fbpx
วิกิพีเดีย

วงแหวนไฟ

วงแหวนไฟ (อังกฤษ: Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนว[[ร่องลึกก้นสมุทร] แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt

แผนที่วงแหวนไฟ
การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980

แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองงา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ ค.ศ. 1929 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 8.1 ในปี ค.ศ. 1949 (แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศแคนาดา) และแผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.4 ในปี 1970

ภูเขาไฟที่มีชื่อเสียงที่ตั้งอยู่ในวงแหวนไฟ เช่น ภูเขาไฟบียาร์รีกา ประเทศชิลี; ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเคยเกิดการระเบิดครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 ได้พ่นเถ้าถ่านออกมากว่า 1.2 ลูกบาศก์กิโลเมตร; ภูเขาไฟฟุจิ ประเทศญี่ปุ่น ระเบิดครั้งล่าสุดเมื่อ ค.ศ. 1707; ภูเขาไฟปินาตูโบ ภูเขาไฟมายอน ภูเขาไฟตาอัล และภูเขาไฟกันลาออน ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งภูเขาไฟปินาตูโบเคยเกิดระเบิดครั้งใหญ่ที่สุดเมื่อปี ค.ศ. 1991; ภูเขาไฟแทมโบรา ภูเขาไฟเคลูด และภูเขาไฟเมราปี ประเทศอินโดนีเซีย; ภูเขาไฟลูอาเปทู ประเทศนิวซีแลนด์ และภูเขาไฟเอริบัส ทวีปแอนตาร์กติกา

แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในแนววงแหวนไฟนี้ เช่น แผ่นดินไหวคาสคาเดีย แมกนิจูด 9.0 เกิดเมื่อ ค.ศ. 1700; แผ่นดินไหวโลมาพรีเอตาในแคลิฟอร์เนีย; แผ่นดินไหวภาคคันโตในประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี ค.ศ. 1923 ทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 130,000 ราย; แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในฮันชินในปี 1995 และครั้งใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกไว้ คือแผ่นดินไหวเมื่อ ค.ศ. 2004 บริเวณมหาสมุทรอินเดีย แมกนิจูด 9.3 ทำให้เกิดคลื่นสึนามิพัดถล่มบริเวณโดยรอบ โดยเฉพาะอินโดนีเซียที่ถูกถล่มด้วยคลื่นขนาด 10 เมตร ทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 230,000 ราย

ประเทศที่ตั้งหรือมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในแนววงแหวนไฟ ได้แก่ ประเทศเบลีซ โบลิเวีย บราซิล แคนาดา โคลอมเบีย ชิลี คอสตาริกา เอกวาดอร์ ติมอร์-เลสเต เอลซัลวาดอร์ ไมโครนีเซีย ฟิจิ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น คิริบาส เม็กซิโก นิวซีแลนด์ นิการากัว ปาเลา ปาปัวนิวกินี ปานามา เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน ตองงา ตูวาลู และสหรัฐอเมริกา

อ้างอิง

  1. http://geography.about.com/cs/earthquakes/a/ringoffire.htm
  2. U.S. Geological Survey Earthquakes FAQ.
  3. U.S. Geological Survey Earthquakes Visual Glossary.
  4. Moving slabs [This Dynamic Earth, USGS].
  5. Earthquakes in the Queen Charlotte Islands Region 1984-1996 Retrieved on 2007-10-03

วงแหวนไฟ, งกฤษ, ring, fire, เป, นบร, เวณในมหาสม, ทรแปซ, กท, เก, ดแผ, นด, นไหวและภ, เขาไฟระเบ, ดบ, อยคร, กษณะเป, นเส, นเก, อกม, ความยาวรวมประมาณ, โลเมตร, และวางต, วตามแนว, องล, กก, นสม, ทร, แนวภ, เขาไฟและบร, เวณขอบแผ, นเปล, อกโลก, โดยม, เขาไฟท, งอย, ภายในท, งหม. wngaehwnif xngkvs Ring of Fire epnbriewninmhasmuthraepsifikthiekidaephndinihwaelaphuekhaifraebidbxykhrng milksnaepnesnekuxkma khwamyawrwmpraman 40 000 kiolemtr aelawangtwtamaenw rxnglukknsmuthr aenwphuekhaifaelabriewnkhxbaephnepluxkolk odymiphuekhaifthitngxyuphayinwngaehwnifthnghmd 452 luk aelaepnphunthithimiphuekhaifkhukkrunxyukwarxyla 75 khxngphuekhaifkhukrunthngolk 1 sungbangkhrngcaeriykwa circum Pacific belt hrux circum Pacific seismic beltaephnthiwngaehwnif karpathukhxngphuekhaifesntehelns emuxwnthi 22 krkdakhm kh s 1980 aephndinihwpramanrxyla 90 khxngaephndinihwthiekidkhunthwolkaelakwarxyla 80 khxngaephndinihwkhnadihy ekidkhuninbriewnwngaehwnif nxkcakwngaehwnif yngmiaenwaephndinihwxik 2 aehng idaek aenwethuxkekhaxliphn sungmiaenwtxmacakekaachwasuekaasumatra phanethuxkekhahimaly aelathaelemdietxrereniyn aenwaephndinihwaehngnimiaephndinihwekidkhunrxyla 17 khxngthngolk aelaxikaehngkhux aenwklangmhasmuthraextaelntik sungmiaephndinihwekidkhunrxyla 5 6 khxngthngolk 2 3 wngaehwnifepnphlmacakkarekhluxnthiaelakarchnknkhxngaephnepluxkolk 4 aebngepnswnwngaehwnthangtawnxxk miphlmacakaephnnskaaelaaephnokoks thimudtwlngitaephnxemrikait swnkhxngaephnaepsifikthitidkbaephnhwnedfuka sungmudtwlngaephnxemrikaehnux swnthangtxnehnuxthitidkbthangtawntkechiyngehnuxkhxngaephnaepsifik mudtwlngitbriewnhmuekaaxaluechiyncnthungthangitkhxngpraethsyipun aelaswnitkhxngwngaehwnifepnswnthimikhwamsbsxnkhxngaephnepluxkolk miaephnepluxkolkkhnadelkmakmaythitidkbaephnaepsifik sungerimtngaethmuekaamaeriyna praethsfilippins ekaabueknwill praethstxngnga aelapraethsniwsiaelnd aenwwngaehwnifyngmiaenwtxipepnaenwaexliphn sungerimtncakekaachwa ekaasumatrakhxngxinodniesiy rxyeluxnthimichuxesiyngthitngbnwngaehwnifni idaek rxyeluxnaesnaexnedrxsinrthaekhlifxreniy shrthxemrika sungmikarekidaephndinihwkhnadelkxyuepnpraca rxyeluxnkhwincharlxtt thangchayfngtawntkkhxnghmuekaakhwincharlxtt rthbritichokhlmebiy praethsaekhnada sungthaihekidaephndinihwkhnadihy 3 khrng idaek aephndinihwaemknicud 7 0 emux kh s 1929 aephndinihwaemknicud 8 1 inpi kh s 1949 aephndinihwkhrngihythisudinpraethsaekhnada aelaaephndinihwaemknicud 7 4 inpi 1970 5 phuekhaifthimichuxesiyngthitngxyuinwngaehwnif echn phuekhaifbiyarrika praethschili phuekhaifesntehelns shrthxemrika sungekhyekidkarraebidkhrngihyemuxwnthi 18 phvsphakhm kh s 1980 idphnethathanxxkmakwa 1 2 lukbaskkiolemtr phuekhaiffuci praethsyipun raebidkhrnglasudemux kh s 1707 phuekhaifpinatuob phuekhaifmayxn phuekhaiftaxl aelaphuekhaifknlaxxn praethsfilippins sungphuekhaifpinatuobekhyekidraebidkhrngihythisudemuxpi kh s 1991 phuekhaifaethmobra phuekhaifekhlud aelaphuekhaifemrapi praethsxinodniesiy phuekhaifluxaepthu praethsniwsiaelnd aelaphuekhaifexribs thwipaexntarktikaaephndinihwkhrngihythiekidkhuninaenwwngaehwnifni echn aephndinihwkhaskhaediy aemknicud 9 0 ekidemux kh s 1700 aephndinihwolmaphriextainaekhlifxreniy aephndinihwphakhkhnotinpraethsyipunemuxpi kh s 1923 thaihmiphuesiychiwitkwa 130 000 ray aephndinihwkhrngihyinhnchininpi 1995 aelakhrngihythisudthiekhybnthukiw khuxaephndinihwemux kh s 2004 briewnmhasmuthrxinediy aemknicud 9 3 thaihekidkhlunsunamiphdthlmbriewnodyrxb odyechphaaxinodniesiythithukthlmdwykhlunkhnad 10 emtr thaihmiphuesiychiwitpraman 230 000 raypraethsthitnghruxmiphunthibangswnxyuinaenwwngaehwnif idaek praethseblis obliewiy brasil aekhnada okhlxmebiy chili khxstarika exkwadxr timxr elset exlslwadxr imokhrniesiy fici kwetmala hxndurs xinodniesiy yipun khiribas emksiok niwsiaelnd nikarakw paela papwniwkini panama epru filippins rsesiy samw hmuekaaosolmxn txngnga tuwalu aelashrthxemrikaxangxing aekikh http geography about com cs earthquakes a ringoffire htm U S Geological Survey Earthquakes FAQ U S Geological Survey Earthquakes Visual Glossary Moving slabs This Dynamic Earth USGS Earthquakes in the Queen Charlotte Islands Region 1984 1996 Retrieved on 2007 10 03ekhathungcak https th wikipedia org w index php title wngaehwnif amp oldid 9387130, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม