnidexn N type semiconductor aelasarkungtwnaimbrisuththichnidphi P type semiconductor sarkungtwnachnidexn aekikh sarkungtwnaimbrisuththichnidexnepnsarkungtwnathimixielktrxncanwnmak ekidcakkaretimxatxmthimiwaelnsxielktrxn 5 tw echn aexntiomni fxsfxrs hrux xaesnikxatxmsarecuxsamarthihxielktrxnidcungmichuxeriykwa xatxmphuih donor atom xatxmsarecuxpramanhnungtxlanepnchnidexnephraawamixielktrxnsungepnphahakhxngpraculbxyumak xyangirktaminaethbwaelnskmiohlxyubang sarkungtwnachnidexnmixielktrxninaethbnaepnphahaswnihy majority carrier miohlepnphahaswnnxy sarkungtwnachnidphi aekikh sarkungtwnaimbrisuththichnidphi epnsarkungtwnathimiohlxyumak ekidcakkaretimxatxmthimiwaelnsxielk 3 tw echn obrxn ecxemeniym hruxxinediymepnsarkungtwnathiekidcakkarcbtwkhxngxatxmsilikxnkbxatxmkhxngxalumieniym thaihekidthiwangsungeriykwa ohl Hole khuninaekhnrwmkhxngxielktrxn xielktrxnkhangohlcaekhluxnthiipxyuinohlthaihdukhlaykbohlekhluxnthiidcungthaihkraaesihlid bthkhwamekiywkbwsdusastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul 1 0 1 1 niphnth tngpraesrith 2542 fisikswadwykhxngaekhng2 phimphkhrngthi 1 krungethph mhawithyalyramkhaaehng ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sarkungtwna amp oldid 9587112, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม