fbpx
วิกิพีเดีย

ระบบการเขียนภาษาบาลี

ระบบกาเขียนภาษาบาลีมีความหลากหลายเนื่องจากภาษาบาลีเป็นภาษาที่ไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง แต่เขียนด้วยอักษรหลายชนิดตามแต่ประเทศของผู้ที่นับถือพุทธศาสนา เช่น ในศรีลังกาเขียนด้วยอักษรสิงหล ในพม่าใช้อักษรพม่า ในไทยและกัมพูชาใช้อักษรขอมหรืออักษรเขมรและเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2436 ซึ่งรายละเอียดการเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรชนิดต่างๆมีดังนี้

การเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทย

การใช้อักษรไทยเขียนภาษาบาลีในปัจจุบันจะพบเห็นได้สองแบบ

  1. การเขียนแบบดั้งเดิม พบเห็นได้ในพระไตรปิฎกหรือในที่ที่ต้องการเขียนอย่างเป็นทางการ วิธีการอ่านเหมือนอ่านภาษาไทยปกติแต่มีหลักเพิ่มเติมดังนี้
    • พยัญชนะที่ไม่มีสระ อ่านเสมือนมีสระอะ ประสมอยู่ เช่น เทว อ่านว่า เท-วะ
    • พยัญชนะที่มี พินทุ ข้างใต้ ถือเป็นตัวสะกด หรือเสียงกล้ำ เช่น พฺรหฺม อ่านว่า พระ-ห์มะ (อักษรโรมัน คือ bra-hma), วณฺณ อ่าน วัณ-ณะ, เทฺว อ่าน ทะเว (ออกเสียง ท ไม่เต็มเสียง ให้ควบ ท+ว)
    • พยัญชนะที่มีนิคหิตอยู่ข้างบน ออกเสียงนาสิก หรือเหมือนสะกดด้วย "ง" เช่น อรหํ อ่านว่า อะ-ระ-หัง, กิ (สระอิ + นิคหิต ไม่ใช่สระอึ) อ่านว่า กิง
    • สระเอ ที่สะกดด้วย ย ให้ออกเสียงคล้ายสระไอ ไม่ใช่สระเอย เช่น อาหุเนยฺโย อ่าน อา-หุ-ไน-โย (ไม่ใช่ เนย-โย เพราะภาษาบาลีไม่มีสระเออ, a-hu-ney-yo)
  2. การเขียนแบบง่าย พบเห็นได้ตามหนังสือบทสวดมนต์ทั่วไปที่ต้องการให้ชาวบ้านอ่านได้ง่าย วิธีการอ่านจึงเหมือนอ่านภาษาไทยปกติ
    • มีการเขียนสระอะให้เห็นชัดเจน เช่น เทวะ และไม่มีการใช้พินทุหรือนิคหิต เนื่องจากเขียนตัวสะกดให้เห็นชัดอยู่แล้วเช่น วัณณะ, อะระหัง
    • ตัวควบกล้ำจะใช้ยามักการบอกการควบกล้ำ เช่น พ๎รห๎ม, เท๎ว
    • สระเอ ที่สะกดด้วย ย ก็ยังคงให้ออกเสียงในทำนองเดียวกับที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น เพียงแต่จะเขียนต่างกันเล็กน้อย เช่น อาหุเนยโย

การเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรโรมัน

สมาคมบาลีปกรณ์ในยุโรปได้พัฒนาการใช้อักษรละตินเพื่อเขียนภาษาบาลี โดยอักษรที่ใช้เขียนได้แก่ a ā i ī u ū e o ṁ k kh g gh ṅ c ch j jh ñ ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l ḷ v s h

การเขียนภาษาบาลีด้วยสัทอักษรสากล

การใช้อักษรโรมันเพื่อจัดพิมพ์เสียงบาลีในพระไตรปิฎกบาลีทำให้เกิดความสะดวกและประสิทธิภาพในการพิมพ์พระไตรปิฎกในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นความพยายามในยุคแรก ๆ ของการศึกษาเสียงบาลีที่พิมพ์ด้วยอักษรโรมัน มิใช่เป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรมการออกเสียงของชาติต่าง ๆ ในทวีปยุโรปที่ใช้อักษรโรมันในภาษาของตน เช่น การเขียนบาลีเป็นอักษรโรมันว่า me เป็นเสียงสระบาลีว่า <เม> [meː] มิใช่ออกเสียงว่า <มี> [miː] ในภาษาอังกฤษ เป็นต้น ดังนั้นเพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้นในการออกเสียงบาลีที่เขียนด้วยอักษรโรมันในพระไตรปิฎก จึงมีความจำเป็นต้องใช้อักษรที่เป็นสากลและมีระบบการออกเสียงกลางที่นานาชาติยอมรับ ได้แก่ สัทอักษรสากล มากำกับการพิมพ์เสียงบาลีในพระไตรปิฎกบาลีอักษรโรมัน เพื่อให้ประชาชนชาวโลกทั่วไปสามารถออกเสียงบาลีได้ตรงกับที่สืบทอดมาในพระไตรปิฎก

สัทอักษรสากลเป็นชุดตัวอักษรที่สมาคมสัทศาสตร์สากลกำหนดขึ้นเพื่อให้เป็นระบบสากลสำหรับใช้ในการบันทึกเสียงพูดในภาษาต่าง ๆ และเพื่อให้ทราบว่าเสียงแต่ละเสียงนั้นมีการออกเสียงอย่างไร ใช้อวัยวะส่วนไหนในการออกเสียง ซึ่งผู้ที่จะใช้สัทอักษรเป็นเครื่องแสดงการออกเสียงก็จะต้องศึกษาและทำความเข้าใจล่วงหน้าร่วมกันก่อนว่า สัทอักษรแต่ละรูปนั้นอธิบายถึงลักษณะการออกเสียงอย่างไร สัทอักษรสากลสำหรับพยัญชนะใช้อักษรโรมันเป็นหลัก และมีการใช้อักษรกรีกบ้าง ส่วนสัทอักษรสากลสำหรับสระใช้อักษรแทนสระมาตรฐานของ แดเนียล โจนส์ (Daniel Jones) เป็นเกณฑ์ นอกจากนั้นยังมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรอื่น ๆ และเครื่องหมายแสดงสัทลักษณ์อื่น ๆ เช่น ความยาว เสียงมีลม (ธนิต) เสียงลักษณะนาสิก เสียงเกิดที่ฟัน เสียงพยัญชนะควบกล้ำ เป็นต้น


ข้อสังเกตบางประการในการใช้สัทอักษรสากลบาลี

ในการแสดงระบบการออกเสียงพยัญชนะบาลีในพระไตรปิฎกอักษรโรมันฉบับนี้ผู้เขียนได้เลือกใช้สัทอักษรสากล (IPA) ถ่ายถอดเสียงพยัญชนะบาลีเทียบเสียงกับอักษรโรมันไว้เป็นครั้งแรกโดยปรับปรุงจากเดิม เพื่อช่วยในการออกเสียงคำให้ถูกต้องยิ่งขึ้น สิ่งที่จัดทำใหม่เพื่อการนี้มีดังนี้

การเลือกใช้สัทอักษรแทนเสียงพยัญชนะระเบิดฐานเพดานแข็ง 4 เสียง

จากการศึกษาข้อมูลเสียงและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้ทำการบันทึกเสียงบาลีในพระไตรปิฎก ได้ข้อสรุปการเลือกใช้สัทอักษรแทนเสียงพยัญชนะหยุด แตกต่างออกไปจากที่ได้มีการใช้อยู่ในที่อื่น ๆ ได้แก่ อักษรโรมัน สัททอักษรที่เลือกใช้ c [c] ch [cʰ] j [ɟ] jh [ɟʱ]

การเลือกใช้สัทอักษรสากล [c], [ɟ] มาเทียบเสียงกับหน่วยเสียงพยัญชนะ /c/, /j/ ใน ตารางพยัญชนะบาลีซึ่งเกิดที่เพดานแข็ง ด้วยเห็นว่าตรงตามเกณฑ์ของการใช้สัททอักษรสากลซึ่งเลือกใช้ตัวอักษรธรรมดาให้มากที่สุดในการถอดเสียงและตรงกับหลักเกณฑ์การออกเสียงตามฐานกรณ์ที่เกิดเสียง คือ ฐานเสียงเพดานแข็ง ดังที่กล่าวไว้ในคัมภีร์โบราณแสดงหลักภาษาหรือหลักไวยากรณ์บาลี ชื่อว่า คัมภีร์สัททาวิเสส สัททนีติสุตตมาลาด้วย

สัทอักษรสำหรับหน่วยเสียง /r/

การจัดหน่วยเสียง /r/ เป็นหน่วยเสียงพยัญชนะเปิดปลายลิ้นม้วน (Retroflex approximant) ซึ่งออกเสียงโดยม้วนลิ้นไปทางส่วนหลังของปุ่มเหงือก โดยใช้สัทอักษร [ɻ] เทียบเสียงไว้ ตรงกับหลักเกณฑ์การออกเสียงในคัมภีร์สัททาวิเสส สัทนีติสุตตมาลา ไม่ใช่เป็นเสียงพยัญชนะเปิดฐานปุ่มเหงือก (alveolar approximant) ตามที่บางแห่งได้จัดไว้

สัทอักษรสำหรับพยัญชนะโฆษะ-ธนิต กับพยัญชนะอโฆษะ-ธนิต

การใช้สัทอักษรสำหรับเสียงพยัญชนะโฆษะ-ธนิต (เสียงก้อง-มีลม) กับพยัญชนะอโฆสะ-ธนิต (เสียงไม่ก้อง-มีลม) มีประเด็นสำคัญคือการเลือกใช้สัญลักษณ์ [ ʰ ] และ [ ʱ ] แทนเสียงธนิต (มีลม) ซึ่งเป็นกลุ่มลมที่ตามหลังเสียงหยุดหรือเสียงระเบิด และแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

  • เสียงหยุดชนิดไม่ก้อง เมื่อออกเสียงนี้ กลุ่มลมที่ตามออกมาจะมีลักษณะไม่ก้องด้วย เช่น เสียง [kʰ], [t̪ʰ] เทียบได้กับเสียง /kh/, /th/ อักษรโรมัน ตามลำดับ
  • เสียงหยุดชนิดก้อง เมื่อออกเสียงนี้ กลุ่มลมที่ตามออกมาจะมีลักษณะก้องด้วย เช่น เสียง [gʱ], [bʱ] เทียบได้กับเสียง /gh/, /bh/ อักษรโรมัน ตามลำดับ

เพิ่มสัญลักษณ์ประกอบสัทอักษร

จากข้อมูลเสียงบาลีแสดงเสียงฐานฟันของพยัญชนะเสียงหยุดหรือเสียงระเบิดอย่างชัดเจน ดังนั้น ในชุดสัทอักษรสากลบาลีนี้จึงได้เพิ่มสัญลักษณ์ [ ̪ ] เช่นเสียง [t̪], [d̪] เทียบได้กับเสียง /t/, /d/ อักษรโรมัน ตามลำดับ หรือของพยัญชนะเสียดแทรก [s̪] เทียบได้กับเสียง /s/ อักษรโรมัน หรือของพยัญชนะเปิดข้างลิ้น [l̪] เทียบได้กับเสียง /l/ อักษรโรมัน

นอกจากนี้ ในการจัดสัททอักษรสากลเพื่อเทียบเสียงนิคคหิต (ํ) = /ṃ/ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แสดงสระลักษณะนาสิก ซึ่งเกิดกับสระเสียงสั้น ได้แก่ /aṃ/, /iṃ/, และ /uṃ/ จึงได้ริเริ่มใช้เครื่องหมายเสริมสัททอักษรสากล [~] แสดงว่าเป็นเสียงลักษณะสระนาสิก (nasal vowels) ดังในตัวอย่าง เช่น /aṃ/ [ã], /iṃ/ [ĩ], และ /uṃ/ [ũ]

ตารางแสดง หน่วยเสียงลักษณะสระนาสิก

อักษรสยาม
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
เอตํ
เอตํ
etaṃ
[et̪ã]
นิพ๎พุติ˚
นิพฺพุติ˚
nibbutiṃ
[n̪ibbut̪ĩ]
พาหุ˚
พาหุ˚
bāhuṃ
[baːɦũ]

ดูเพิ่ม

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • สิริ เพ็ชรไชย ป.ธ.9 และวิจินตน์ ภาณุพงศ์, "พระไตรปิฎกปาฬิจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม" ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล, กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ 2551.
  • Siri Petchai and Vichin Phanupong, "Chulachomklao of Siam Pāḷi Tipiṭaka, 1893", Digital Preservation Edition, Dhamma Society Fund 2009.
  • ร.ต.ฉลาด บุญลอย, ประวัติวรรณคดีบาลี, 2527
  • ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์, ประวัติภาษาบาลี : ความเป็นมาและที่สัมพันธ์กับภาษาปรากฤตและสันสกฤต, 2535.
  • ปราณี ฬาพานิช, ภาษาสันสกฤต: คุณค่าในการพัฒนาความเข้าใจภาษาบาลี,2536, หน้า 113-145.
  • Wilhem Geiger, Pali Literatur und Sprache,1892
  • Charles Duroiselle, A Practical Grammar of the Pāli Language 3rd Edition, 1997

ระบบการเข, ยนภาษาบาล, ระบบกาเข, ยนภาษาบาล, ความหลากหลายเน, องจากภาษาบาล, เป, นภาษาท, ไม, ระบบการเข, ยนเป, นของตนเอง, แต, เข, ยนด, วยอ, กษรหลายชน, ดตามแต, ประเทศของผ, บถ, อพ, ทธศาสนา, เช, ในศร, งกาเข, ยนด, วยอ, กษรส, งหล, ในพม, าใช, กษรพม, ในไทยและก, มพ, ชาใช, . rabbkaekhiynphasabalimikhwamhlakhlayenuxngcakphasabaliepnphasathiimmirabbkarekhiynepnkhxngtnexng aetekhiyndwyxksrhlaychnidtamaetpraethskhxngphuthinbthuxphuththsasna echn insrilngkaekhiyndwyxksrsinghl inphmaichxksrphma inithyaelakmphuchaichxksrkhxmhruxxksrekhmraelaepliynmaichxksrithyinpraethsithyemux ph s 2436 sungraylaexiydkarekhiynphasabalidwyxksrchnidtangmidngni enuxha 1 karekhiynphasabalidwyxksrithy 2 karekhiynphasabalidwyxksrormn 3 karekhiynphasabalidwysthxksrsakl 3 1 khxsngektbangprakarinkarichsthxksrsaklbali 3 1 1 kareluxkichsthxksraethnesiyngphyychnaraebidthanephdanaekhng 4 esiyng 3 1 2 sthxksrsahrbhnwyesiyng r 3 1 3 sthxksrsahrbphyychnaokhsa thnit kbphyychnaxokhsa thnit 3 2 ephimsylksnprakxbsthxksr 4 duephim 5 hnngsuxxanephimetimkarekhiynphasabalidwyxksrithy aekikhkarichxksrithyekhiynphasabaliinpccubncaphbehnidsxngaebb karekhiynaebbdngedim phbehnidinphraitrpidkhruxinthithitxngkarekhiynxyangepnthangkar withikarxanehmuxnxanphasaithypktiaetmihlkephimetimdngni phyychnathiimmisra xanesmuxnmisraxa prasmxyu echn ethw xanwa eth wa phyychnathimi phinthu khangit thuxepntwsakd hruxesiyngkla echn ph rh m xanwa phra hma xksrormn khux bra hma wn n xan wn na eth w xan thaew xxkesiyng th imetmesiyng ihkhwb th w phyychnathiminikhhitxyukhangbn xxkesiyngnasik hruxehmuxnsakddwy ng echn xrh xanwa xa ra hng ki sraxi nikhhit imichsraxu xanwa king sraex thisakddwy y ihxxkesiyngkhlaysraix imichsraexy echn xahueny oy xan xa hu in oy imich eny oy ephraaphasabaliimmisraexx a hu ney yo karekhiynaebbngay phbehnidtamhnngsuxbthswdmntthwipthitxngkarihchawbanxanidngay withikarxancungehmuxnxanphasaithypkti mikarekhiynsraxaihehnchdecn echn ethwa aelaimmikarichphinthuhruxnikhhit enuxngcakekhiyntwsakdihehnchdxyuaelwechn wnna xarahng twkhwbklacaichyamkkarbxkkarkhwbkla echn phrhm ethw sraex thisakddwy y kyngkhngihxxkesiynginthanxngediywkbthiidklawiwkhangtn ephiyngaetcaekhiyntangknelknxy echn xahuenyoykarekhiynphasabalidwyxksrormn aekikhsmakhmbalipkrninyuorpidphthnakarichxksrlatinephuxekhiynphasabali odyxksrthiichekhiynidaek a a i i u u e o ṁ k kh g gh ṅ c ch j jh n ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l ḷ v s hkarekhiynphasabalidwysthxksrsakl aekikhkarichxksrormnephuxcdphimphesiyngbaliinphraitrpidkbalithaihekidkhwamsadwkaelaprasiththiphaphinkarphimphphraitrpidkinthwipyuorp sungepnkhwamphyayaminyukhaerk khxngkarsuksaesiyngbalithiphimphdwyxksrormn miichepnkarthaythxdwthnthrrmkarxxkesiyngkhxngchatitang inthwipyuorpthiichxksrormninphasakhxngtn echn karekhiynbaliepnxksrormnwa me epnesiyngsrabaliwa lt em gt meː miichxxkesiyngwa lt mi gt miː inphasaxngkvs epntn dngnnephuxkhwamchdecnyingkhuninkarxxkesiyngbalithiekhiyndwyxksrormninphraitrpidk cungmikhwamcaepntxngichxksrthiepnsaklaelamirabbkarxxkesiyngklangthinanachatiyxmrb idaek sthxksrsakl makakbkarphimphesiyngbaliinphraitrpidkbalixksrormn ephuxihprachachnchawolkthwipsamarthxxkesiyngbaliidtrngkbthisubthxdmainphraitrpidksthxksrsaklepnchudtwxksrthismakhmsthsastrsaklkahndkhunephuxihepnrabbsaklsahrbichinkarbnthukesiyngphudinphasatang aelaephuxihthrabwaesiyngaetlaesiyngnnmikarxxkesiyngxyangir ichxwywaswnihninkarxxkesiyng sungphuthicaichsthxksrepnekhruxngaesdngkarxxkesiyngkcatxngsuksaaelathakhwamekhaiclwnghnarwmknkxnwa sthxksraetlarupnnxthibaythunglksnakarxxkesiyngxyangir sthxksrsaklsahrbphyychnaichxksrormnepnhlk aelamikarichxksrkrikbang swnsthxksrsaklsahrbsraichxksraethnsramatrthankhxng aedeniyl ocns Daniel Jones epneknth nxkcaknnyngmiekhruxnghmayesrimsthxksrxun aelaekhruxnghmayaesdngsthlksnxun echn khwamyaw esiyngmilm thnit esiynglksnanasik esiyngekidthifn esiyngphyychnakhwbkla epntn khxsngektbangprakarinkarichsthxksrsaklbali aekikh inkaraesdngrabbkarxxkesiyngphyychnabaliinphraitrpidkxksrormnchbbniphuekhiynideluxkichsthxksrsakl IPA thaythxdesiyngphyychnabaliethiybesiyngkbxksrormniwepnkhrngaerkodyprbprungcakedim ephuxchwyinkarxxkesiyngkhaihthuktxngyingkhun singthicdthaihmephuxkarnimidngni kareluxkichsthxksraethnesiyngphyychnaraebidthanephdanaekhng 4 esiyng aekikh cakkarsuksakhxmulesiyngaelasmphasnphuechiywchaythiidthakarbnthukesiyngbaliinphraitrpidk idkhxsrupkareluxkichsthxksraethnesiyngphyychnahyud aetktangxxkipcakthiidmikarichxyuinthixun idaek xksrormn sththxksrthieluxkich c c ch cʰ j ɟ jh ɟʱ kareluxkichsthxksrsakl c ɟ maethiybesiyngkbhnwyesiyngphyychna c j in tarangphyychnabalisungekidthiephdanaekhng dwyehnwatrngtameknthkhxngkarichsththxksrsaklsungeluxkichtwxksrthrrmdaihmakthisudinkarthxdesiyngaelatrngkbhlkeknthkarxxkesiyngtamthankrnthiekidesiyng khux thanesiyngephdanaekhng dngthiklawiwinkhmphirobranaesdnghlkphasahruxhlkiwyakrnbali chuxwa khmphirsththawiess sththnitisuttmaladwy sthxksrsahrbhnwyesiyng r aekikh karcdhnwyesiyng r epnhnwyesiyngphyychnaepidplaylinmwn Retroflex approximant sungxxkesiyngodymwnlinipthangswnhlngkhxngpumehnguxk odyichsthxksr ɻ ethiybesiyngiw trngkbhlkeknthkarxxkesiynginkhmphirsththawiess sthnitisuttmala imichepnesiyngphyychnaepidthanpumehnguxk alveolar approximant tamthibangaehngidcdiw sthxksrsahrbphyychnaokhsa thnit kbphyychnaxokhsa thnit aekikh karichsthxksrsahrbesiyngphyychnaokhsa thnit esiyngkxng milm kbphyychnaxokhsa thnit esiyngimkxng milm mipraednsakhykhuxkareluxkichsylksn ʰ aela ʱ aethnesiyngthnit milm sungepnklumlmthitamhlngesiynghyudhruxesiyngraebid aelaaebngepn 2 praephth khux esiynghyudchnidimkxng emuxxxkesiyngni klumlmthitamxxkmacamilksnaimkxngdwy echn esiyng kʰ t ʰ ethiybidkbesiyng kh th xksrormn tamladb esiynghyudchnidkxng emuxxxkesiyngni klumlmthitamxxkmacamilksnakxngdwy echn esiyng gʱ bʱ ethiybidkbesiyng gh bh xksrormn tamladbephimsylksnprakxbsthxksr aekikh cakkhxmulesiyngbaliaesdngesiyngthanfnkhxngphyychnaesiynghyudhruxesiyngraebidxyangchdecn dngnn inchudsthxksrsaklbalinicungidephimsylksn echnesiyng t d ethiybidkbesiyng t d xksrormn tamladb hruxkhxngphyychnaesiydaethrk s ethiybidkbesiyng s xksrormn hruxkhxngphyychnaepidkhanglin l ethiybidkbesiyng l xksrormnnxkcakni inkarcdsththxksrsaklephuxethiybesiyngnikhkhhit ṃ sungepnsylksnaesdngsralksnanasik sungekidkbsraesiyngsn idaek aṃ iṃ aela uṃ cungidrierimichekhruxnghmayesrimsththxksrsakl aesdngwaepnesiynglksnasranasik nasal vowels dngintwxyang echn aṃ a iṃ ĩ aela uṃ ũ tarangaesdng hnwyesiynglksnasranasik xksrsyam xksrithy xksrormn sthxksrsaklext ext etaṃ et a niphphuti niph phuti nibbutiṃ n ibbut ĩ phahu phahu bahuṃ baːɦũ duephim aekikhxksrthrrmlanna xksrthrrmlawhnngsuxxanephimetim aekikhsiri ephchrichy p th 9 aelawicintn phanuphngs phraitrpidkpaliculcxmeklabrmthmmikmharach r s 112 xksrsyam chbbxnurksdicithl kxngthunsnthnathmmnasukh 2551 Siri Petchai and Vichin Phanupong Chulachomklao of Siam Paḷi Tipiṭaka 1893 Digital Preservation Edition Dhamma Society Fund 2009 r t chlad buylxy prawtiwrrnkhdibali 2527 pthmphngs ophthiprasiththinnth prawtiphasabali khwamepnmaaelathismphnthkbphasaprakvtaelasnskvt 2535 prani laphanich phasasnskvt khunkhainkarphthnakhwamekhaicphasabali 2536 hna 113 145 Wilhem Geiger Pali Literatur und Sprache 1892 Charles Duroiselle A Practical Grammar of the Pali Language 3rd Edition 1997ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rabbkarekhiynphasabali amp oldid 9339369, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม