fbpx
วิกิพีเดีย

ศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชา

กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ เป็นมากว่าพันปี โดยแต่เดิมเป็นดินแดนของกลุ่มชาติพันธ์มอญ-เขมร ที่มีหลักฐานว่าอพยพมาจากอินเดีย ในฐานะพ่อค้า หรือเพื่อการค้า ผ่านเข้ามาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรอินโดจีน และตั้งถิ่นฐาน ผสมผสานกับคนในท้องถิ่นเดิม และกับคนที่อพยพมาทีหลัง ทั้งในชาติพันธุ์ และทางวัฒนธรรมมีความเจริญเพิ่มขึ้นตามลำดับ ต่อมาได้มีชนอินเดียเข้ามาติดต่อค้าขาย และได้นำเอา วัฒนธรรมอินเดียมาเผยแผ่ด้วย ทำให้กัมพูชารับเอาวัฒนธรรมอินเดีย ซึ่งก็คือพระพุทธศาสนาด้วยเช่นกัน

ภาพแปลนสร้างวัดแห่งหนึ่งของกัมพูชา

จากหลักฐานที่ปรากฏ กัมพูชาเป็นดินแดนแรก ๆ ที่รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเมื่อเข้ามาเผยแผ่เข้ามาสู่สุวรรณภูมิ รวมทั้งได้รับอิทธิพลในด้านความเจริญทางด้านจิตใจมาจากประเทศอินเดีย ศาสนาแรกที่เป็นศาสนาสำคัญของชาวกัมพูชา คือ ศาสนาพราหมณ์ และศาสนาที่รองลงมา คือ พระพุทธศาสนา ศาสนาทั้งสองนี้ ได้กลายเป็นศาสนาหลัก และศาสนารองในสังคมกัมพูชา ดังปรากฏหลักฐานทางด้านจารึก โบราณคดี และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏผ่านปราสาทนครวัต ปราสาทนครธม และพลวัฒน์ทางพระพุทธศาสนาสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน โดยพัฒนาการของพระพุทธศาสนาที่ปรากฏสามารถจัดเป็นลำดับในแต่ละช่วงเวลาได้เป็นยุคต่าง ๆ ดังนั้นจึงควรใช้วิจารณญาณในการทำงานของเราจะได้รับการยอม เป็นอย่างดี

ยุคฟูนัน (Funan, Founan)หรืออาณาจักรพนมหรือยุคก่อนเขมร (พ.ศ. 600-1100

ภาพปราสาทนครวัต วาดโดยนักสำรวจชื่อเฮนรี มูโฮต์ Henri Mouhot, c. 1860
ภาพถ่ายใน ค.ศ.1870 โดย Émile Gsell สัญลักษณ์ของปราสาทในศาสนาพราหมณ์ฮินดูที่สะท้อนศาสนาพุทธและพราหมณ์ในยุคมหานคร
ภาพที่ปรากฏในโปสการ์ดของฝรั่งเศสเกี่ยวกับปราสาทนครวัติ ใน ค.ศ. 1911

สมัยเจนละ ( พ.ศ. 1100 – 1344)

สมัยมหานคร (พ.ศ. 1345 – 1975)

 
พระพักตร์ของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ที่ประตูด้านใต้ สัญลักษณ์ของความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนามหายานในกัมพูชาในยุคของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7

ยุคมหานคร เป็นยุคที่ นครวัต นครธม ที่ตั้งอยู่ใกล้ทะเลสาบ และอยู่ทางเหนือของเมืองเสียมราฐ เป็นเมืองหลวงของกัมพูชา เป็นยุคที่อารยธรรมของขอมเจริญรุ่งเรืองมาก มีศิลปะและสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น ทางด้านศาสนา ปรากฏ ว่าพุทธ-ศาสนาฝ่ายมหายานเจริญรุ่งเรืองพร้อมกับศาสนาพราหมณ์ ส่วนพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทคงเป็นที่นับถืออยู่ในหมู่ประชาชนทั่วไป ส่วนทางชั้นสูง หรือในราชสำนักนับถือพุทธศาสนาแบบมหายาน และถือลัทธิพราหมณ์ ในยุคนี้ได้มีธรรมเนียมถือศาสนาคนละอย่างระหว่างพระราชา กับ ปุโรหิต ถ้าพระราชาเป็นพุทธ ปุโรหิตเป็นพราหมณ์ หรือถ้าพระราชาถือพราหมณ์ ปุโรหิตถือพุทธ ถือเป็นประเพณีที่ยึดถือต่อกันมาหลายร้อยปี

ชัยวรมันที่ 7

ในสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เริ่มแต่ปี พ.ศ. 1724 ทรงมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดในประวัติศาสตร์เขมร ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาจนเจริญรุ่งเรืองที่สุด ทรงย้ายราชธานีไปที่ใดก็จะสร้างวัดวาอารามด้วย พระองค์ทรงเอาใจใส่ในกิจการพระพุทธศาสนามาก ทรงสร้างปราสาท และพระพุทธรูปจำนวนมากมาย ทรงสถาปนาปราสาทตาพรม เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ มีพระมหาเถระเป็นศาตราจารย์ใหญ่อยู่ถึง 18 องค์ และอาจารย์รองลงมาถึง 2,740 องค์ เป็นผู้สอน พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ยังทรงให้ราชกุมารไปศึกษาพุทธศาสนาที่ลังกา แล้วทรงผนวชที่วัดมหาวิหารในปลายยุคมหานคร ศาสนาพราหมณ์ และมหายานเสื่อมถอยลง คงเหลือแต่เถรวาทที่เจริญรุ่งเรือง และได้รับการนับถือจากคนทุกระดับ ตั้งแต่กษัตริย์ลงไป.

ยุคหลังพระนคร (พ.ศ. 1975-ปัจจุบัน)

ยุคหลังพระนครถือว่าเป็นยุคมืดของกัมพูชาด้วยเหตุผล ของความอ่อนแอทางการเมือง ภายในทำให้กัมพูชาตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของไทย รัฐทางทางลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา และเวียดนาม และทำให้กัมพูชาต้องอยู่ภายใต้สถานการณ์ทางการเมือง ในยุคหลังพระนครนี้ พุทธศาสนาแบบมหายานและศาสนาพราหมณ์ได้เสื่อมถอยลงไป คงเหลือแต่พุทธศาสนาเถรวาท และกษัตริย์ในยุคนี้จึงได้นับถือพระพุทธศาสนาเรื่อยมา กษัตริย์กัมพูชาได้ละทิ้งราชธานีมหานคร ไปสร้างราชธานีใหม่ที่เมือง สรีสันธอร์ ต่อมา พ.ศ. 1975 ได้ย้ายไปสร้างราชธานีใหม่ที่พนมเปญ จนถึงในปัจจุบัน ตั้งแต่การสร้างราชธานีใหม่ เป็นต้นมา เป็นเวลา 400 ปี ประเทศกัมพูชาตกอยู่ในภาวะวิกฤต ทางสังคมอย่างรุนแรง ประชาชนทุกข์ยากมาก บ้านเมืองยับเยิน พระศาสนาเสื่อมโทรมมาก เนื่องจากเกิดเรื่องภายใน มีการแย่งชิงราชสมบัติกัน ผู้คนล้มตายกันมากนครวัต นครธม ถูกปล่อยรกร้างอยู่ในป่า จนมี ชาวฝรั่งเศสไปพบเข้า ในปี พ.ศ. 2404 จึงได้ทำนุบำรุงรักษาอนุรักษ์ไว้ปี พ.ศ. 2384 พระเจ้าหริรักษ์รามาธิบดี ทรงเสวยราชย์ในกรุงอุดรเมียรชัย พระพุทธศาสนา กลับเจริญรุ่งเรืองอีก มีพระสงฆ์ชาวกัมพูชา เดินทางมาศึกษายัง กรุงเทพฯ กลับไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในเขมร พระมหาวิมลธรรม (ทอง) ได้จัดการศึกษาของสงฆ์ไทยตั้ง “ศาลาบาลีชั้นสูง” ในกรุงพนมเปญ ได้แก่พุทธิกวิทยาลัยในปัจจุบัน จากนั้นเขมรก็ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสเกือบ 100 ปี การศาสนาก็ไม่เจริญรุ่งเรือง ในปี พ.ศ. 2497 จึงได้เอกราชคืนมา และเรียกชื่อประเทศว่าอาณาจักรกัมพูชาพ.ศ. 2498

อุดงค์

ประเทศกัมพูชาในตอนต้นของยุคหลังพระนครได้สิ้นอำนาจลง เพราะได้เป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา​ ตั้งแต่ พ.ศ. 2137 ถึง พ.ศ. 2161 พอได้รับเอกราชจากกรุงศรีอยุธยา​ ก็เกิดปัญหาสงครามกับเวียดนามบ้าง กับไทยบ้าง สงครามภายในบ้าง เป็นเมืองขึ้นของไทย และ เวียดนามด้วย

@ จ.ศ.1137 ครั้นถึงปีมแม 1137 (พ.ศ. 2318) สมเด็จพระนารายน์ราชาธิบดี ได้ทรงนิมนต์ให้พระมหาสังฆราช พระพรหมมุนี ชื่อหลง นำข้อความซึ่งเป็นทางพระราชไมตรีไปกราบทูลสมเด็จพระรามราชาที่เมืองกำปอด ขออัญเชิญให้เสด็จมาเสวยราชสมบัติ ณ บันทายเพ็ชรสืบไป ฯ

@ ครั้นมหาสังฆราช ได้นำความไปถวายพระพรแก่สมเด็จพระรามราชาได้ทรงทราบแล้ว สมเด็จพระรามราชาก็เสด็จออกจากเมืองกำปอด เข้ามาประทับอยู่ที่พระราชวัง ณ เมืองบันทายเพ็ชร แล้วขึ้นเสวยราชสมบัติ ทรงพระนามว่าพระราชโองการ สมเด็จพระรามราชาธิราชบรมบพิตร ฯ

พนมเปญ

 
เจดีย์วัดพนม จุดเริ่มต้นของ"พนมเปญ"ในประวัติศาสตร์พุทธศาสนากัมพูชายุคใหม่

กษัตริย์กัมพูชาได้ละทิ้งราชธานีมหานคร ไปสร้างราชธานีใหม่ที่เมือง สรีสันธอร์ ต่อมา พ.ศ. 1975 ได้ย้ายไปสร้างราชธานีใหม่ที่พนมเปญ จนถึงในปัจจุบัน ตั้งแต่การสร้างราชธานีใหม่ เป็นต้นมา เป็นเวลา 400 ปี ประเทศกัมพูชาตกอยู่ในภาวะวิกฤต ทางสังคมอย่างรุนแรง ประชาชนทุกข์ยากมาก บ้านเมืองยับเยิน พระศาสนาเสื่อมโทรมมาก เนื่องจากเกิดเรื่องภายใน มีการแย่งชิงราชสมบัติกัน ผู้คนล้มตายกันมากนครวัต นครธม ถูกปล่อยรกร้างอยู่ในป่า จนมี ชาวฝรั่งเศสไปพบเข้า ในปี พ.ศ. 2404 จึงได้ทำนุบำรุงรักษาอนุรักษ์ไว้ปี พ.ศ. 2384 พระเจ้าหริรักษ์รามาธิบดี ทรงเสวยราชย์ในกรุงอุดรเมียรชัย พระพุทธศาสนา กลับเจริญรุ่งเรืองอีก มีพระสงฆ์ชาวกัมพูชา เดินทางมาศึกษายัง กรุงเทพฯ กลับไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในเขมร พระมหาวิมลธรรม (ทอง) ได้จัดการศึกษาของสงฆ์ไทยตั้ง “ศาลาบาลีชั้นสูง” ในกรุงพนมเปญ ได้แก่พุทธิกวิทยาลัยในปัจจุบัน จากนั้นเขมรก็ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสเกือบ 100 ปี การศาสนาก็ไม่เจริญรุ่งเรือง ในปี พ.ศ. 2497 จึงได้เอกราชคืนมา และเรียกชื่อประเทศว่าราชอาณาจักรกัมพูชา(พ.ศ.2497-พ.ศ.2513)


 
วัดพนมสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นของพนมเปญ

พระบาทนโรดม สีหนุ

พุทธศตวรรษที่ 24 ฝรั่งเศสเริ่มเข้ามามีบทบาทในอินโดจีน และใน พ.ศ. 2410 กัมพูชาก็ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส จนถึงปี พ.ศ. 2497 จึงได้อิสรภาพคืนมา และเรียกชื่อประเทศว่า พระราชอาณาจักรกัมพูชาพ.ศ.2497-พ.ศ.2513​ มีเมืองหลวงชื่อ พนมเปญ มีกษัตริย์ครองราชย์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2483 พระนามว่า พระเจ้านโรดมสีหนุ พระเจ้านโรดมสีหนุสละราชสมบัติให้พระเจ้านโรดมสุรามฤตพระบิดาขึ้นครองราชแทน พระองค์มาตั้งพรรคการเมืองชื่อ สังคมราษฎร์นิยม และได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาเมื่อพระบิดาสวรรคต จึงทรงเป็นประมุขรัฐโดยไม่ได้ครองราชย์ พระเจ้านโรดมสีหนุ ทรงคิดตั้งทฤษฎี พุทธสังคมนิยม โดยการปกครองที่ยึดหลักพุทธธรรมเป็นหลักในการบริหารประเทศ ในช่วงนี้ประเทศแถบเอเซียอาคเนย์กำลังอยู่ในภาวะการต่อสู้ ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์ กับลัทธิประชาธิปไตย

พระสงฆ์เขมรหลายรูปได้มาศึกษาที่กรุงเทพ ฯ ได้นำแบบแผนการปกครองคณะสงฆ์ไทยไปใช้ในกัมพูชา ทางด้านการศึกษาของสงฆ์ก็ได้นำแบบแผนไปจากประเทศไทย เช่น มีมหาวิทยาลัยสงฆ์ ที่ตั้งขึ้นโดย เจ้านโรดมสีหนุ เรียกว่า “มหาวิทยาลัยพุทธศาสนาพระสีหนุราช” มีการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี และโท ตามลำดับ

นายพล ลอนนอล/สงครามกลางเมือง (พ.ศ. 2513-2518)

พระเจ้านโรดมสีหนุ จึงถูกปฏิวัติโดย นายพลลอนนอล เมื่อปี พ.ศ. 2513 ได้เปลี่ยนราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นสาธารณรัฐเขมร​ นายพลลอนนอลได้เป็นประธานาธิบดีคนแรกทางด้านศาสนาก็ได้ส่งเสริมทำนุบำรุงจากรัฐเป็นอย่างดี

พุทธศาสนาภายใต้ระบบเขมรแดง (พ.ศ. 2518-2522)

พ.ศ. 2518 กัมพูชาได้ถูกกลุ่มเขมรแดงโดยการนำของนายพลพอล พต​ได้เข้ายึดครองกัมพูชา ปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์​อย่างสุดโด่ง ได้บังคับขู่เข็ญประชาชนอย่างทารุณ ไร้ความเมตตาปราณี ประชาชนถูกสังหารประมาณ 2 ล้านคน ในนี้รวมทั้งพระภิกษุสามเณรด้วย พระพุทธศาสนาถูกล้มล้างโดยลัทธิคอมมิวนิสต์อีกด้วย

ภายใต้ระบบคอมมิวนิสต์แบบเวียดนาม​ (พ.ศ. 2522-2535)

พ.ศ. 2522 เวียดนามกับเขมรบางกลุ่มบุกเข้ายึดกัมพูชา และขับไล่เขมรแดงโดยการนำของพอล พต ออกไปสู่ป่าชายแดนไทย-กัมพูชา เวียดนามตั้งรัฐบาลหุ่นโดยนายเฮง สัมริน​ เป็นผู้นำประเทศ พ.ศ. 2523-2536 กลุ่มเขมรแดงและกลุ่มเขมรอีกหลายฝ่ายจับมือกันต่อสู้กับกองทัพเวียดนาม ไล่ทหารเวียดนามออกนอกประเทศได้สำเร็จ

พุทธศาสนาภายหลังการเลือกตั้งภายใต้องค์การ UTAC กับการเข้าสู่รูปแบบประชาธิปไตย (พ.ศ. 2535-ปัจจุบัน)

พ.ศ. 2536 สหประชาชาติส่งกองกำลังรักษาสันติภาพนานาชาติ พร้อมกับการช่วยเหลือทางด้านการเงินอีก 3 พันล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อให้มีการเลือกตั้ง เพื่อจัดตั้งรัฐบาลขึ้นปกครองประเทศกัมพูชาอย่างถูกกฎหมาย ผลการเลือกตั้งพรรคฟุนซินเปคของเจ้านโรดม รณฤทธิ์​ ได้คะแนนมาเป็นอันดับหนึ่ง พรรคประชาชนกัมพูชาของ ฮุน เซน​ได้คะแนนเป็นอันดับสอง เป็นผลให้รัฐบาลกัมพูชา เป็นรัฐบาลผสมโดยมีนายกรัฐมนตรี 2 คน คือ รณฤทธิ์เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 1 ฮุน เซน เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ส่วนกลุ่มเขมรแดงปฏิเสธที่จะเข้าร่วมในการเลือกตั้ง และยังตั้งกำลังหน่วยรบอยู่ในป่าเช่นเดิม พ.ศ. 2539 กลุ่มเขมรแดงเริ่มแตกแยก ผู้นำหมายเลข 2 นายเอียง ซารี​ อดีตคู่เขยของพอล พต รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีต่างประเทศของเขมรแดง ได้นำพรรคเขมรกลุ่มหนึ่งและทหาร 10,000 คน แปรพักตร์มาเข้าร่วมสวามิภักดิ์กับรัฐบาลนายฮุน เซน ตามกระแสข่าวนาย ฮุน เซน ยอมมอบผลประโยชน์จากเหมืองพลอยที่เมืองไพลิน อันมีมูลค่ามหาศาลนับอนันต์ให้ครอบครอง

ในส่วนพระพุทธศาสนาในช่วงนี้การเปิดเสรีให้พระหนุ่มเณรน้อยกลับมาบวชได้เสรี ซึ่งแต่เดิมในช่วงระหว่าง ค.ศ.1979-1980 ผู้ที่จะบวชส่วนใหญ่จะต้องมีอายุเกิน 50 ปี ภายใต้นโยบายและข้อกำหนดของรัฐบาล รวมทั้งต้องมีพฤติกรรมและแนวนโยบายเทศน์สอนสนับสนุนรัฐบาลภายใต้การสนับสนุนของเวียดนาม เมื่อมีบุญพิธีใด ๆ จะต้องนำสิ่งของเครื่องใช้อันเป็นผลได้จากการทำบุญ สนับสนุนฝ่ายบ้านเมือง หรือทหารในขณะนั้น และที่สำคัญเมื่อพระบาทนโรดม สีหนุ ได้กลับมาครองราชย์ในสถานะพระมหากษัตริย์ พระองค์ได้นำพระพุทธศาสนานิกายธรรมยุติกนิกาย ฟื้นกลับมาอีกครั้ง นัยหนึ่งเป็นนิกายที่เคยมีในสังคมกัมพูชา หรืออีกนัยหนึ่งเป็นสมบัติของบรรพบุรุษ ที่ได้เคยทรงอุปถัมภ์และสนับสนุน นัยเดียวกันธรรมยุตินิกาย ได้กลายเป็นฐานสนับสนุนพรรคการเมือง Funcinpec อันมีสมาชิกส่วนใหญ่เป็นเชื้อพระวงศ์ด้วยเช่นกัน

นิกาย

พระพุทธศาสนาได้รับอิทธิพลด้านนิกายแต่เดิมเป็นในแบบพุทธศาสนามหายาน และเถรวาท ดังปรากฏหลักฐานเป็นศาสนสถานการก่อสร้างปราสาทนครธม ที่เป็นอุดมคติและแนวคิดอันเนื่องด้วยศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ในเวลาเดียวกันพุทธศาสนาในแบบเถรวาทก็ซ้อนทับอยู่กับพุทธมหายาน และศาสนาพราหมณ์และค่อย ๆ พัฒนาตัวเองจนกระทั่งกลายเป็นศาสนาของประชากรส่วนใหญ่ในประเทศกัมพูชาพร้อมกับการศูนย์หายไปของพุทธศาสนามหายานในประเทศกัมพูชา แต่ในเวลาเดียวกันพระพุทธศาสนาเถรวาทก็กลายเป็นศาสนาหลักของชาวกัมพูชา จนกระทั่งเมื่อมีการก่อตั้งพุทธศาสนาแบบธรรมยุตินิกาย ด้วยเหตุผลทางการเมือง การปกครองระหว่างไทย กัมพูชา พระพุทธศาสนาในแบบไทย ที่เป็นสัญลักษณ์ของความทันสมัย พัฒนา และปฏิรูป ที่เคยเกิดขึ้นในสังคมไทย และชนชั้นปกครองกัมพูชาก็เชื่อและคาาดหวังอย่างนั้น จึงทำให้พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชารับพระพุทธศาสนาในแบบธรรมยุติกนิกายไปเผยแผ่ในกัมพูชา และกลายเป็นศาสนาสำหรับราชสำนักในกัมพูชาไปพร้อม ๆ กัน จึงทำให้ศาสนานิกายเดิมซึ่งเป็นสมาชิกส่วนใหญ่กลายเป็นอีกนิกายหนึ่งในสังคมกัมพูชาไปโดยปริยาย

มหานิกาย

พุทธศาสนาเถรวาทในกัมพูชามีการแบ่งแยกเป็นครั้งแรกเมื่อมีการนำเอาธรรมยุตินิกาย (ซึ่งเน้นที่การทำให้พระธรรมวินัยบริสุทธิ์ตามที่มีมาในพระไตรปิฎก) จนสยามเข้ามาเมื่อ ค.ศ.1864 คณะธรรมยุติกนิกายในกัมพูชามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพระราชวงศ์เช่นเดียวกับที่เป็นในสยามแต่คณะธรรมยุติกนิกายในกัมพูชามีส่วนนำความก้าวหน้าเพียงเล็กน้อยมาสู่ชาวกัมพูชาที่ไม่ใช่เจ้านายและชนชั้นสูง อีกทั้งไม่ได้มีมีบทบาทในการนำความทันสมัยมาสู่สังคมกัมพูชาดังเช่นที่เป็นในสยาม ในขณะที่มหานิกายซึ่งเป็นนิกายดั้งเดิมซึ่งมีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยน้อยกว่า กลับมีบทบาทที่โดดเด่นกว่าคณะธรรมยุติกนิกาย

เมื่อมีการตั้งโรงเรียนบาลีระดับมัธยมขึ้น ณ กรุงพนมเปญ ใน ค.ศ.1914 ก็เกิดแรงกระตุ้นให้มีการศึกษาศาสนากันใหม่ อันนำมาซึ่งความแตกแยกของคณะมหานิกายในทศวรรษที่ 1920 ระหว่างพระสงฆ์ตามแบบจารีตกับพระสงฆ์หัวสมัยใหม่ซึ่งได้รับอิทธิพลจากวิทยาศาสตร์ตะวันตกและนิยมการวิพากษ์วิจารณ์ รวมทั้งต้องการให้มีการทำความเข้าใจคัมภีร์ทางศาสนากันใหม่ กลุ่มหัวสมัยใหม่รู้จักกันในภายหลังว่า คณะธรรมกายซึ่งก้าวขึ้นมามีบทบาทอย่างมากในการต่อต้านฝรั่งเศสร่วมกับปัญญาชนคนกลุ่มใหม่ของกัมพูชา

 
สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) อดีตสมเด็จพระสังฆราชคณะมหานิกายกัมพูชา สถิต ณ วัดอุณาโลม กรุงพนมเปญ

รายนามประมุขสงฆ์กัมพูชาฝ่ายคณะมหานิกายมีดังนี้

  • สมเด็จพระมหาสังฆราช (เนิล เตียง (เที่ยง) สุวณฺณเกสโร) ค.ศ. 1857-1913
  • สมเด็จพระธรรมลิขิต (แก อุก อินฺทตฺเถโร) ค.ศ. 1914-1930
  • สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ปรัก ฮิน สุธมฺมตฺเถโร) ค.ศ. 1930-1947
  • สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) ค.ศ. 1948–1969
  • สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ฮวต ตาต วชิรปญฺโญ) ค.ศ. 1969–1975
  • พระมหาโฆสนันทะ (Preah Maha Ghosananda) ค.ศ. 1988–2007 ทั้งนี้ เป็นการคัดเลือกกันของกลุ่มพระในต่างประเทศที่ลี้ภัยทางการเมืองภายใต้ระบบเขมรแดง และสงครามกลางเมืองในช่วงเวียดนามยึดครอง โดยไม่ยอมรับสมเด็จเทพ วงษ์ ที่ได้รับการคัดเลือกจากรัฐบาลฮุน เซน ให้เป็นสมเด็จพระสังฆราช การคัดเลือกนี้จึงเป็นการคัดเลือกผ่านกลุ่มคนที่อยู่ต่างประเทศ ไม่ได้เกี่ยวข้องหรือเป็นที่ยอมรับจากรัฐบาลที่พนมเปญแต่อย่างใด
  • สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี (เทพ วงษ์) ค.ศ.1981–ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งประธานการกสงฆ์กัมพูชาระหว่าง ค.ศ.1981–1991, สังฆราชคณะมหานิกาย ค.ศ. 1991–2006 และอัครมหาสังฆราชาธิบดี ค.ศ. 2006–ปัจจุบัน
  • สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (นนท์ แงด) ค.ศ. 2006–ปัจจุบัน จำพรรษาที่วัดปทุมวดีราชวราราม โดยวัดแห่งนี้แต่เดิมเป็นวัดของคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย และเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติ แต่เมื่อพระสงฆ์และพระพุทธศาสนาหมดไปจากดินแดนกัมพูชาใน ค.ศ. 1975-1979 ทำให้วัดแห่งนี้ร้างไปโดยปริยาย และเมื่อมีการบวชพระภิกษุภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในระบบคอมมิวนิสต์หลังค.ศ.1979 ไม่มีธรรมยุติและมหานิกาย วัดแห่งนี้จึงมีคณะสงฆ์มหานิกายจำพรรษาเป็นส่วนใหญ่ เมื่อธรรมยุติกนิกายถูกฟื้นคืนมาอีกครั้ง รัฐบาลจึงได้แบ่งวัดแห่งนี้เป็นสองส่วน คือวัดส่วนหนึ่งเป็นของคณะสงฆ์มหานิกาย และวัดส่วนหนึ่งเป็นของคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติ ปัจจุบันสมเด็จพระสังฆราชทั้ง 2 นิกายจำพรรษาอยู่ที่วัดแห่งนี้

ธรรมยุติกนิกาย

 
สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี) สมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกายองค์ปัจจุบัน จำพรรษาอยู่วัดปทุมวดีราชวราราม กรุงพนมเปญ

ธรรมยุติกนิกาย เป็นพุทธศาสนาที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งขึ้นเมื่อพระองค์ยังทรงผนวชในรัชกาลที่ 3 ต่อมาสมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดี (พระองค์ด้วง) ได้ขอพระราชทานธรรมยุติกนิกายไปเผยแผ่พระพุทธศาสนในประเทศกัมพูชา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้า ฯ ให้พระอมราภิรักขิต (เกิด อมโร) และพระมหาปาน (Preah Saukonn Pan, Maha Pan)ซึ่งเป็นภิกษุชาวกัมพูชาที่เข้ามาบวชในคณะธรรมยุตให้กลับตั้งคณะธรรมยุตที่กัมพูชา ต่อมาพระมหาปานได้เป็นพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกายพระองค์แรกของกัมพูชา

ปัจจุบันสมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี) (11 มกราคม ค.ศ.1945-ปัจจุบัน, อายุ 79 ปี) ทรงเป็นพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกายพระองค์ที่ 2 (คู่กับพระสังฆราชฝ่ายมหานิกาย) แห่งกัมพูชา

รายพระนามของสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกายแห่งกัมพูชามีดังนี้

  • สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน ปญฺญาสีโล) ค.ศ.1855–1893
  • สมเด็จพระมงคลเทพาจารย์ (เอี่ยม ภทฺทคู) ค.ศ. 1893-1922
  • สมเด็จพระมงคลเทพาจารย์ (สุก ปญฺญาทีโป) ค.ศ. 1923-1943
  • สมเด็จพระสุธรรมาธิบดี (อุง สะเรย พุทฺธนาโค) ค.ศ. 1943-1956
  • สมเด็จพระมหาสุธรรมาธิบดี (ภุล เทส อินฺทญาโณ) ค.ศ. 1956-1966
  • สมเด็จพระมหาสุธรรมาธิบดี (เทพ เลือง คนฺธโร) ค.ศ. 1966-1975
  • สมเด็จพระสังฆราช (ฮี เจีย) ค.ศ. 1975 (ดำรงตำแหน่งในสมัยระบอบเขมรแดงได้ไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์)
  • สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี) ค.ศ. 1991 – ปัจจุบัน ทั้งนี้ ทรงดำรงสมณศักดิ์ "สมเด็จพระสุคนธาธิบดี" เมื่อปี ค.ศ. 1991 จนถึงปี ค.ศ. 2007 จึงทรงได้รับการสถาปนาเป็นที่อัครมหาสังฆราชาธิบดีอีกพระองค์หนึ่ง ในพระนาม "สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี"

อิทธิพลของพุทธศาสนาต่อประเทศกัมพูชา

พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งสมณทูตคือโสณเถระและพระอุตตรเถระเข้ามาเผยแผ่ในดินแดนสุวรรณภูมิ ศาสนาพุทธได้เป็นรากฐานของวัฒนธรรมต่างๆในประเทศกัมพูชา รวมถึงการดำเนินชีวิตของคนในประเทศกัมพูชาล้วนมาจากพระพุทธศาสนา

อ้างอิง

  1. Dr.Klot Thyda,The Understanding of Buddhism Khmer Society, [Phompen : Royal Cambodia Institute,2002] [ภาษาเขมร-Khmer Langauge]
  2. เดวิด แชนด์เลอร์ (David Chandler), ประวัติศาสตร์กัมพูชา A history of Cambodia,แปลโดย : พรรณงาม เง่าธรรมสาร | สดใส ขันติวรพงศ์ | วงเดือน นาราสัจจ์, [กรุงเทพมหานคร : โครงการตำรามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์,2540] หน้า 179-206
  3. เดวิด แชนด์เลอร์ (David Chandler), ประวัติศาสตร์กัมพูชา A history of Cambodia,แปลโดย : พรรณงาม เง่าธรรมสาร | สดใส ขันติวรพงศ์ | วงเดือน นาราสัจจ์, [กรุงเทพมหานคร : โครงการตำรามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์,2540] หน้า 114-147
  4. เดวิด แชนด์เลอร์ (David Chandler), ประวัติศาสตร์กัมพูชา A history of Cambodia,แปลโดย : พรรณงาม เง่าธรรมสาร | สดใส ขันติวรพงศ์ | วงเดือน นาราสัจจ์, [กรุงเทพมหานคร : โครงการตำรามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์,2540] หน้า 179-206
  5. พันตรีหลวงเรืองเดชอนันต์ (ทองดี ธนรัชต์) แปล, พงษาวดารกรุงกัมพูชา, [นนทบุรี : สำนักพิมพ์ศรีปัญญา,2550] หน้า 143
  6. พันตรีหลวงเรืองเดชอนันต์ (ทองดี ธนรัชต์) แปล, พงษาวดารกรุงกัมพูชา, [นนทบุรี : สำนักพิมพ์ศรีปัญญา,2550] หน้า 143
  7. ศานติ ภักดีคำ. เขมรสมัยหลังพระนคร. กทม. มติชน. 2556 หน้า 58 - 59
  8. (Harris 2001, p. 78)
  9. In 1988, Maha Ghosananda was elected Supreme Patriarch by a group of exiled monks in Paris. During this same period, Tep Vong held the same office in the unified Cambodian sangha. After 1991, Tep Vong was recognized as head of the Maha Nikaya in Cambodia. (Harris 2001, p. 70)
  10. [ศานติ ภักดีคำ,ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาระหว่างสยามสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกรุงกัมพูชา", ในวารสาร สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2555 หน้า 3-19]
  11. พระระพิน พุทธิสาโร. (2559). ธรรมยุติกนิกายในกัมพูชา : ความสัมพันธ์ทางการเมืองและศาสนาของไทยและกัมพูชา.วารสารพุทธอาเซียน ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559
  12. (Harris 2001, p. 83)
  13. (Keyes 1994)

บรรณานุกรม

  • ชิตมโน. พระพุทธศาสนาในนานาประเทศ. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย. 2533
  • ทรงวิทย์ แก้วศรี. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา เล่ม 10 พระพุทธศาสนาในอินโดจีน . กรุงเทพฯ: การศาสนา. 2530.
  • นฤมิต พระนาศรี. ตำนานทุ่งสังหาร พอล พต ผู้ฆ่าล้างเผ่าพันธ์เขมร, (กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์น้ำฝน, 2541
  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) พระพุทธศาสนาในอาเซีย. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา, 2540.
  • พระมหาอุทัย ธมฺมสาโร. พระพุทธศาสนาและโบราณคดีในเอเซีย. กรุงเทพฯ: เฟื่องอักษร. 2516.
  • พระราชธรรมนิเทศ,(ระแบบ ฐิตญาโณ). ประวัติศาสตร์พระพุทธ- ศาสนา. กรุงเทพฯ. มหามกุฎราชวิทยาลัย, 2536.
  • พระศรีปริยัติโมลี ( สมชัย กุสลจิตฺโต ) . พุทธทัศนะร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2540.
  • เสถียร โพธินันทะ. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ฉบับมุขปาฐะ เล่ม 2 กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2535.

ศาสนาพ, ทธในประเทศก, มพ, ชา, มพ, ชาเป, นประเทศท, ประว, ศาสตร, เป, นมากว, าพ, นป, โดยแต, เด, มเป, นด, นแดนของกล, มชาต, นธ, มอญ, เขมร, หล, กฐานว, าอพยพมาจากอ, นเด, ในฐานะพ, อค, หร, อเพ, อการค, านเข, ามาทางท, ศตะว, นออกเฉ, ยงเหน, อของคาบสม, ทรอ, นโดจ, และต, งถ, น. kmphuchaepnpraethsthimiprawtisastr epnmakwaphnpi odyaetedimepndinaednkhxngklumchatiphnthmxy ekhmr thimihlkthanwaxphyphmacakxinediy inthanaphxkha hruxephuxkarkha phanekhamathangthistawnxxkechiyngehnuxkhxngkhabsmuthrxinodcin aelatngthinthan phsmphsankbkhninthxngthinedim aelakbkhnthixphyphmathihlng thnginchatiphnthu aelathangwthnthrrmmikhwamecriyephimkhuntamladb txmaidmichnxinediyekhamatidtxkhakhay aelaidnaexa wthnthrrmxinediymaephyaephdwy thaihkmphucharbexawthnthrrmxinediy sungkkhuxphraphuththsasnadwyechnkn 1 phaphaeplnsrangwdaehnghnungkhxngkmphucha cakhlkthanthiprakt kmphuchaepndinaednaerk thirbxiththiphlkhxngphraphuththsasnaemuxekhamaephyaephekhamasusuwrrnphumi rwmthngidrbxiththiphlindankhwamecriythangdanciticmacakpraethsxinediy sasnaaerkthiepnsasnasakhykhxngchawkmphucha khux sasnaphrahmn aelasasnathirxnglngma khux phraphuththsasna sasnathngsxngni idklayepnsasnahlk aelasasnarxnginsngkhmkmphucha dngprakthlkthanthangdancaruk obrankhdi aelahlkthanthangprawtisastrthipraktphanprasathnkhrwt prasathnkhrthm aelaphlwthnthangphraphuththsasnasubmacnkrathngpccubn odyphthnakarkhxngphraphuththsasnathipraktsamarthcdepnladbinaetlachwngewlaidepnyukhtang dngnncungkhwrichwicarnyaninkarthangankhxngeracaidrbkaryxm epnxyangdi enuxha 1 yukhfunn Funan Founan hruxxanackrphnmhruxyukhkxnekhmr ph s 600 1100 2 smyecnla ph s 1100 1344 3 smymhankhr ph s 1345 1975 3 1 chywrmnthi 7 4 yukhhlngphrankhr ph s 1975 pccubn 4 1 xudngkh 4 2 phnmepy 4 3 phrabathnordm sihnu 4 4 nayphl lxnnxl sngkhramklangemuxng ph s 2513 2518 4 5 phuththsasnaphayitrabbekhmraedng ph s 2518 2522 4 6 phayitrabbkhxmmiwnistaebbewiydnam ph s 2522 2535 4 7 phuththsasnaphayhlngkareluxktngphayitxngkhkar UTAC kbkarekhasurupaebbprachathipity ph s 2535 pccubn 5 nikay 5 1 mhanikay 5 2 thrrmyutiknikay 6 xiththiphlkhxngphuththsasnatxpraethskmphucha 7 xangxing 8 brrnanukrmyukhfunn Funan Founan hruxxanackrphnmhruxyukhkxnekhmr ph s 600 1100 aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid phaphprasathnkhrwt wadodynksarwcchuxehnri muoht Henri Mouhot c 1860 phaphthayin kh s 1870 ody Emile Gsell sylksnkhxngprasathinsasnaphrahmnhinduthisathxnsasnaphuththaelaphrahmninyukhmhankhr phaphthipraktinopskardkhxngfrngessekiywkbprasathnkhrwti in kh s 1911smyecnla ph s 1100 1344 aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsmymhankhr ph s 1345 1975 aekikh phraphktrkhxngphraophthistwxwolkietswr thipratudanit sylksnkhxngkhwamecriyrungeruxngkhxngphraphuththsasnamhayaninkmphuchainyukhkhxngphraecachywrmnthi 7 yukhmhankhr epnyukhthi nkhrwt nkhrthm thitngxyuiklthaelsab aelaxyuthangehnuxkhxngemuxngesiymrath epnemuxnghlwngkhxngkmphucha epnyukhthixarythrrmkhxngkhxmecriyrungeruxngmak misilpaaelasthaptykrrmthioddedn thangdansasna prakt waphuthth sasnafaymhayanecriyrungeruxngphrxmkbsasnaphrahmn swnphuththsasnafayethrwathkhngepnthinbthuxxyuinhmuprachachnthwip swnthangchnsung hruxinrachsanknbthuxphuththsasnaaebbmhayan aelathuxlththiphrahmn inyukhniidmithrrmeniymthuxsasnakhnlaxyangrahwangphraracha kb puorhit thaphrarachaepnphuthth puorhitepnphrahmn hruxthaphrarachathuxphrahmn puorhitthuxphuthth thuxepnpraephnithiyudthuxtxknmahlayrxypi chywrmnthi 7 aekikh insmykhxngphraecachywrmnthi 7 erimaetpi ph s 1724 thrngmichuxesiyngodngdngthisudinprawtisastrekhmr thrngthanubarungphraphuththsasnacnecriyrungeruxngthisud thrngyayrachthaniipthiidkcasrangwdwaxaramdwy phraxngkhthrngexaicisinkickarphraphuththsasnamak thrngsrangprasath aelaphraphuththrupcanwnmakmay thrngsthapnaprasathtaphrm epnmhawithyalysngkh miphramhaethraepnsatracaryihyxyuthung 18 xngkh aelaxacaryrxnglngmathung 2 740 xngkh epnphusxn phraecachywrmnthi 7 yngthrngihrachkumaripsuksaphuththsasnathilngka aelwthrngphnwchthiwdmhawiharinplayyukhmhankhr 2 sasnaphrahmn aelamhayanesuxmthxylng khngehluxaetethrwaththiecriyrungeruxng aelaidrbkarnbthuxcakkhnthukradb tngaetkstriylngip swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhhlngphrankhr ph s 1975 pccubn aekikhyukhhlngphrankhrthuxwaepnyukhmudkhxngkmphuchadwyehtuphl khxngkhwamxxnaexthangkaremuxng phayinthaihkmphuchatkxyuphayitxiththiphlkhxngithy rththangthanglumaemnaecaphraya aelaewiydnam aelathaihkmphuchatxngxyuphayitsthankarnthangkaremuxng inyukhhlngphrankhrni phuththsasnaaebbmhayanaelasasnaphrahmnidesuxmthxylngip khngehluxaetphuththsasnaethrwath aelakstriyinyukhnicungidnbthuxphraphuththsasnaeruxyma kstriykmphuchaidlathingrachthanimhankhr ipsrangrachthaniihmthiemuxng srisnthxr txma ph s 1975 idyayipsrangrachthaniihmthiphnmepy cnthunginpccubn tngaetkarsrangrachthaniihm epntnma epnewla 400 pi praethskmphuchatkxyuinphawawikvt thangsngkhmxyangrunaerng prachachnthukkhyakmak banemuxngybeyin phrasasnaesuxmothrmmak enuxngcakekideruxngphayin mikaraeyngchingrachsmbtikn phukhnlmtayknmaknkhrwt nkhrthm thukplxyrkrangxyuinpa cnmi chawfrngessipphbekha inpi ph s 2404 cungidthanubarungrksaxnurksiwpi ph s 2384 phraecahrirksramathibdi thrngeswyrachyinkrungxudremiyrchy phraphuththsasna klbecriyrungeruxngxik miphrasngkhchawkmphucha edinthangmasuksayng krungethph klbipfunfuphraphuththsasnainekhmr phramhawimlthrrm thxng idcdkarsuksakhxngsngkhithytng salabalichnsung inkrungphnmepy idaekphuththikwithyalyinpccubn caknnekhmrktkepnemuxngkhunkhxngfrngessekuxb 100 pi karsasnakimecriyrungeruxng inpi ph s 2497 cungidexkrachkhunma aelaeriykchuxpraethswaxanackrkmphuchaph s 2498 3 xudngkh aekikh praethskmphuchaintxntnkhxngyukhhlngphrankhridsinxanaclng ephraaidepnemuxngkhunkhxngkrungsrixyuthya tngaet ph s 2137 thung ph s 2161 phxidrbexkrachcakkrungsrixyuthya kekidpyhasngkhramkbewiydnambang kbithybang sngkhramphayinbang epnemuxngkhunkhxngithy aela ewiydnamdwy 4 c s 1137 khrnthungpimaem 1137 ph s 2318 smedcphranaraynrachathibdi idthrngnimntihphramhasngkhrach phraphrhmmuni chuxhlng nakhxkhwamsungepnthangphrarachimtriipkrabthulsmedcphraramrachathiemuxngkapxd khxxyechiyihesdcmaeswyrachsmbti n bnthayephchrsubip 5 khrnmhasngkhrach idnakhwamipthwayphraphraeksmedcphraramrachaidthrngthrabaelw smedcphraramrachakesdcxxkcakemuxngkapxd ekhamaprathbxyuthiphrarachwng n emuxngbnthayephchr aelwkhuneswyrachsmbti thrngphranamwaphrarachoxngkar smedcphraramrachathirachbrmbphitr 6 phnmepy aekikh ecdiywdphnm cuderimtnkhxng phnmepy inprawtisastrphuththsasnakmphuchayukhihm kstriykmphuchaidlathingrachthanimhankhr ipsrangrachthaniihmthiemuxng srisnthxr txma ph s 1975 idyayipsrangrachthaniihmthiphnmepy cnthunginpccubn tngaetkarsrangrachthaniihm epntnma epnewla 400 pi praethskmphuchatkxyuinphawawikvt thangsngkhmxyangrunaerng prachachnthukkhyakmak banemuxngybeyin phrasasnaesuxmothrmmak enuxngcakekideruxngphayin mikaraeyngchingrachsmbtikn phukhnlmtayknmaknkhrwt nkhrthm thukplxyrkrangxyuinpa cnmi chawfrngessipphbekha inpi ph s 2404 cungidthanubarungrksaxnurksiwpi ph s 2384 phraecahrirksramathibdi thrngeswyrachyinkrungxudremiyrchy phraphuththsasna klbecriyrungeruxngxik miphrasngkhchawkmphucha edinthangmasuksayng krungethph klbipfunfuphraphuththsasnainekhmr phramhawimlthrrm thxng idcdkarsuksakhxngsngkhithytng salabalichnsung inkrungphnmepy idaekphuththikwithyalyinpccubn caknnekhmrktkepnemuxngkhunkhxngfrngessekuxb 100 pi karsasnakimecriyrungeruxng inpi ph s 2497 cungidexkrachkhunma aelaeriykchuxpraethswarachxanackrkmphucha ph s 2497 ph s 2513 wdphnmsylksnkhxngkarerimtnkhxngphnmepy phrabathnordm sihnu aekikh phuththstwrrsthi 24 frngesserimekhamamibthbathinxinodcin aelain ph s 2410 kmphuchaktkepnemuxngkhunkhxngfrngess cnthungpi ph s 2497 cungidxisrphaphkhunma aelaeriykchuxpraethswa phrarachxanackrkmphuchaph s 2497 ph s 2513 miemuxnghlwngchux phnmepy mikstriykhrxngrachymatngaet ph s 2483 phranamwa phraecanordmsihnu phraecanordmsihnuslarachsmbtiihphraecanordmsuramvtphrabidakhunkhrxngrachaethn phraxngkhmatngphrrkhkaremuxngchux sngkhmrasdrniym aelaidrbeluxkepnnaykrthmntri txmaemuxphrabidaswrrkht cungthrngepnpramukhrthodyimidkhrxngrachy phraecanordmsihnu thrngkhidtngthvsdi phuththsngkhmniym odykarpkkhrxngthiyudhlkphuthththrrmepnhlkinkarbriharpraeths inchwngnipraethsaethbexesiyxakhenykalngxyuinphawakartxsu rahwanglththikhxmmiwnist kblththiprachathipityphrasngkhekhmrhlayrupidmasuksathikrungethph idnaaebbaephnkarpkkhrxngkhnasngkhithyipichinkmphucha thangdankarsuksakhxngsngkhkidnaaebbaephnipcakpraethsithy echn mimhawithyalysngkh thitngkhunody ecanordmsihnu eriykwa mhawithyalyphuththsasnaphrasihnurach mikareriynkarsxninradbpriyyatri aelaoth tamladb nayphl lxnnxl sngkhramklangemuxng ph s 2513 2518 aekikh phraecanordmsihnu cungthukptiwtiody nayphllxnnxl emuxpi ph s 2513 idepliynrachxanackrkmphucha epnsatharnrthekhmr nayphllxnnxlidepnprathanathibdikhnaerkthangdansasnakidsngesrimthanubarungcakrthepnxyangdi phuththsasnaphayitrabbekhmraedng ph s 2518 2522 aekikh ph s 2518 kmphuchaidthukklumekhmraedngodykarnakhxngnayphlphxl pht idekhayudkhrxngkmphucha pkkhrxngodyrabxbkhxmmiwnist xyangsudodng idbngkhbkhuekhyprachachnxyangtharun irkhwamemttaprani prachachnthuksngharpraman 2 lankhn innirwmthngphraphiksusamenrdwy phraphuththsasnathuklmlangodylththikhxmmiwnistxikdwy phayitrabbkhxmmiwnistaebbewiydnam ph s 2522 2535 aekikh ph s 2522 ewiydnamkbekhmrbangklumbukekhayudkmphucha aelakhbilekhmraedngodykarnakhxngphxl pht xxkipsupachayaednithy kmphucha ewiydnamtngrthbalhunodynayehng smrin epnphunapraeths ph s 2523 2536 klumekhmraedngaelaklumekhmrxikhlayfaycbmuxkntxsukbkxngthphewiydnam ilthharewiydnamxxknxkpraethsidsaerc phuththsasnaphayhlngkareluxktngphayitxngkhkar UTAC kbkarekhasurupaebbprachathipity ph s 2535 pccubn aekikh ph s 2536 shprachachatisngkxngkalngrksasntiphaphnanachati phrxmkbkarchwyehluxthangdankarenginxik 3 phnlanehriyyshrth ephuxihmikareluxktng ephuxcdtngrthbalkhunpkkhrxngpraethskmphuchaxyangthukkdhmay phlkareluxktngphrrkhfunsinepkhkhxngecanordm rnvththi idkhaaennmaepnxndbhnung phrrkhprachachnkmphuchakhxng hun esn idkhaaennepnxndbsxng epnphlihrthbalkmphucha epnrthbalphsmodyminaykrthmntri 2 khn khux rnvththiepnnaykrthmntrikhnthi 1 hun esn epnnaykrthmntrikhnthi 2 swnklumekhmraedngptiesththicaekharwminkareluxktng aelayngtngkalnghnwyrbxyuinpaechnedim ph s 2539 klumekhmraedngerimaetkaeyk phunahmayelkh 2 nayexiyng sari xditkhuekhykhxngphxl pht rxngnaykrthmntri aelarthmntritangpraethskhxngekhmraedng idnaphrrkhekhmrklumhnungaelathhar 10 000 khn aeprphktrmaekharwmswamiphkdikbrthbalnayhun esn tamkraaeskhawnay hun esn yxmmxbphlpraoychncakehmuxngphlxythiemuxngiphlin xnmimulkhamhasalnbxnntihkhrxbkhrxnginswnphraphuththsasnainchwngnikarepidesriihphrahnumenrnxyklbmabwchidesri sungaetediminchwngrahwang kh s 1979 1980 phuthicabwchswnihycatxngmixayuekin 50 pi phayitnoybayaelakhxkahndkhxngrthbal rwmthngtxngmiphvtikrrmaelaaenwnoybayethsnsxnsnbsnunrthbalphayitkarsnbsnunkhxngewiydnam emuxmibuyphithiid catxngnasingkhxngekhruxngichxnepnphlidcakkarthabuy snbsnunfaybanemuxng hruxthharinkhnann aelathisakhyemuxphrabathnordm sihnu idklbmakhrxngrachyinsthanaphramhakstriy phraxngkhidnaphraphuththsasnanikaythrrmyutiknikay funklbmaxikkhrng nyhnungepnnikaythiekhymiinsngkhmkmphucha hruxxiknyhnungepnsmbtikhxngbrrphburus thiidekhythrngxupthmphaelasnbsnun nyediywknthrrmyutinikay idklayepnthansnbsnunphrrkhkaremuxng Funcinpec xnmismachikswnihyepnechuxphrawngsdwyechnknnikay aekikhphraphuththsasnaidrbxiththiphldannikayaetedimepninaebbphuththsasnamhayan aelaethrwath dngprakthlkthanepnsasnsthankarkxsrangprasathnkhrthm thiepnxudmkhtiaelaaenwkhidxnenuxngdwysasnaphuththnikaymhayan aetinewlaediywknphuththsasnainaebbethrwathksxnthbxyukbphuththmhayan aelasasnaphrahmnaelakhxy phthnatwexngcnkrathngklayepnsasnakhxngprachakrswnihyinpraethskmphuchaphrxmkbkarsunyhayipkhxngphuththsasnamhayaninpraethskmphucha aetinewlaediywknphraphuththsasnaethrwathkklayepnsasnahlkkhxngchawkmphucha cnkrathngemuxmikarkxtngphuththsasnaaebbthrrmyutinikay dwyehtuphlthangkaremuxng karpkkhrxngrahwangithy kmphucha phraphuththsasnainaebbithy thiepnsylksnkhxngkhwamthnsmy phthna aelaptirup thiekhyekidkhuninsngkhmithy aelachnchnpkkhrxngkmphuchakechuxaelakhaadhwngxyangnn cungthaihphraphuththsasnainpraethskmphucharbphraphuththsasnainaebbthrrmyutiknikayipephyaephinkmphucha aelaklayepnsasnasahrbrachsankinkmphuchaipphrxm kn cungthaihsasnanikayedimsungepnsmachikswnihyklayepnxiknikayhnunginsngkhmkmphuchaipodypriyay mhanikay aekikh phuththsasnaethrwathinkmphuchamikaraebngaeykepnkhrngaerkemuxmikarnaexathrrmyutinikay sungennthikarthaihphrathrrmwinybrisuththitamthimimainphraitrpidk cnsyamekhamaemux kh s 1864 khnathrrmyutiknikayinkmphuchamikhwamsmphnthiklchidkbphrarachwngsechnediywkbthiepninsyamaetkhnathrrmyutiknikayinkmphuchamiswnnakhwamkawhnaephiyngelknxymasuchawkmphuchathiimichecanayaelachnchnsung xikthngimidmimibthbathinkarnakhwamthnsmymasusngkhmkmphuchadngechnthiepninsyam inkhnathimhanikaysungepnnikaydngedimsungmikhwamekhrngkhrdinphrathrrmwinynxykwa klbmibthbaththioddednkwakhnathrrmyutiknikayemuxmikartngorngeriynbaliradbmthymkhun n krungphnmepy in kh s 1914 kekidaerngkratunihmikarsuksasasnaknihm xnnamasungkhwamaetkaeykkhxngkhnamhanikayinthswrrsthi 1920 rahwangphrasngkhtamaebbcaritkbphrasngkhhwsmyihmsungidrbxiththiphlcakwithyasastrtawntkaelaniymkarwiphakswicarn rwmthngtxngkarihmikarthakhwamekhaickhmphirthangsasnaknihm klumhwsmyihmruckkninphayhlngwa khnathrrmkaysungkawkhunmamibthbathxyangmakinkartxtanfrngessrwmkbpyyachnkhnklumihmkhxngkmphucha smedcphramhasuemthathibdi chwn nat ochtyaon xditsmedcphrasngkhrachkhnamhanikaykmphucha sthit n wdxunaolm krungphnmepy raynampramukhsngkhkmphuchafaykhnamhanikaymidngni smedcphramhasngkhrach enil etiyng ethiyng suwn neksor kh s 1857 1913 7 smedcphrathrrmlikhit aek xuk xin tht ethor kh s 1914 1930 smedcphramhasuemthathibdi prk hin suthm mt ethor kh s 1930 1947 smedcphramhasuemthathibdi chwn nat ochtyaon kh s 1948 1969 8 smedcphramhasuemthathibdi hwt tat wchirpy oy kh s 1969 1975 8 phramhaokhsnntha Preah Maha Ghosananda kh s 1988 2007 9 thngni epnkarkhdeluxkknkhxngklumphraintangpraethsthiliphythangkaremuxngphayitrabbekhmraedng aelasngkhramklangemuxnginchwngewiydnamyudkhrxng odyimyxmrbsmedcethph wngs thiidrbkarkhdeluxkcakrthbalhun esn ihepnsmedcphrasngkhrach karkhdeluxknicungepnkarkhdeluxkphanklumkhnthixyutangpraeths imidekiywkhxnghruxepnthiyxmrbcakrthbalthiphnmepyaetxyangid smedcphraxkhrmhasngkhrachathibdi ethph wngs kh s 1981 pccubn darngtaaehnngprathankarksngkhkmphucharahwang kh s 1981 1991 sngkhrachkhnamhanikay kh s 1991 2006 aelaxkhrmhasngkhrachathibdi kh s 2006 pccubn smedcphramhasuemthathibdi nnth aengd kh s 2006 pccubn caphrrsathiwdpthumwdirachwraram odywdaehngniaetedimepnwdkhxngkhnasngkhfaythrrmyutiknikay aelaepnthiprathbkhxngsmedcphrasngkhrachfaythrrmyuti aetemuxphrasngkhaelaphraphuththsasnahmdipcakdinaednkmphuchain kh s 1975 1979 thaihwdaehngnirangipodypriyay aelaemuxmikarbwchphraphiksuphayhlngkarepliynaeplngkarpkkhrxnginrabbkhxmmiwnisthlngkh s 1979 immithrrmyutiaelamhanikay wdaehngnicungmikhnasngkhmhanikaycaphrrsaepnswnihy emuxthrrmyutiknikaythukfunkhunmaxikkhrng rthbalcungidaebngwdaehngniepnsxngswn khuxwdswnhnungepnkhxngkhnasngkhmhanikay aelawdswnhnungepnkhxngkhnasngkhfaythrrmyuti pccubnsmedcphrasngkhrachthng 2 nikaycaphrrsaxyuthiwdaehngnithrrmyutiknikay aekikh smedcphraxphisirisukhnthamhasngkhrachathibdi bwr kri smedcphrasngkhrachfaythrrmyutiknikayxngkhpccubn caphrrsaxyuwdpthumwdirachwraram krungphnmepy thrrmyutiknikay epnphuththsasnathiphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwthrngtngkhunemuxphraxngkhyngthrngphnwchinrchkalthi 3 txmasmedcphrahrirksramaxisrathibdi phraxngkhdwng idkhxphrarachthanthrrmyutiknikayipephyaephphraphuththsasninpraethskmphucha phrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwcungoprdekla ihphraxmraphirkkhit ekid xmor aelaphramhapan Preah Saukonn Pan Maha Pan 10 sungepnphiksuchawkmphuchathiekhamabwchinkhnathrrmyutihklbtngkhnathrrmyutthikmphucha txmaphramhapanidepnphrasngkhrachfaythrrmyutiknikayphraxngkhaerkkhxngkmphucha 11 pccubnsmedcphraxphisirisukhnthamhasngkhrachathibdi bwr kri 11 mkrakhm kh s 1945 pccubn xayu 79 pi thrngepnphrasngkhrachfaythrrmyutiknikayphraxngkhthi 2 khukbphrasngkhrachfaymhanikay aehngkmphucharayphranamkhxngsmedcphrasngkhrachfaythrrmyutiknikayaehngkmphuchamidngni smedcphrasukhnthathibdi pan py yasiol kh s 1855 1893 12 13 smedcphramngkhlethphacary exiym phth thkhu kh s 1893 1922 smedcphramngkhlethphacary suk py yathiop kh s 1923 1943 smedcphrasuthrrmathibdi xung saery phuth thnaokh kh s 1943 1956 smedcphramhasuthrrmathibdi phul eths xin thyaon kh s 1956 1966 smedcphramhasuthrrmathibdi ethph eluxng khn thor kh s 1966 1975 smedcphrasngkhrach hi eciy kh s 1975 darngtaaehnnginsmyrabxbekhmraedngidimthunghnungspdah smedcphraxphisirisukhnthamhasngkhrachathibdi bwr kri kh s 1991 pccubn thngni thrngdarngsmnskdi smedcphrasukhnthathibdi emuxpi kh s 1991 cnthungpi kh s 2007 cungthrngidrbkarsthapnaepnthixkhrmhasngkhrachathibdixikphraxngkhhnung inphranam smedcphraxphisirisukhnthamhasngkhrachathibdi xiththiphlkhxngphuththsasnatxpraethskmphucha aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphraecaxoskmharachidsngsmnthutkhuxosnethraaelaphraxuttrethraekhamaephyaephindinaednsuwrrnphumi sasnaphuththidepnrakthankhxngwthnthrrmtanginpraethskmphucha rwmthungkardaeninchiwitkhxngkhninpraethskmphuchalwnmacakphraphuththsasnaxangxing aekikh Dr Klot Thyda The Understanding of Buddhism Khmer Society Phompen Royal Cambodia Institute 2002 phasaekhmr Khmer Langauge edwid aechndelxr David Chandler prawtisastrkmphucha A history of Cambodia aeplody phrrnngam engathrrmsar sdis khntiwrphngs wngeduxn narascc krungethphmhankhr okhrngkartaramnusysastraelasngkhmsastr 2540 hna 179 206 edwid aechndelxr David Chandler prawtisastrkmphucha A history of Cambodia aeplody phrrnngam engathrrmsar sdis khntiwrphngs wngeduxn narascc krungethphmhankhr okhrngkartaramnusysastraelasngkhmsastr 2540 hna 114 147 edwid aechndelxr David Chandler prawtisastrkmphucha A history of Cambodia aeplody phrrnngam engathrrmsar sdis khntiwrphngs wngeduxn narascc krungethphmhankhr okhrngkartaramnusysastraelasngkhmsastr 2540 hna 179 206 phntrihlwngeruxngedchxnnt thxngdi thnrcht aepl phngsawdarkrungkmphucha nnthburi sankphimphsripyya 2550 hna 143 phntrihlwngeruxngedchxnnt thxngdi thnrcht aepl phngsawdarkrungkmphucha nnthburi sankphimphsripyya 2550 hna 143 santi phkdikha ekhmrsmyhlngphrankhr kthm mtichn 2556 hna 58 59 8 0 8 1 Harris 2001 p 78 In 1988 Maha Ghosananda was elected Supreme Patriarch by a group of exiled monks in Paris During this same period Tep Vong held the same office in the unified Cambodian sangha After 1991 Tep Vong was recognized as head of the Maha Nikaya in Cambodia Harris 2001 p 70 santi phkdikha khwamsmphnththangphraphuththsasnarahwangsyamsmyphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwkbkrungkmphucha inwarsar sngkhlankhrinthr chbbsngkhmsastraelamnusysastr pithi 18 chbbthi 3 k kh k y 2555 hna 3 19 phraraphin phuththisaor 2559 thrrmyutiknikayinkmphucha khwamsmphnththangkaremuxngaelasasnakhxngithyaelakmphucha warsarphuththxaesiyn pithi 1 chbbthi 2 krkdakhm thnwakhm 2559 Harris 2001 p 83 Keyes 1994 brrnanukrm aekikhchitmon phraphuththsasnainnanapraeths krungethph mhamkudrachwithyaly 2533 thrngwithy aekwsri prawtisastrphraphuththsasna elm 10 phraphuththsasnainxinodcin krungethph karsasna 2530 nvmit phranasri tananthungsnghar phxl pht phukhalangephaphnthekhmr krungethph sankphimphnafn 2541 phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phraphuththsasnainxaesiy krungethph thrrmspha 2540 phramhaxuthy thm msaor phraphuththsasnaaelaobrankhdiinexesiy krungethph efuxngxksr 2516 phrarachthrrmnieths raaebb thityaon prawtisastrphraphuthth sasna krungethph mhamkudrachwithyaly 2536 phrasripriytiomli smchy kuslcit ot phuthththsnarwmsmy krungethph mhaculalngkrnrachwithyaly 2540 esthiyr ophthinntha prawtisastrphraphuththsasna chbbmukhpatha elm 2 krungethph mhamkutrachwithyaly 2535 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sasnaphuththinpraethskmphucha amp oldid 9516238, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม