fbpx
วิกิพีเดีย

วิกฤตการณ์มาลายา

วิกฤตการณ์มาลายา (อังกฤษ: Malayan Emergency) เป็นสงครามกองโจรต่อสู้กันระหว่างฝ่ายเครือจักรภพแห่งชาติและ กองทัพปลดปล่อยชนชาติมาลายาซึ่งเป็นกองกำลังของ พรรคคอมมิวนิสต์มลายา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 ถึง 1960

วิกฤตการณ์มาลายา
เป็นส่วนหนึ่งของ การปลดแอกจากสหราชอาณาจักร และสงครามเย็น

เครื่องบินทิ้งระเบิด Avro Lincoln ของออสเตรเลียทั้งระเบิดใส่ฐานทัพฝ่ายคอมมิวนิสต์ในป่ามลายู ค.ศ. 1950 (พ.ศ.2493)
วันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1948 – 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1960
สถานที่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผลลัพธ์
  • สหราชอาณาจักรและเครือจักรภพได้รับชัยชนะ
  • จีนเป็งลี้ภัยจากมลายู
  • คู่ขัดแย้ง
    กองกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์:
     สหราชอาณาจักร

     ออสเตรเลีย
     นิวซีแลนด์

    สนับสนุนโดย:
     ไทย

    กองกำลังฝ่ายคอมมิวนิสต์:
    พรรคคอมมิวนิสต์มลายา
    • กองทัพปลดปล่อยชนชาติมาลายา

    สนับสนุนโดย:
     สหภาพโซเวียต
     จีน
    เวียดมินห์ (−1954)
    ( เวียดนามเหนือ(1954–))
     อินโดนีเซีย

    ผู้บัญชาการหรือผู้นำ
    เซอร์ เฮนรี เจอร์นี 
    จอมพล เซอร์ เจอราร์ด เทมเพเลอร์
    พลโท ฮาโรลด์ บริกกส์
    พลตรี รอย เออร์คิวฮาร์ท
    ตนกู อับดุล ระห์มัน
    พลโท เฮนรี เวลส์
    ซิดนีย์ ฮอลแลนด์
    จีนเป็ง
    อับดุลล่าห์ ซี.ดี
    เหลา ยูห์ 
    หยวง กั๋ว
    เหลา หลี
    กำลัง
    250,000 กองกำลังปกป้องมาลายา
    40,000 บุคลากรเครือจักรภพแห่งชาติ

    37,000 ตำรวจพิเศษ
    24,000 ตำรวจสหพันธรัฐ

    พรรคคอมมิวนิสต์ฯ:
    มากกว่า 150,000*
    • กองทัพปลดปล่อยฯ:
      ราว 8,000
    กำลังพลสูญเสีย
    เสียชีวิต: 1,346 กองกำลังและตำรวจมาลายา
    519 ทหารอังกฤษ
    บาดเจ็บ: 2,406 กองกำลัง/ตำรวจมาลายาและอังกฤษ

    พลเรือนเสียชีวิต: 2,478 ราย, 810 สูญหาย

    เสียชีวิต: 6,710
    บาดเจ็บ: 1,289
    เชลย: 1,287
    จำนน: 2,702
    *=ไม่แน่นอน

    แม้ว่าฝ่ายคอมมิวนิสต์ จะพ่ายแพ้ในปี ค.ศ. 1960 แต่ผู้นำฝ่ายคอมมิวนิสต์ "ชิน เผง" ยังคงก่อการจลาจลในปี ค.ศ. 1967 และเรื่อยไปจน ค.ศ. 1989 จนเป็นที่รู้จักกันในชื่อ "สงครามจลาจลคอมมิวนิสต์" แม้ว่ากองกำลังของอังกฤษและออสเตรเลียได้ถอนกำลังออกจากมาเลเซียไปก่อนหน้านี้แล้วก็ตาม แต่การก่อจลาจลก็ยังล้มเหลว

    ชนวนเหตุ

    จากการถอนกำลังของจักรวรรดิญี่ปุ่น ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เศรษฐกิจของมาลายาได้รับความเสียหายอย่างมาก เกิดปัญหาการว่างงานและค่าจ้างที่ต่ำ รวมไปถึงอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้น บ่อยครั้งที่แรงงานมากมายนัดหยุดงานและรวมตัวกันเพื่อประท้วงระหว่างปี ค.ศ. 1946 - 1948 ในห้วงเวลาอันยากลำบากนั้น อังกฤษซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมของมลายูมีความพยายามอย่างยิ่งที่จะฟื้นระบบเศรษฐกิจของแหลมมลายู ซึ่งรายได้จากการค้าดีบุกและอุตสาหกรรมยางนี้เองเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ กลุ่มผู้ประท้วงได้ออกมาเคลื่อนไหวอย่างรุนแรง ซึ่งรัฐบาลก็ได้มีมาตรการจับกุมและเนรเทศออกนอกดินแดน แต่ในทางกลับกันกลับกลายเป็นว่ากลุ่มผู้ประท้วงกลับแข็งข้อมากขึ้น ในวันที่ 16 มิถุนายน 1948 ชนวนเหตุได้ถูกจุดขึ้นเมื่อ 3 ผู้จัดการสวนชาวยุโรปได้ถูกฆ่าตายในเมืองซันกาย ซีปุด รัฐเปรัก

    จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อังกฤษได้จึงประกาศใช้มาตรการฉุกเฉิน จากนั้นในเดือนกรกฎาคมภายใต้มาตรการฯ พรรคคอมมิวนิสต์มาลายาและกลุ่มบุคคลคู่กรณีได้ถูกกล่าวหาว่าเป็นอาชญากร และตำรวจได้รับอำนาจในการจับกุมและกักขังบุลคลที่เป็นคอมมิวนิสต์และผู้ต้องสงใสว่าให้การช่วยเหลือแก่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้โดยไม่ต้องสอบสวน ในขณะนั้น พรรคคอมมิวนิสต์มาลายาซึ่งนำโดย จีนเป็ง ได้ถอยกลับไปยังชนบทและก่อตั้ง กองทัพปลดปล่อยชนชาติมาลายา ขึ้น หรืออีกชื่อหนึ่งคือ กองทัพประชาชนปลดปล่อยมาลายา ใช้การรบแบบกองโจร โดยมีเป้าหมายคือ กลุ่มอุตสาหกรรมและธุรกิจของเจ้าอาณานิคม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเหมืองแร่ดีบุกและยางพารา

    แหล่งข้อมูลอื่น

    • Australian War Memorial (Malayan Emergency 1950–1960)
    • Far East Strategic Reserve Navy Association (Australia) Inc. (Origins of the FESR – Navy)
    • Malayan Emergency (AUS/NZ Overview)
    • Britain's Small Wars (Malayan Emergency)

    กฤตการณ, มาลายา, งกฤษ, malayan, emergency, เป, นสงครามกองโจรต, อส, นระหว, างฝ, ายเคร, อจ, กรภพแห, งชาต, และ, กองท, พปลดปล, อยชนชาต, มาลายาซ, งเป, นกองกำล, งของ, พรรคคอมม, วน, สต, มลายา, งแต, 1948, 1960เป, นส, วนหน, งของ, การปลดแอกจากสหราชอาณาจ, กร, และสงครามเย. wikvtkarnmalaya xngkvs Malayan Emergency epnsngkhramkxngocrtxsuknrahwangfayekhruxckrphphaehngchatiaela kxngthphpldplxychnchatimalayasungepnkxngkalngkhxng phrrkhkhxmmiwnistmlaya tngaetpi kh s 1948 thung 1960wikvtkarnmalayaepnswnhnungkhxng karpldaexkcakshrachxanackr aelasngkhrameynekhruxngbinthingraebid Avro Lincoln khxngxxsetreliythngraebidisthanthphfaykhxmmiwnistinpamlayu kh s 1950 ph s 2493 wnthi 16 mithunayn kh s 1948 12 krkdakhm kh s 1960sthanthi exechiytawnxxkechiyngitphllphth shrachxanackraelaekhruxckrphphidrbchychnacinepngliphycakmlayukhukhdaeyngkxngkalngtxtankhxmmiwnist shrachxanackr malaya ordiesiyaelayasaaelnd fici xxsetreliy niwsiaelndsnbsnunody ithy kxngkalngfaykhxmmiwnist phrrkhkhxmmiwnistmlayakxngthphpldplxychnchatimalayasnbsnunody shphaphosewiyt cin ewiydminh 1954 ewiydnamehnux 1954 xinodniesiyphubychakarhruxphunaesxr ehnri ecxrni cxmphl esxr ecxrard ethmephelxr phloth haorld brikks phltri rxy exxrkhiwharth tnku xbdul rahmn phloth ehnri ewls sidniy hxlaelnd cinepng xbdullah si di ehla yuh hywng kw ehla hlikalng250 000 kxngkalngpkpxngmalaya 40 000 bukhlakrekhruxckrphphaehngchati 37 000 tarwcphiess 24 000 tarwcshphnthrth phrrkhkhxmmiwnist makkwa 150 000 kxngthphpldplxy raw 8 000kalngphlsuyesiyesiychiwit 1 346 kxngkalngaelatarwcmalaya 519 thharxngkvsbadecb 2 406 kxngkalng tarwcmalayaaelaxngkvs phleruxnesiychiwit 2 478 ray 810 suyhay esiychiwit 6 710badecb 1 289echly 1 287cann 2 702 imaennxnbthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha aemwafaykhxmmiwnist caphayaephinpi kh s 1960 aetphunafaykhxmmiwnist chin ephng yngkhngkxkarclaclinpi kh s 1967 aelaeruxyipcn kh s 1989 cnepnthiruckkninchux sngkhramclaclkhxmmiwnist aemwakxngkalngkhxngxngkvsaelaxxsetreliyidthxnkalngxxkcakmaelesiyipkxnhnaniaelwktam aetkarkxclaclkynglmehlwchnwnehtu aekikhcakkarthxnkalngkhxngckrwrrdiyipun phayhlngsngkhramolkkhrngthisxng esrsthkickhxngmalayaidrbkhwamesiyhayxyangmak ekidpyhakarwangnganaelakhacangthita rwmipthungxtraenginefxthisungkhun bxykhrngthiaerngnganmakmayndhyudnganaelarwmtwknephuxprathwngrahwangpi kh s 1946 1948 inhwngewlaxnyaklabaknn xngkvssungepnecaxananikhmkhxngmlayumikhwamphyayamxyangyingthicafunrabbesrsthkickhxngaehlmmlayu sungrayidcakkarkhadibukaelaxutsahkrrmyangniexngepnsingsakhyxyangyingtxkarfuntwthangesrsthkic klumphuprathwngidxxkmaekhluxnihwxyangrunaerng sungrthbalkidmimatrkarcbkumaelaenrethsxxknxkdinaedn aetinthangklbknklbklayepnwaklumphuprathwngklbaekhngkhxmakkhun inwnthi 16 mithunayn 1948 chnwnehtuidthukcudkhunemux 3 phucdkarswnchawyuorpidthukkhatayinemuxngsnkay sipud rtheprkcakehtukarnthiekidkhun xngkvsidcungprakasichmatrkarchukechin caknnineduxnkrkdakhmphayitmatrkar phrrkhkhxmmiwnistmalayaaelaklumbukhkhlkhukrniidthukklawhawaepnxachyakr aelatarwcidrbxanacinkarcbkumaelakkkhngbulkhlthiepnkhxmmiwnistaelaphutxngsngiswaihkarchwyehluxaekfaykhxmmiwnistidodyimtxngsxbswn inkhnann phrrkhkhxmmiwnistmalayasungnaody cinepng idthxyklbipyngchnbthaelakxtng kxngthphpldplxychnchatimalaya khun hruxxikchuxhnungkhux kxngthphprachachnpldplxymalaya ichkarrbaebbkxngocr odymiepahmaykhux klumxutsahkrrmaelathurkickhxngecaxananikhm sungswnihyepnxutsahkrrmehmuxngaerdibukaelayangpharaaehlngkhxmulxun aekikhAustralian War Memorial Malayan Emergency 1950 1960 Far East Strategic Reserve Navy Association Australia Inc Origins of the FESR Navy Malayan Emergency AUS NZ Overview Britain s Small Wars Malayan Emergency bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastr bthkhwamekiywkbsngkhrameynniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy sngkhrameynekhathungcak https th wikipedia org w index php title wikvtkarnmalaya amp oldid 9160428, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

    บทความ

    , อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม