fbpx
วิกิพีเดีย

วัชรยาน

วัชรยาน (สันสกฤต: Vajrayāna) มันตรยาน (Mantrayāna) คุยหยาน (Esoteric Buddhism) หรือ ตันตรยาน (Tantric Buddhism) เป็นศาสนาพุทธแบบคุยหลัทธิ ที่สืบทอดขนบความเชื่อและการปฏิบัติแบบตันตระมาจากอินเดียสมัยกลาง

วัชรยาน หมายถึง ยานเพชร ซึ่งผู้ศรัทธาในสายนี้เชื่อว่าเป็นยานที่ประเสริฐกว่าหีนยานและมหายาน

ความเป็นมาของวัชรยาน

พุทธศาสนิกชนฝ่ายวัชรยานกล่าวว่า พระพุทธเจ้าได้ทรงหมุนกงล้อพระธรรมจักร 3 ครั้งด้วยกัน ซึ่งมีความหมายว่า ท่านได้เทศนาในหลักใหญ่ ๆ ไว้ 3 เรื่อง 3 วาระ ได้แก่

  1. ที่เมืองสารนาถ กรุงพาราณสี เทศนาเกี่ยวกับพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
  2. ที่กฤตธาราโกติ กรุงมคธ
  3. ที่ไวศาลี

การเทศนาครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 นั้นได้เทศนาเกี่ยวกับมหายาน ซึ่งได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในเรื่องของอุดมคติการหลุดพ้นของสรรพสัตว์ทั้งหมด เป็นอุดมคติของมหายาน อุดมคตินี้ เรียกว่า "โพธิจิต"(จิตที่ต้องการตรัสรู้ธรรมเพื่อประโยชน์ของสัตว์ทั้งหลาย)

บุคคลใดที่มีอุดมคติแบบโพธิจิตนี้และปฏิบัติอุดมคตินี้ บุคคลนั้นก็คือพระโพธิสัตว์ ในแต่ละครั้งแห่งการเกิด ต้องมีบุพการี 1 กลุ่ม ในการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏนี้แต่ละคนได้มีบุพการีมาแล้วเป็นจำนวนที่นับไม่ถ้วน ฉะนั้นการแสวงหาทางหลุดพ้นจึงควรเป็นไปพร้อมกัน หรือให้บุพการีไปก่อนแล้วเราค่อยหลุดพ้นตามไป นี่คือความเป็นพระโพธิสัตว์ พระอาจารย์ชาวทิเบตได้กล่าวไว้ในศตวรรษที่ 14 ว่า

ความทุกข์ทั้งหมดเกิดขึ้นจากการเห็นแก่ตัว ความสุขทั้งหมดเกิดขึ้นจากการหวังดีให้ผู้อื่นมีความสุข

ฉะนั้นการแลกความสุขของตนเปลี่ยน กับความทุกข์ของผู้อื่นเป็นหน้าที่ของพระโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ต้องประกอบไปด้วยบารมี 6 ประการ

ในบารมี 6 ที่พระโพธิสัตว์ปฏิบัตินั้นประกอบด้วยทาน ศีล ขันติ วิริยะ สมาธิ และปัญญา เมื่อปฏิบัติถึงที่สุดแล้ว พระโพธิสัตว์ก็บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าได้ สามารถบรรลุความเป็นตรีกายได้คือธรรมกาย สัมโภคกาย และนิรมาณกาย พระพุทธเจ้าได้สอน เรื่องของวัชรยานไว้ตั้งแต่สมัยพุทธกาล เช่น กาลจักรตันตระ หลังจากได้บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว 1 ปี แก่พระโพธิสัตว์ที่บำเพ็ญในภูมิที่สูง ฉะนั้นคำสอนตันตระจึงถือว่าเป็นคำสอนลับเฉพาะ ถ่ายทอดแก่ผู้ที่มีความพร้อมในการปฏิบัติธรรมชั้นสูง หากถ่ายทอดไปยังผู้ไม่เหมาะสม นอกจากจะไม่เกิดประโยชน์แล้วยังอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดได้

คำสอนมหายานเป็นที่เริ่มสนใจปฏิบัติในช่วงของท่านนาคารชุน ในปื ค.ศ. 1 ท่านนาคารชุนได้ปฏิบัติคำสอนตันตระได้อย่างเป็นเลิศ ท่านได้เขียนเรื่องการปฏิบัติตันตระเรื่อง "กูเยียซามูจาตันตระ"

ในศตวรรษที่ 16 ท่านตารานาถ พระอาจารย์ชาวทิเบตในนิกายโจนังปะ (Jonangpa) ได้บันทึกไว้ว่าท่านคุรุนาคารชุนได้เขียนคำสอนเกี่ยวกับตันตระไว้มากเพียงแต่ช่วงที่ท่านมีชีวิตอยู่ไม่เป็นที่นิยมและแพร่หลาย ทิเบตเริ่มรับคำสอนจากอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7-8 ในช่วงนั้นการปฏิบัติตันตระในอินเดียได้พัฒนาขึ้นถึงจุดสูงสุดไปจนถึงศตวรรษที่ 12 การปฏิบัติในวัชรยานมีเงื่อนไขสำคัญอยู่หนึ่งข้อคือก่อนที่จะศึกษาปฏิบัติตันตระ จะต้องได้รับการมนตราภิเษก (initiation/ empowerment) จากพระอาจารย์ผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมและได้รับอนุญาตจากครูบาอาจารย์ในสายของท่านให้เป็นผู้ประกอบพิธี ถ้าไม่มีมนตราภิเษก ถึงแม้จะปฏิบัติอย่างไรก็ตามจะไม่ได้รับผลเต็มที่ ฉะนั้นผู้สนใจต่อการปฏิบัติวัชรยานจึงต้องได้รับการมนตราภิเษกจากพระอาจารย์เสียก่อน

อย่างไรก็ตาม มนตราภิเษกที่สมบูรณ์ไม่ได้เกิดหลังผ่านพิธีกรรม แต่เกิดไปตลอดชีวิตของผู้ปฏิบัติเมื่อเขาฝึกฝนตนเองตามบทปฏิบัติจนจิตของเขาประสานเป็นหนึ่งเดียวกับจิตของพระพุทธเจ้าองค์ที่เขาปฏิบัติบูชา และการให้มนตราภิเษกชั้นสูงจะมอบให้เพียงศิษย์ที่คุรุไว้วางใจว่ามีจิตเยี่ยงพระโพธิสัตว์และจะสามารถรักษาและปฏิบัติตามคำสอนได้อย่างเคร่งครัด นอกจากมนตราภิเษก คำสอนในสายตันตระยังต้องได้รับการส่งมอบจากคุรุสู่ศิษย์ที่เรียกว่า การถ่ายทอดคำสอน (transmission) และได้รับการอธิบาย (instruction) อย่างชัดแจ้ง

คำสอนวัชรยานมีไว้สำหรับผู้ที่มีพื้นฐานปัญญาจากมหายานเป็นอย่างดีจึงสามารถเข้าใจคำสอนอันลึกซึ้งได้ เป็นที่รู้กันว่าในทิเบต ท่านมิลาเรปะได้บรรลุธรรมในช่วงชีวิตของท่านด้วยการปฏิบัติตันตระ การปฏิบัติวัชรยานสามารถ ทำให้เราบรรลุถึงจุดนั้นได้ด้วยเวลาอันสั้น คำสอนต่างๆในตันตระได้ถูกบันทึกไว้ด้วยวิธีการ ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ตรัสสั่งไว้ เราสามารถศึกษาตันตระได้จากคำสอนต่างๆที่พระอาจารย์ชาวอินเดียได้บันทึกไว้และได้แปลทั้งหมดสู่ภาษาทิเบต เนื่องจากคำสอนดั้งเดิมที่เป็นภาษาสันสกฤตได้สูญหาย และถูกทำลายไปนานแล้ว

พุทธศาสนาได้เข้าสู่ทิเบตในสมัยกษัตริย์ซงซัน กัมโปในราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 พุทธศาสนาเข้าสู่ทิเบตทั้งจากอินเดียและจีน ได้มีบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ทิเบตว่ามีการสังคายนาพระพุทธศาสนา ณ นครลาซา โดยผ่านการโต้วาทีธรรมระหว่างนิกายเซนของจีนและวัชรยานจากอินเดีย ผลปรากฏว่า ชาวทิเบตเลื่อมใสในวัชรยานมากกว่า ดังนั้นพุทธศาสนาวัชรยานจึงลงรากฐานมั่นคงในทิเบตสืบมา

ครั้นพระเจ้าตรีซงเตเซ็น ได้ทรงนิมนต์ท่านศานตรักษิต ภิกษุชาวอินเดียและพระคุรุปัทมสมภวะเข้ามาเพื่อเผยแผ่พระธรรม โดยเฉพาะพระคุรุปัทมสมภวะได้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวทิเบตอย่างมากจนท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ 2 ของชาวทิเบต ท่านได้ร่วมกับท่านศานตรักษิตสร้างวัดสัมเย่ขึ้นในปี ค.ศ. 787 และเริ่มมีการอุปสมบทพระภิกษุชาวทิเบตขึ้นเป็นครั้งแรก ในความอุปถัมภ์ของกษัตริย์ตรีซง เตเซ็น ทั้งนี้ยังได้จัดนักปราชญ์ชาวทิเบตเข้าร่วมในการแปลพระพุทธธรรมเป็นภาษาทิเบตด้วยอย่างมากมาย

การเผยแผ่ของพุทธวัชรยาน (พุทธทิเบต)

พุทธศาสนาในทิเบตมีประวัติความเป็นมา 2 ทาง ทางหนึ่งเผยแผ่จากอินเดียในศตวรรษที่ 7 ในสมัยกษัตริย์ซงซัน กัมโปดังกล่าวข้างต้น แบ่งออกเป็น 4 นิกายใหญ่ๆ ได้แก่ ญิงมาปะ (Nyingmapa), กาจูร์ปะ (Kagyupa), สาเกียปะ (Sakyapa) และเกลุกปะ (Gelugpa) โดยญิงมาปะเน้นการฝึกปฏิบัติตามคำสอนในคัมภีร์ที่ได้มีการแปลจากสันสกฤตระหว่างศตวรรษที่ 7-10 ส่วนนิกายที่เหลือรวมเรียกว่า ซาร์มา (Sarma) หมายถึงนิกายใหม่ เน้นการฝึกปฏิบัติตามคำสอนในคัมภีร์ที่ได้มีการแปลหลังศตวรรษที่ 11 โดยมีท่านอตีศะทีปังกร พระอาจารย์ชาวอินเดียเป็นผู้เน้นในเนื้อหาของพระสูตร

การเผยแผ่ในทิเบตอีกทางหนึ่ง มีต้นกำเนิดจากอาณาจักรชางชุง (Zhang zhung หรือ Shang shung) ซึ่งเชื่อว่าคือบริเวณภูเขาไกรลาศทางตะวันตกของทิเบตในปัจจุบัน อันมีอาณาเขตไปจนถึงเปอร์เซีย โดยที่พุทธศาสนาดั้งเดิมนี้ หรือที่ Professor Christopher Beckwith เรียกว่า พุทธโบราณของเอเซียกลาง (ancient Buddhism of Central Asia) มีชื่อเรียกว่า เพิน (Bon) หรือชื่อที่ถูกต้องคือ ยุงตรุงเพิน (Yungdrung Bon) หมายถึง ธรรมะที่ไม่มีวันเปลี่ยนแปลง คำว่า เพิน แปลว่า ธรรมะ หรือสภาวธรรม คำนี้จึงเป็นคำเดียวกับคำว่า เชอ (Chos) ซึ่งใช้เรียกธรรมะในพุทธศาสนาที่เผยแผ่มาจากอินเดีย หมายถึง คำสอนในนิกายต่างๆข้างต้น (คำว่า เพิน หรือนักแปลบางคนออกเสียงตามภาษาอังกฤษว่า บอน ยังเป็นชื่อเรียกลัทธิความเชื่อแต่ดั้งเดิมที่มีการนับถือธรรมชาติและเคยมีการบูชายัญ แต่ลัทธินี้ซึ่งชื่อเต็มคือ "เตอเม เพิน" ถูกทำลายไปจนหมดสิ้นตั้งแต่ในสมัยพุทธกาลของพระพุทธเจ้าเติมปา เชนรับ มิโวเช องค์พระศาสดาก่อนสมัยพุทธกาลของพระพุทธเจ้าศรีศายมุนี เมื่อกว่า 10,000 ปีมาแล้ว หลังจากนั้น ชาวชางชุงได้กลายเป็นชาวพุทธ เมื่อพระพุทธเจ้าเติมปา เชนรับเสด็จทิเบต ทรงนำคำสอนนี้ไปเผยแผ่ในทิเบต ทำให้คำสอนนี้รุ่งเรืองในทิเบต จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่มีการรับคำสอนมาจากอินเดีย ด้วยปัญหาทางการเมืองและศาสนา ในสมัยของกษัติรย์ตรีซง เตเซ็น (ศตวรรษที่ 8) อาณาจักรชางชุงถูกยึดครอง ผู้ปฏิบัติเพินจำนวนมากถูกสังหาร และกษัติรย์องค์สุดท้ายของชางชุงคือ กษัตริย์ลิกมินชาถูกปลงพระชนม์ หลังจากนั้น วิถีปฏิบัติพุทธเพินก็ได้ตกอยู่ในความขัดแย้งของการแบ่งแยกทางศาสนา)

นิกาย

พุทธวัชรยานแบ่งเป็นหลากหลายนิกาย แต่ละนิกายล้วนมีสังฆราช หรือผู้ปกครองสุงสุดของคณะสงฆ์ในแต่ละนิกายนั้น ๆ แต่ทุกนิกายล้วนแต่ยึดสมเด็จองค์ดาไลลามะ (ทะไลลามะ) เป็นประมุขทางจิตวิญญาณ

1. นิกายยุงตรุงเพิน หรือสาขาย่อยของวัชรยานที่มีต้นกำเนิดมาจากทิเบต (ไม่ได้เผยแผ่มาจากอินเดีย) เป็นพุทธโบราณที่สืบทอดมานับหมื่นปี แบ่งเป็น 9 ยาน และมี 3 มรรควิถีแห่งพระสูตร ตันตระ และซกเช็น พระสังฆราชของนิกายนี้คือสมเด็จแมนรี ทริซิน ริมโปเช (His Holiness Menri Trizin Rinpoche) ปัจจุบันทรงประทับอยู่ที่วัดแมนรี ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ที่สำคัญของนิกายนี้โดยมีการศึกษาในระดับปริญญาเกเช เทียบเท่าปริญญาเอก

2. นิกายพุทธจากอินเดีย 4 นิกาย ได้แก่

นิกายญิงมาปะ (Nyingmapa)

ดูบทความหลักที่: นิกายญิงมาปะ

ญิงมาปะเป็นนิกายแรกที่เผยแผ่มาจากอินเดีย โดยถือว่ากำเนิดจากท่านคุรุปัทมสมภวะ ได้มีพัฒนาการครั้งใหญ่ๆ 3 ครั้ง คือ การเริ่มต้น ซึ่งก็ถือว่าเป็นการเริ่ม ต้นพุทธศาสนาของทิเบตด้วย และเป็นนิกายเดียวที่มีอยู่ในช่วงนั้น คือศตวรรษที่ 8-11 คำว่า "ญิงมาปะ" ซึ่งแปลว่าโบราณสัญลักษณ์ของนิกายคือใส่หมวกสีแดงชาวทิเบตเลื่อมใสศรัทธา ท่านคุรุปัทมภพมากเชื่อว่าท่านเป็นผู้ทรงพลานุภาพอย่างมากในการให้ความช่วยเหลือขจัดอุปสรรคต่าง ๆ ได้จนหมดสิ้น ณยิงมาปะได้เน้นในด้านพุทธตันตระคำว่าตันตระนั้นแปลว่าเชือกหรือเส้นด้ายใหญ่ ๆ หรือความต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการถ่ายทอดคำสอนจากอาจารย์ไปสู่ศิษย์ โดยไม่มีการขาดตอนโดยผ่านพิธีมนตราภิเษก และเป็นการถ่ายทอดคำสอนปากเปล่าจากอาจารย์สู่ศิษย์

องค์คุรุปัทมสัมภวะได้ให้เหตุผลไว้ 3 ได้แก่

  1. เพื่อไม่ให้คำสอนผิดเพี้ยนไปเมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ
  2. เพื่อให้พลังแห่งคำสอนนั้นอยู่ครบถ้วนบริบูรณ์ และ
  3. เพื่อเป็นการให้พรแก่คนรุ่นหลังที่ได้สัมผัสกับคำสอนดั้งเดิม

คำสอนญิงมาปะเน้นในเรื่องความไม่เป็นแก่นสารของจักรวาลและเน้นถึงความเป็นไปได้ในการตรัสรู้ในเวลาอันสั้น แบ่งพุทธศาสนาออกเป็น 9 ยานคือ

  1. สาวกยาน ปัจเจกพุทธยาน และ โพธิสัตว์ยาน คือสามยานขั้นต้น
  2. กริยาตันตระ จริยะตันตระ และโยคะตันตระ เป็นสามยานในชั้นกลางหรือจัดเป็นตันตระล่าง (Lower Tantra) และ
  3. มหาโยคะตันตระ อนุโยคะตันตระและอติโยคะตันตระ สามยานสุดท้าย หรือจัดเป็นตันตระบน (Upper Tantra) หรือ อนุตรโยคะตันตระ

นิกายกาจูร์ปะ

นิกายกาจูร์ปะเป็นนิกายสำคัญนิกายหนึ่งในต้นศตวรรษที่ 11 "กาจูร์ปะ" แปลว่า การถ่ายทอดคำสอนด้วยการบอกกล่าวจากอาจารย์สู่ศิษย์ ผู้ก่อตั้งคือท่านมาร์ปะ ผู้สืบสายคำสอนมาจากนาโรปะ นักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งมหาวิหารนาลันทา ผู้รับสืบทอดคำสอนมาจากติโลปะ ผู้ถือว่ารู้แจ้งเองไม่ปรากฏว่าท่านได้รับคำสอนจากพระอาจารย์ท่านใด แต่ได้มีบันทึกบอกกล่าวไว้ว่าท่านได้รับคำสอนโดยตรงจากพระพุทธวัชรธร มาร์ปะเป็นลามะปราชญ์ผู้แปลพระธรรมที่มีชื่อเสียงมากท่านหนึ่งของทิเบต ท่านได้ถ่ายทอดคำสอนต่อให้มิลาเรปะ โยคีผู้บรรลุความรู้แจ้งในชีวิตนี้ นิกายกาจูร์ปะได้ชื่อว่านิกายขาวก็สืบเนื่องจากการครองผ้าของมิลาเรปะซึ่งท่านจะครองผ้าบาง ๆ สีขาวหรืออาจจะมาจากสัญลักษณ์ของวัดในกาจูร์ปะซึ่งจะทาสีขาวทั้งหมด มาร์ปะและมิลาเรปะถือว่ามีความสำคัญมากในพุทธตันตระของทิเบต ท่านได้ประพันธ์คำสอนไว้มากมาย มิลาเรปะมีศิษย์ทั้งหมด 21 ท่าน ท่านที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ กัมโปปะ คำสอนสำคัญของนิกายนี้ ตันตระโยคะทั้ง 6 และการปฏิบัติ มหามุทรา

นิกายสาเกียปะ

ดูบทความหลักที่: นิกายสาเกียปะ

นิกายนี้ได้มาจากชื่อของวัดสาเกีย คำว่า สาเกีย แปลว่าดินสีเทา อยู่ในแคว้นซัง ทางตอนใต้ของ แม่น้ำยาลุงซังโป

วัดสาเกียมีเอกลักษณ์คือทาสีเป็น 3 แถบ คือแถบสีแดง สีขาว และสีดำ สีทั้ง 3 เป็นสีแห่งพระโพธิสัตว์ 3 องค์ คือ

นิกายสาเกียปะได้ตั้งขึ้นในศตวรรษที่ 11 ผู้ก่อตั้งนิกายคือผู้สืบเชื้อสายขุนนางเก่าตระกูลเกิน โกนชก เกียลโป ท่านได้รับคำสอนกาลจักรตันตระจากบิดาซึ่งรับคำสอนมากจากวิรูปะ โยคีชาวอินเดีย ท่านเกิน โกนชก เกียลโปได้เดินทางไปเรียนตันตระจากอาจารย์อีกท่านคือโยมิโลซาวา เป็นบัญญัติของท่านเกิน โกนชก เกียลโป ว่าการสืบทอดในนิกายนี้จะสืบทอดเฉพาะคนในตระกูลเกินเท่านั้น ตำแหน่งของเจ้านิกายสาเกียปะเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจทั้งในทางการเมืองและการศาสนาความสำคัญในเชิงประวัติศาสตร์ได้บันทึกไว้ว่าผู้สืบสายนิกายสาเกียปะ ท่านที่4คือกุงกา เกียลเซ็น หรือ สาเกียบันฑิต และหลานของท่านที่ชื่อว่า พักปะ โลดุป เกียลเซนทั้ง 2 ท่านเป็นผู้มีชื่อเสียงในการเมืองของทิเบตมาก ท่านได้รับการเชิญจากโดยข่านชาวมงโกลให้ไปแผ่แผ่พุทธตันตระในประเทศจีน เป็นที่เลื่อมใสแก่ข่านมงโกลอย่างมาก กุบไลข่านได้แต่งตั้งให้พักปะ โลดุป เกียลเซนให้ปกครองทิเบต และนี่เป็นจุดเริ่มต้นของการที่พระสงฆ์นั้นปกครองทั้งอาณาจักรและศาสนจักร

นิกายกาดัมปะและเกลุกปะ

ดูบทความหลักที่: นิกายเกลุก

เช่นเดียวกับนิกายกาจูร์ปะและสาเกียปะ จุดเริ่มของทั้ง 2 นิกายมาจากอตีศะทีปังกร และศิษย์ของท่านชื่อ ตมเติมปะ ท่านอตีศะได้เน้นมากในเรื่องคำสอนดั้งเดิมของพุทธศาสนาและเน้นในการปฏิบัติพระธรรมวินัยที่เคร่งครัดโดยไม่เน้นในคำสอนตันตระ ศิษย์ของท่านอตีศะได้ก่อตั้งนิกายกาดัมปะขึ้น คำว่า กาดัม แปลว่าคำสอนของพระพุทธเจ้า เมื่อเวลาผ่านไปกาดัมปะได้สูญเอกลักษณ์ของตนเองไปบ้างด้วยแรงดึงดูดใจจากตันตระ ในศตวรรษที่14 พระอาจารย์ซงคาปาได้ศึกษาคำสอนของท่านอตีศะและได้ปฏิวัตินิกายกาดัมปะขึ้นมาใหม่ให้คงเอกลักษณ์เดิมและได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นนิกายเกลุกปะ คำว่าเกลุก แปลว่าความดีงาม คำสอนของเกลุกปะ เน้นที่การศึกษาจากต่ำขึ้นไปสูงเน้นธรรมวินัย เน้นด้านตรรกะและพุทธปรัชญา

วัชรยานในประเทศต่าง ๆ

ทิเบต

บทความหลัก: วัชรยาน

ในทิเบต คำสอนเกี่ยวพุทธตันตระได้พัฒนาไปเป็นวัชรยาน โดยมีการแบ่งเป็นนิกายย่อย ๆ อีกมาก

จีน: นิกายเจิ้นเหยียนหรือมี่จง

ผู้นำคำสอนนิกายพุทธตันตระเข้าสู่ประเทศจีนคือ ศุกรสิงหะซึ่งเข้าสู่จีนเมื่อ พ.ศ. 1259 ต่อมาได้มีคณาจารย์สำคัญเช่น วัชรโพธิ์ และอโมฆวัชระเข้ามาเผยแพร่คำสอนอีก นิกายนี้ได้รับการส่งเสริมมากเมื่อมองโกลเข้ามามีอำนาจในจีน จากนั้นได้เสื่อมไป

ญี่ปุ่น: นิกายชินงอน

ก่อตั้งโดยคูไค ซึ่งมีนามว่า โคโบ ไดจิหลังจากมรณภาพ โดยรับคำสอนผ่านทางนิกายเชนเหยนและฌานในจีน ได้รวมเอาความเชื่อในศาสนาชินโตเข้าไว้ด้วย

ไทย

พระพุทธศาสนาฝ่ายวัชรยานในเมืองไทย เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยของ พระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (โพธิ์แจ้งมหาเถระ) หรือลามะ ทริมซิน กุนดั๊ก รินโปเช ปฐมเจ้าอาวาสวัดโพธิ์แมนคุณาราม และอดีตเจ้าคณะใหญ่จีนนิกายรูปที่ 6 ท่านเจ้าคุณอาจารย์ได้จาริกไปประเทศจีน ได้ธุดงค์ไปถึงแคว้นคาม ทิเบตตะวันออก และได้เข้าศึกษามนตรยาน นิกายณยิงมาคากิว ณ สำนักสังฆราชาริโวเช แคว้นคาม ทิเบตตะวันออกกับพระสังฆราชา “วัชระนะนาฮู้ทู้เคียกทู้” (พระมหาวัชรจารย์ พุทธะ นอร่า รินโปเช) ซึ่งเป็นพระมหาเถระที่มีชื่อเสียงมากของทิเบต จีน และในแถบจีนตอนใต้ ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย

ท่านสังฆราชานะนา ได้เปิดเผยว่าท่านเจ้าคุณอาจารย์ถือกำเนิดจากปรมาจารย์ “คุรุนาคารชุน” (ตามความเชื่อและแนวทางปฏิบัติในทิเบต) ซึ่งมาเพื่อฟื้นฟู สถาปนาพุทธศาสนามหายานให้มั่นคงในภูมิภาคนี้ ดังนั้นท่านเจ้าคุณอาจารย์ได้รับ ความเมตตาจากพระอาจารย์เป็นพิเศษ เมื่อท่านเจ้าคุณอาจารย์ศึกษาแตกฉานในศาสนาพุทธ ฝ่ายวัชรยาน นิกายณยิงมาคากิวแล้ว พระสังฆราชาฯ ได้ประกอบมนตราภิเษก ตั้งให้ท่านเจ้าคุณอาจารย์โพธิ์แจ้งมหาเถระ หรือลามะ ทริมซิน กุนดั๊ก รินโปเช เป็น “พระวัชราจารย์” อันดับที่ 26 สืบต่อจากท่าน ในการครั้งนั้น ท่านสังฆราชานะนาได้มอบ อัฐบริขาร สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำตำแหน่งสังฆราชาให้ท่านเจ้าคุณอาจารย์อย่างครบถ้วน และหลังจากนั้นไม่นานท่านได้รับเกียติสูงสุดในตำแหน่งพระสังฆราชองค์ที่ 19 แห่งนิกายมันตรยาน ทิเบต

ทั้งนี้พระอาจารย์ได้มอบพระธรรมคัมภีร์ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุดของนิกายพร้อมทั้งกำชับให้ท่านเจ้าคุณอาจารย์นำกลับมาประดิษฐานในประเทศไทย ด้วยเหตุที่ว่าเมืองไทยพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองและมั่งคง ท่านสังฆราชาได้ทำนายว่า ทิเบตต้องแตก พระธรรมคัมภีร์อันมีค่ามหาศาลจะถูกทำลายหมด ในปัจจุบันเป็นที่ยืนยันแล้วว่า พระธรรมคัมภีร์ฉบับที่อยู่ กับท่านเจ้าคุณอาจารย์เป็นฉบับสมบูรณ์ที่สุด

จนถึงสมัยก่อนที่ท่านจะดับขันธ์ ท่านเกิดอาการล้มป่วยเข้าพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลธนบุรี ท่านเจ้าคุณเย็นเต็ก ซึ่งเป็นลูกศิษย์ท่านได้เดินทางไปยังเนปาล เพื่อสอบถามถึงอาการป่วยของพระอาจารย์จากลามะชั้นสูง และท่านได้เข้าพบกับพระสังฆราชต๊ากน่า จึงได้ถ่ายทอดรหัสนัยแห่งวัชรยานให้แก่ท่านเจ้าคุณเย็นเต็ก

เมื่อท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้งถึงแก่กาลดับขันธ์นั้น ท่านไม่ได้ถ่ายทอดรหัสนัย และตำแหน่งพระสังฆราชนิกายณยิงมาคากิวให้แก่ผู้ใดเลย คณะศิษย์ของท่านได้เดินทางตามหาพระลามะที่จะมาต่อสายวัชรยานจากท่านหลายๆประเทศ โดยอาศัยเพียงรูปถ่ายของท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้ง พระอาจารย์นอร่ารินโปเช และท่านวิดยาดรุ๊ปวังเท่านั้น สุดท้ายก็พบกับท่านพระมหาวัชรจารย์โซนัม ท๊อปเกียว รินโปเช จึงได้กระจ่างขึ้น เมื่อท่านได้เปิดเผยความลับเรื่องวัชรยาน

จนถึงปัจจุบันนี้ พุทธศาสนาฝ่ายวัชรยานในเมืองไทย ได้รับการสืบทอดมาจากพระอารามริโวเช ซึ่งเป็นต้นสายของวัชรยาน จากแคว้นคาม ทิเบตตะวันออก โดยมีพระมหาวัชรจารย์ โซนัม ท๊อปเกียว รินโปเชเป็นผู้สืบทอด และมีการฝึกปฏิบัติแนวทางนี้ที่ริโวเชธรรมสถาน และวัดโพธิ์แมนคุณาราม กรุงเทพมหานคร

ในส่วนของพระในคณะสงฆ์จีนนิกายนั้น วัชรยานที่ท่านเจ้าคุณได้ถ่ายทอดให้กับศิษย์นั้นเหลือไม่กี่ท่านที่ยังยึดถือและปฏิบัติตามวิถีทางแห่งวัชรยานอย่างเคร่งครัด อาทิเช่น ท่านเจ้าคุณเย็นอี่ วัดโพธิ์เย็น พระอาจารย์เย็นเมี่ยง วัดเทพพุทธาราม เป็นต้น

นอกนั้นยังมีการยึดถือปฏิบัติในส่วนของพิธีกรรม และการมนตราภิเษก และการเขียนอักขรมนต์ในพิธีเจริญพุทธมนต์

สายการปฏิบัติในประเทศไทย

ปัจจุบันมีการถ่ายทอดคำสอนเข้ามาในประเทศไทยจากหลายนิกาย และได้มีการตั้งกลุ่มปฏิบัติต่าง ๆ ขึ้นดังนี้

  • กลุ่ม รังจุง เยเช ประเทศไทย (Rangjung Yeshe Thailand,Chokling Tersar and Taklung Kagyu lineage) เน้นสายการปฏิบัติชกลิง เตรซาและตักลุง กาจูโดยมีพระอาจารย์สำคัญคือ สมเด็จพักชก ริมโปเช (Kyabgön Phakchok Rinpoche)
  • กลุ่ม ศูนย์กลางข้อมูลพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน (ริโวเชธรรมสถาน) สายริโวเช (Mahayana information center - Riwoche, Riwoche lineage)
  • กลุ่ม ชัมบาลา สายปฏิบัติชัมบาลา (Shambhala Bangkok, Shambhala lineage) เน้นคำสอนของพระอาจารย์ทรุงปะ ริมโปเช
  • มูลนิธิพันดารา เน้นคำสอนพุทธวัชรยานอย่างไม่แบ่งแยกนิกาย หรือที่เรียกว่า รีเม (Rimed) และมีคำสอนพิเศษที่เน้นการปฏิบัติบูชาพระโพธิสัตว์ตาราที่สืบทอดในนิกายสาเกียปะและคำสอนซกเช็นที่สืบทอดในนิกายยุงตรุงเพิน (Thousand Stars Foundation, several different lineages of Tibetan Buddhism as well as Yungdrung Bon, emphasizing on Tara and Dzogchen traditions) มีบ้านอบรมเสวนาในกรุงเทพมหานครและศูนย์ปฏิบัติธรรมและแหล่งเรียนรู้อุทิศแด่พระโพธิสัตว์ตารา ชื่อว่า ศูนย์ขทิรวัน (Khadiravana Center) หรือภาษาทิเบต กุนเทรอลิง (Kundrol Ling) ที่หมู่ 5 ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

บ้านติโลปะ (Tilopa House) สืบสายการปฏิบัติของท่านทรุงปะริมโปเช เช่นเดียวกับสายชัมบาลา แต่ผ่านคุรุทางจิตวิญญาณชาวอเมริกันชื่อ เรจินัลด์ เรย์ (Reginald Ray) มีบ้านปฏิบัติธรรมและที่อบรมเสวนาในกรุงเทพมหานคร

  • ศูนย์อนัมคาราเพื่อปัญญาเมตตาและสันติสุข (Anam Cara Center for Wisdom-Compassion-Peace) สืบทอดวิถีพุทธศาสนา วัชรยาน จากท่านลามะ เซริง วังดู รินโปเช และการถ่ายทอดผ่านทางจิตและสัญลักษณ์ โพธิสัตวมรรคา สมาธิพระวัชรสัตว์ การปฏิบัติโพวา ทองเลน อติโยคะ (ซกเช็น) และจัดฝึกอบรม มรรคาแห่งวัชระ เน้นการฝึกปฏิบัติซกเช็น

นอกจากนี้ ยังมีคำสอนในพุทธวัชรยานที่ได้รับการถ่ายทอดที่วัดโพธิ์แมนคุณาราม เช่น พิธีมนตราภิเษก และเสถียรธรรมสถาน เช่น คำสอนเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์ตารา

อ้างอิง

  • ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์. ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิเบต และญี่ปุ่น. กทม. สุขภาพใจ. 2545
  • ประยงค์ แสนบุราณ. พระพุทธศาสนามหายาน. กทม.โอเดียนสโตร์. 2548
  • อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสตร์. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กทม. มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2539
  1. บารมี 6 ดูที่ มหายาน
  2. [1]
  3. ศูนย์กลางข้อมูลพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน Mahayana information center - Riwoche
  4. ชัมบาลา กรุงเทพฯ Shambhala Bangkok group
  5. มูลนิธิพันดารา Thousand Stars Foundation
  6. ศูนย์อนัมคาราเพื่อปัญญาเมตตาและสันติสุข http://www.anamcarathai.com/p/blog-page_76.html

แหล่งข้อมูลอื่น

ศูนย์กลางข้อมูลพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน

เผยแผ่ข้อมูลกิจกรรมธรรมในพุทธศาสนาวัชรยาน

  • Mongkol.org - ชมรมมงคลศรี ข้อมูลกิจกรรมธรรมต่างๆ รวมถึงพุทธศาสนา วัชรยาน (Mongkol Sri Information on Dharma activities in and around Thailand including Vajrayana/Tibetan Buddhism)

ชรยาน, บทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดหม, ใส, งก, ภายใน, หร, อเก, บกวาดเน, อหา, ให, ณภาพด, ณสามารถปร, บปร, งแก, ไขบทความน, ได, และนำป, ายออก, จารณาใช, ายข, อความอ, นเพ, อช, ดข, อบกพร, อง, นสกฤต, vajrayāna, นตรยาน, mantrayāna, ยหยาน, esoteric, buddhism, หร, นตรย. bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngwchryan snskvt Vajrayana mntryan Mantrayana khuyhyan Esoteric Buddhism hrux tntryan Tantric Buddhism epnsasnaphuththaebbkhuyhlththi thisubthxdkhnbkhwamechuxaelakarptibtiaebbtntramacakxinediysmyklangwchryan hmaythung yanephchr sungphusrththainsayniechuxwaepnyanthipraesrithkwahinyanaelamhayan enuxha 1 khwamepnmakhxngwchryan 2 karephyaephkhxngphuththwchryan phuthththiebt 3 nikay 3 1 nikayyingmapa Nyingmapa 3 2 nikaykacurpa 3 3 nikaysaekiypa 3 4 nikaykadmpaaelaeklukpa 4 wchryaninpraethstang 4 1 thiebt 4 2 cin nikayecinehyiynhruxmicng 4 3 yipun nikaychinngxn 4 4 ithy 5 saykarptibtiinpraethsithy 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxun 7 1 sunyklangkhxmulphuththsasnafaymhayan 7 2 ephyaephkhxmulkickrrmthrrminphuththsasnawchryankhwamepnmakhxngwchryan aekikhphuththsasnikchnfaywchryanklawwa phraphuththecaidthrnghmunknglxphrathrrmckr 3 khrngdwykn sungmikhwamhmaywa thanidethsnainhlkihy iw 3 eruxng 3 wara idaek thiemuxngsarnath krungpharansi ethsnaekiywkbphuththsasnafayethrwath thikvttharaokti krungmkhth thiiwsalikarethsnakhrngthi 2 aelakhrngthi 3 nnidethsnaekiywkbmhayan sungidmikarepliynaeplngxyangmakineruxngkhxngxudmkhtikarhludphnkhxngsrrphstwthnghmd epnxudmkhtikhxngmhayan xudmkhtini eriykwa ophthicit citthitxngkartrsruthrrmephuxpraoychnkhxngstwthnghlay bukhkhlidthimixudmkhtiaebbophthicitniaelaptibtixudmkhtini bukhkhlnnkkhuxphraophthistw inaetlakhrngaehngkarekid txngmibuphkari 1 klum inkarewiynwaytayekidinsngsarwtniaetlakhnidmibuphkarimaaelwepncanwnthinbimthwn channkaraeswnghathanghludphncungkhwrepnipphrxmkn hruxihbuphkariipkxnaelwerakhxyhludphntamip nikhuxkhwamepnphraophthistw phraxacarychawthiebtidklawiwinstwrrsthi 14 wa khwamthukkhthnghmdekidkhuncakkarehnaektw khwamsukhthnghmdekidkhuncakkarhwngdiihphuxunmikhwamsukh channkaraelkkhwamsukhkhxngtnepliyn kbkhwamthukkhkhxngphuxunepnhnathikhxngphraophthistw phraophthistwtxngprakxbipdwybarmi 6 prakar 1 inbarmi 6 thiphraophthistwptibtinnprakxbdwythan sil khnti wiriya smathi aelapyya emuxptibtithungthisudaelw phraophthistwkbrrlusmmasmophthiyanepnphraphuththecaid samarthbrrlukhwamepntrikayidkhuxthrrmkay smophkhkay aelanirmankay phraphuththecaidsxn eruxngkhxngwchryaniwtngaetsmyphuththkal echn kalckrtntra hlngcakidbrrlusmmasmophthiyanaelw 1 pi aekphraophthistwthibaephyinphumithisung channkhasxntntracungthuxwaepnkhasxnlbechphaa thaythxdaekphuthimikhwamphrxminkarptibtithrrmchnsung hakthaythxdipyngphuimehmaasm nxkcakcaimekidpraoychnaelwyngxackxihekidkhwamekhaicphididkhasxnmhayanepnthierimsnicptibtiinchwngkhxngthannakharchun inpu kh s 1 thannakharchunidptibtikhasxntntraidxyangepnelis thanidekhiyneruxngkarptibtitntraeruxng kueyiysamucatntra instwrrsthi 16 thantaranath phraxacarychawthiebtinnikayocnngpa Jonangpa idbnthukiwwathankhurunakharchunidekhiynkhasxnekiywkbtntraiwmakephiyngaetchwngthithanmichiwitxyuimepnthiniymaelaaephrhlay thiebterimrbkhasxncakxinediyinchwngstwrrsthi 7 8 inchwngnnkarptibtitntrainxinediyidphthnakhunthungcudsungsudipcnthungstwrrsthi 12 karptibtiinwchryanmienguxnikhsakhyxyuhnungkhxkhuxkxnthicasuksaptibtitntra catxngidrbkarmntraphiesk initiation empowerment cakphraxacaryphumikhunsmbtiehmaasmaelaidrbxnuyatcakkhrubaxacaryinsaykhxngthanihepnphuprakxbphithi thaimmimntraphiesk thungaemcaptibtixyangirktamcaimidrbphletmthi channphusnictxkarptibtiwchryancungtxngidrbkarmntraphieskcakphraxacaryesiykxnxyangirktam mntraphieskthismburnimidekidhlngphanphithikrrm aetekidiptlxdchiwitkhxngphuptibtiemuxekhafukfntnexngtambthptibticncitkhxngekhaprasanepnhnungediywkbcitkhxngphraphuththecaxngkhthiekhaptibtibucha aelakarihmntraphieskchnsungcamxbihephiyngsisythikhuruiwwangicwamiciteyiyngphraophthistwaelacasamarthrksaaelaptibtitamkhasxnidxyangekhrngkhrd nxkcakmntraphiesk khasxninsaytntrayngtxngidrbkarsngmxbcakkhurususisythieriykwa karthaythxdkhasxn transmission aelaidrbkarxthibay instruction xyangchdaecngkhasxnwchryanmiiwsahrbphuthimiphunthanpyyacakmhayanepnxyangdicungsamarthekhaickhasxnxnluksungid epnthiruknwainthiebt thanmilaerpaidbrrluthrrminchwngchiwitkhxngthandwykarptibtitntra karptibtiwchryansamarth thaiherabrrluthungcudnniddwyewlaxnsn khasxntangintntraidthukbnthukiwdwywithikar sungphraphuththecaidtrssngiw erasamarthsuksatntraidcakkhasxntangthiphraxacarychawxinediyidbnthukiwaelaidaeplthnghmdsuphasathiebt enuxngcakkhasxndngedimthiepnphasasnskvtidsuyhay aelathukthalayipnanaelwphuththsasnaidekhasuthiebtinsmykstriysngsn kmopinrawkhriststwrrsthi 7 phuththsasnaekhasuthiebtthngcakxinediyaelacin idmibnthukiwinprawtisastrthiebtwamikarsngkhaynaphraphuththsasna n nkhrlasa odyphankarotwathithrrmrahwangnikayesnkhxngcinaelawchryancakxinediy phlpraktwa chawthiebteluxmisinwchryanmakkwa dngnnphuththsasnawchryancunglngrakthanmnkhnginthiebtsubmakhrnphraecatrisngetesn idthrngnimntthansantrksit phiksuchawxinediyaelaphrakhurupthmsmphwaekhamaephuxephyaephphrathrrm odyechphaaphrakhurupthmsmphwaidepnthieluxmissrththakhxngchawthiebtxyangmakcnthanidrbkarykyxngwaepnphraphuththecaxngkhthi 2 khxngchawthiebt thanidrwmkbthansantrksitsrangwdsmeykhuninpi kh s 787 aelaerimmikarxupsmbthphraphiksuchawthiebtkhunepnkhrngaerk inkhwamxupthmphkhxngkstriytrisng etesn thngniyngidcdnkprachychawthiebtekharwminkaraeplphraphuthththrrmepnphasathiebtdwyxyangmakmaykarephyaephkhxngphuththwchryan phuthththiebt aekikhphuththsasnainthiebtmiprawtikhwamepnma 2 thang thanghnungephyaephcakxinediyinstwrrsthi 7 insmykstriysngsn kmopdngklawkhangtn aebngxxkepn 4 nikayihy idaek yingmapa Nyingmapa kacurpa Kagyupa saekiypa Sakyapa aelaeklukpa Gelugpa odyyingmapaennkarfukptibtitamkhasxninkhmphirthiidmikaraeplcaksnskvtrahwangstwrrsthi 7 10 swnnikaythiehluxrwmeriykwa sarma Sarma hmaythungnikayihm ennkarfukptibtitamkhasxninkhmphirthiidmikaraeplhlngstwrrsthi 11 odymithanxtisathipngkr phraxacarychawxinediyepnphuenninenuxhakhxngphrasutrkarephyaephinthiebtxikthanghnung mitnkaenidcakxanackrchangchung Zhang zhung hrux Shang shung sungechuxwakhuxbriewnphuekhaikrlasthangtawntkkhxngthiebtinpccubn xnmixanaekhtipcnthungepxresiy odythiphuththsasnadngedimni hruxthi Professor Christopher Beckwith eriykwa phuththobrankhxngexesiyklang ancient Buddhism of Central Asia michuxeriykwa ephin Bon hruxchuxthithuktxngkhux yungtrungephin Yungdrung Bon hmaythung thrrmathiimmiwnepliynaeplng khawa ephin aeplwa thrrma hruxsphawthrrm khanicungepnkhaediywkbkhawa echx Chos sungicheriykthrrmainphuththsasnathiephyaephmacakxinediy hmaythung khasxninnikaytangkhangtn khawa ephin hruxnkaeplbangkhnxxkesiyngtamphasaxngkvswa bxn yngepnchuxeriyklththikhwamechuxaetdngedimthimikarnbthuxthrrmchatiaelaekhymikarbuchayy aetlththinisungchuxetmkhux etxem ephin thukthalayipcnhmdsintngaetinsmyphuththkalkhxngphraphuththecaetimpa echnrb miowech xngkhphrasasdakxnsmyphuththkalkhxngphraphuththecasrisaymuni emuxkwa 10 000 pimaaelw hlngcaknn chawchangchungidklayepnchawphuthth emuxphraphuththecaetimpa echnrbesdcthiebt thrngnakhasxnniipephyaephinthiebt thaihkhasxnnirungeruxnginthiebt cnthungkhriststwrrsthi 7 thimikarrbkhasxnmacakxinediy dwypyhathangkaremuxngaelasasna insmykhxngkstirytrisng etesn stwrrsthi 8 xanackrchangchungthukyudkhrxng phuptibtiephincanwnmakthuksnghar aelakstiryxngkhsudthaykhxngchangchungkhux kstriylikminchathukplngphrachnm hlngcaknn withiptibtiphuththephinkidtkxyuinkhwamkhdaeyngkhxngkaraebngaeykthangsasna nikay aekikhphuththwchryanaebngepnhlakhlaynikay aetlanikaylwnmisngkhrach hruxphupkkhrxngsungsudkhxngkhnasngkhinaetlanikaynn aetthuknikaylwnaetyudsmedcxngkhdaillama thaillama epnpramukhthangcitwiyyan1 nikayyungtrungephin hruxsakhayxykhxngwchryanthimitnkaenidmacakthiebt imidephyaephmacakxinediy epnphuththobranthisubthxdmanbhmunpi aebngepn 9 yan aelami 3 mrrkhwithiaehngphrasutr tntra aelaskechn phrasngkhrachkhxngnikaynikhuxsmedcaemnri thrisin rimopech His Holiness Menri Trizin Rinpoche pccubnthrngprathbxyuthiwdaemnri praethsxinediy sungepnsunyklangkareriynruthisakhykhxngnikayniodymikarsuksainradbpriyyaekech ethiybethapriyyaexk2 nikayphuththcakxinediy 4 nikay idaek nikayyingmapa Nyingmapa aekikh dubthkhwamhlkthi nikayyingmapa yingmapaepnnikayaerkthiephyaephmacakxinediy odythuxwakaenidcakthankhurupthmsmphwa idmiphthnakarkhrngihy 3 khrng khux karerimtn sungkthuxwaepnkarerim tnphuththsasnakhxngthiebtdwy aelaepnnikayediywthimixyuinchwngnn khuxstwrrsthi 8 11 khawa yingmapa sungaeplwaobransylksnkhxngnikaykhuxishmwksiaedngchawthiebteluxmissrththa thankhurupthmphphmakechuxwathanepnphuthrngphlanuphaphxyangmakinkarihkhwamchwyehluxkhcdxupsrrkhtang idcnhmdsin nyingmapaidennindanphuththtntrakhawatntrannaeplwaechuxkhruxesndayihy hruxkhwamtxenuxng sungepnsylksnkhxngkarthaythxdkhasxncakxacaryipsusisy odyimmikarkhadtxnodyphanphithimntraphiesk aelaepnkarthaythxdkhasxnpakeplacakxacarysusisyxngkhkhurupthmsmphwaidihehtuphliw 3 idaek ephuximihkhasxnphidephiynipemuxewlaphanipnan ephuxihphlngaehngkhasxnnnxyukhrbthwnbriburn aela ephuxepnkarihphraekkhnrunhlngthiidsmphskbkhasxndngedimkhasxnyingmapaennineruxngkhwamimepnaeknsarkhxngckrwalaelaennthungkhwamepnipidinkartrsruinewlaxnsn aebngphuththsasnaxxkepn 9 yankhux sawkyan pceckphuththyan aela ophthistwyan khuxsamyankhntn kriyatntra criyatntra aelaoykhatntra epnsamyaninchnklanghruxcdepntntralang Lower Tantra aela mhaoykhatntra xnuoykhatntraaelaxtioykhatntra samyansudthay hruxcdepntntrabn Upper Tantra hrux xnutroykhatntranikaykacurpa aekikh nikaykacurpaepnnikaysakhynikayhnungintnstwrrsthi 11 kacurpa aeplwa karthaythxdkhasxndwykarbxkklawcakxacarysusisy phukxtngkhuxthanmarpa phusubsaykhasxnmacaknaorpa nkprachyphuyingihyaehngmhawiharnalntha phurbsubthxdkhasxnmacaktiolpa phuthuxwaruaecngexngimpraktwathanidrbkhasxncakphraxacarythanid aetidmibnthukbxkklawiwwathanidrbkhasxnodytrngcakphraphuththwchrthr marpaepnlamaprachyphuaeplphrathrrmthimichuxesiyngmakthanhnungkhxngthiebt thanidthaythxdkhasxntxihmilaerpa oykhiphubrrlukhwamruaecnginchiwitni nikaykacurpaidchuxwanikaykhawksubenuxngcakkarkhrxngphakhxngmilaerpasungthancakhrxngphabang sikhawhruxxaccamacaksylksnkhxngwdinkacurpasungcathasikhawthnghmd marpaaelamilaerpathuxwamikhwamsakhymakinphuththtntrakhxngthiebt thanidpraphnthkhasxniwmakmay milaerpamisisythnghmd 21 than thanthimichuxesiyngthisudkhux kmoppa khasxnsakhykhxngnikayni tntraoykhathng 6 aelakarptibti mhamuthra nikaysaekiypa aekikh dubthkhwamhlkthi nikaysaekiypa nikayniidmacakchuxkhxngwdsaekiy khawa saekiy aeplwadinsietha xyuinaekhwnsng thangtxnitkhxng aemnayalungsngopwdsaekiymiexklksnkhuxthasiepn 3 aethb khuxaethbsiaedng sikhaw aelasida sithng 3 epnsiaehngphraophthistw 3 xngkh khux siaedng epnsiaehngphramychusriophthistw phuthrngepnxngkhaethnpyyakhxngphraphuththeca sikhaw epnsiaehngphraxwolkietswrophthistw phuthrngepnxngkhaethnkrunakhxngphraphuththeca sida epnsiaehngphrawchrpaniophthistw phuthrngepnxngkhaethnphlngkhxngphraphuththecanikaysaekiypaidtngkhuninstwrrsthi 11 phukxtngnikaykhuxphusubechuxsaykhunnangekatrakulekin oknchk ekiylop thanidrbkhasxnkalckrtntracakbidasungrbkhasxnmakcakwirupa oykhichawxinediy thanekin oknchk ekiylopidedinthangiperiyntntracakxacaryxikthankhuxoymiolsawa epnbyytikhxngthanekin oknchk ekiylop wakarsubthxdinnikaynicasubthxdechphaakhnintrakulekinethann taaehnngkhxngecanikaysaekiypaepntaaehnngthimixanacthnginthangkaremuxngaelakarsasnakhwamsakhyinechingprawtisastridbnthukiwwaphusubsaynikaysaekiypa thanthi4khuxkungka ekiylesn hrux saekiybnthit aelahlankhxngthanthichuxwa phkpa oldup ekiylesnthng 2 thanepnphumichuxesiynginkaremuxngkhxngthiebtmak thanidrbkarechiycakodykhanchawmngoklihipaephaephphuththtntrainpraethscin epnthieluxmisaekkhanmngoklxyangmak kubilkhanidaetngtngihphkpa oldup ekiylesnihpkkhrxngthiebt aelaniepncuderimtnkhxngkarthiphrasngkhnnpkkhrxngthngxanackraelasasnckr nikaykadmpaaelaeklukpa aekikh dubthkhwamhlkthi nikayekluk echnediywkbnikaykacurpaaelasaekiypa cuderimkhxngthng 2 nikaymacakxtisathipngkr aelasisykhxngthanchux tmetimpa thanxtisaidennmakineruxngkhasxndngedimkhxngphuththsasnaaelaenninkarptibtiphrathrrmwinythiekhrngkhrdodyimenninkhasxntntra sisykhxngthanxtisaidkxtngnikaykadmpakhun khawa kadm aeplwakhasxnkhxngphraphuththeca emuxewlaphanipkadmpaidsuyexklksnkhxngtnexngipbangdwyaerngdungdudiccaktntra instwrrsthi14 phraxacarysngkhapaidsuksakhasxnkhxngthanxtisaaelaidptiwtinikaykadmpakhunmaihmihkhngexklksnedimaelaidepliynchuxihmepnnikayeklukpa khawaekluk aeplwakhwamdingam khasxnkhxngeklukpa ennthikarsuksacaktakhunipsungennthrrmwiny enndantrrkaaelaphuththprchyawchryaninpraethstang aekikhthiebt aekikh bthkhwamhlk wchryaninthiebt khasxnekiywphuththtntraidphthnaipepnwchryan odymikaraebngepnnikayyxy xikmak cin nikayecinehyiynhruxmicng aekikh phunakhasxnnikayphuththtntraekhasupraethscinkhux sukrsinghasungekhasucinemux ph s 1259 txmaidmikhnacarysakhyechn wchrophthi aelaxomkhwchraekhamaephyaephrkhasxnxik nikayniidrbkarsngesrimmakemuxmxngoklekhamamixanacincin caknnidesuxmip yipun nikaychinngxn aekikh kxtngodykhuikh sungminamwa okhob idcihlngcakmrnphaph odyrbkhasxnphanthangnikayechnehynaelachanincin idrwmexakhwamechuxinsasnachinotekhaiwdwy ithy aekikh phraphuththsasnafaywchryaninemuxngithy ekidkhunkhrngaerkinsmykhxng phramhakhnacarycinthrrmsmathiwtr ophthiaecngmhaethra hruxlama thrimsin kundk rinopech pthmecaxawaswdophthiaemnkhunaram aelaxditecakhnaihycinnikayrupthi 6 thanecakhunxacaryidcarikippraethscin idthudngkhipthungaekhwnkham thiebttawnxxk aelaidekhasuksamntryan nikaynyingmakhakiw n sanksngkhrachariowech aekhwnkham thiebttawnxxkkbphrasngkhracha wchrananahuthuekhiykthu phramhawchrcary phuththa nxra rinopech sungepnphramhaethrathimichuxesiyngmakkhxngthiebt cin aelainaethbcintxnit hxngkng ithwn singkhopr maelesiythansngkhrachanana idepidephywathanecakhunxacarythuxkaenidcakprmacary khurunakharchun tamkhwamechuxaelaaenwthangptibtiinthiebt sungmaephuxfunfu sthapnaphuththsasnamhayanihmnkhnginphumiphakhni dngnnthanecakhunxacaryidrb khwamemttacakphraxacaryepnphiess emuxthanecakhunxacarysuksaaetkchaninsasnaphuthth faywchryan nikaynyingmakhakiwaelw phrasngkhracha idprakxbmntraphiesk tngihthanecakhunxacaryophthiaecngmhaethra hruxlama thrimsin kundk rinopech epn phrawchracary xndbthi 26 subtxcakthan inkarkhrngnn thansngkhrachananaidmxb xthbrikhar singskdisiththipracataaehnngsngkhrachaihthanecakhunxacaryxyangkhrbthwn aelahlngcaknnimnanthanidrbekiytisungsudintaaehnngphrasngkhrachxngkhthi 19 aehngnikaymntryan thiebtthngniphraxacaryidmxbphrathrrmkhmphir thikhrbthwnsmburnthisudkhxngnikayphrxmthngkachbihthanecakhunxacarynaklbmapradisthaninpraethsithy dwyehtuthiwaemuxngithyphuththsasnaecriyrungeruxngaelamngkhng thansngkhrachaidthanaywa thiebttxngaetk phrathrrmkhmphirxnmikhamhasalcathukthalayhmd inpccubnepnthiyunynaelwwa phrathrrmkhmphirchbbthixyu kbthanecakhunxacaryepnchbbsmburnthisudcnthungsmykxnthithancadbkhnth thanekidxakarlmpwyekhaphkrksatwthiorngphyabalthnburi thanecakhuneynetk sungepnluksisythanidedinthangipyngenpal ephuxsxbthamthungxakarpwykhxngphraxacarycaklamachnsung aelathanidekhaphbkbphrasngkhrachtakna cungidthaythxdrhsnyaehngwchryanihaekthanecakhuneynetkemuxthanecakhunophthiaecngthungaekkaldbkhnthnn thanimidthaythxdrhsny aelataaehnngphrasngkhrachnikaynyingmakhakiwihaekphuidely khnasisykhxngthanidedinthangtamhaphralamathicamatxsaywchryancakthanhlaypraeths odyxasyephiyngrupthaykhxngthanecakhunophthiaecng phraxacarynxrarinopech aelathanwidyadrupwngethann sudthaykphbkbthanphramhawchrcaryosnm thxpekiyw rinopech cungidkracangkhun emuxthanidepidephykhwamlberuxngwchryancnthungpccubnni phuththsasnafaywchryaninemuxngithy idrbkarsubthxdmacakphraxaramriowech sungepntnsaykhxngwchryan cakaekhwnkham thiebttawnxxk odymiphramhawchrcary osnm thxpekiyw rinopechepnphusubthxd aelamikarfukptibtiaenwthangnithiriowechthrrmsthan aelawdophthiaemnkhunaram krungethphmhankhrinswnkhxngphrainkhnasngkhcinnikaynn wchryanthithanecakhunidthaythxdihkbsisynnehluximkithanthiyngyudthuxaelaptibtitamwithithangaehngwchryanxyangekhrngkhrd xathiechn thanecakhuneynxi wdophthieyn phraxacaryeynemiyng wdethphphuththaram epntnnxknnyngmikaryudthuxptibtiinswnkhxngphithikrrm aelakarmntraphiesk aelakarekhiynxkkhrmntinphithiecriyphuththmntsaykarptibtiinpraethsithy aekikhpccubnmikarthaythxdkhasxnekhamainpraethsithycakhlaynikay aelaidmikartngklumptibtitang khundngni klum rngcung eyech praethsithy Rangjung Yeshe Thailand Chokling Tersar and Taklung Kagyu lineage 2 ennsaykarptibtichkling etrsaaelatklung kacuodymiphraxacarysakhykhux smedcphkchk rimopech Kyabgon Phakchok Rinpoche klum sunyklangkhxmulphuththsasnafaymhayan riowechthrrmsthan sayriowech Mahayana information center Riwoche Riwoche lineage 3 klum chmbala sayptibtichmbala Shambhala Bangkok Shambhala lineage ennkhasxnkhxngphraxacarythrungpa rimopech 4 mulnithiphndara ennkhasxnphuththwchryanxyangimaebngaeyknikay hruxthieriykwa riem Rimed aelamikhasxnphiessthiennkarptibtibuchaphraophthistwtarathisubthxdinnikaysaekiypaaelakhasxnskechnthisubthxdinnikayyungtrungephin Thousand Stars Foundation several different lineages of Tibetan Buddhism as well as Yungdrung Bon emphasizing on Tara and Dzogchen traditions mibanxbrmeswnainkrungethphmhankhraelasunyptibtithrrmaelaaehlngeriynruxuthisaedphraophthistwtara chuxwa sunykhthirwn Khadiravana Center hruxphasathiebt kunethrxling Kundrol Ling thihmu 5 tablhnxngphlb xaephxhwhin cnghwdpracwbkhirikhnth 5 bantiolpa Tilopa House subsaykarptibtikhxngthanthrungparimopech echnediywkbsaychmbala aetphankhuruthangcitwiyyanchawxemriknchux ercinld ery Reginald Ray mibanptibtithrrmaelathixbrmeswnainkrungethphmhankhr sunyxnmkharaephuxpyyaemttaaelasntisukh Anam Cara Center for Wisdom Compassion Peace subthxdwithiphuththsasna wchryan cakthanlama esring wngdu rinopech aelakarthaythxdphanthangcitaelasylksn ophthistwmrrkha smathiphrawchrstw karptibtiophwa thxngeln xtioykha skechn aelacdfukxbrm mrrkhaaehngwchra ennkarfukptibtiskechn 6 nxkcakni yngmikhasxninphuththwchryanthiidrbkarthaythxdthiwdophthiaemnkhunaram echn phithimntraphiesk aelaesthiyrthrrmsthan echn khasxnekiywkbphraophthistwtaraxangxing aekikhthwiwthn punthrikwiwthn sasnaaelaprchyaincin thiebt aelayipun kthm sukhphaphic 2545 prayngkh aesnburan phraphuththsasnamhayan kthm oxediynsotr 2548 xphichy ophthiprasiththisastr phraphuththsasnamhayan phimphkhrngthi 4 kthm mhamkutrachwithyaly 2539 barmi 6 duthi mhayan 1 sunyklangkhxmulphuththsasnafaymhayan Mahayana information center Riwoche chmbala krungethph Shambhala Bangkok group mulnithiphndara Thousand Stars Foundation sunyxnmkharaephuxpyyaemttaaelasntisukh http www anamcarathai com p blog page 76 htmlaehlngkhxmulxun aekikhsunyklangkhxmulphuththsasnafaymhayan aekikh http www mahayana in th http www buddhayan com http www mahaparamita com http www thousand stars orgephyaephkhxmulkickrrmthrrminphuththsasnawchryan aekikh Mongkol org chmrmmngkhlsri khxmulkickrrmthrrmtang rwmthungphuththsasna wchryan Mongkol Sri Information on Dharma activities in and around Thailand including Vajrayana Tibetan Buddhism ekhathungcak https th wikipedia org w index php title wchryan amp oldid 9445134, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม