fbpx
วิกิพีเดีย

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นทฤษฎีที่อยู่ฉากหลังของการออกแบบคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปหมายถึง การออกแบบ

ประเภทของสถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบขนาน ของโปรเซสเซอร์

  1. SISD (Single Instruction Single Data stream) คือ โปรเซสเซอร์ ที่ใช้การประมวลผลด้วยชุดข้อมูลเพียงชุดเดียว และ ทำงานด้วยคำสั่งเดียว ภายใน 1 สัญญาณนาฬิกา
  2. MISD (Multiple Instruction Single Data stream) คือ โปรเซสเซอร์ ที่ใช้การประมวลผลด้วยชุดข้อมูลเพียงชุดเดียว แต่ทำงานด้วยได้หลายคำสั่ง ภายใน 1 สัญญาณนาฬิกา มักจะไม่ค่อยมีใครพัฒนาโปรเซสเซอร์แบบนี้
  3. SIMD (Single Instruction Multiple Data stream) คือ โปรเซสเซอร์ที่ใช้การประมวลผลด้วยชุดข้อมูลหลายชุด แต่ทำงานด้วยคำสั่งเดียว ภายใน 1 สัญญาณนาฬิกา และได้ผลลัพธ์หลายชุด ใช้ในโปรเซสเซอร์แบบ Pentium MMX
  4. MIMD (Multiple Instruction Multiple Data stream) คือ โปรเซสเซอร์ที่ใช้การประมวลผลด้วยชุดข้อมูลหลายชุด และทำงานด้วยได้หลายคำสั่ง ภายใน 1 สัญญาณนาฬิกา

RISC (Reduced Instruction- Set Computing หรือชิปที่มีการลดทอนคำสั่ง) คือ โปรเซสเซอร์ที่มีชุดคำสั่งที่มีรูปแบบและขนาดที่แน่นอน สามารถประมวลผลได้ภายใน 1 สัญญาณนาฬิกา การอ้างอิงหน่วยความจำจะใช้คำสั่ง Load และ Store ที่สามารถอ้างอิงหน่วยความจำได้โดยตรงเท่านั้น ใช้การอ้างตำแหน่งแบบตรงๆ ง่ายโดยมีรูปแบบจำกัดอยู่ 2 แบบ คือ 1.แบบอ้างผ่าน Register ( Register Indirect ) Register จะเก็บค่าตำแหน่งไว้ แล้ว ทำการอ้างตำแหน่งนั้นๆผ่าน Register 2.ในแบบ Index จะเป็นการอ้างตำแหน่งจากค่าคงที่ที่มาในคำสั่งนั้นๆเลย

CISC (Complex Instruction-Set Computing) คือสถาปัตยกรรมของโปรเซสเซอร์ ที่ใช้คำสั่งซับซ้อนที่มีความยาวเปลี่ยนไปตามชนิดของคำสั่ง มีคำสั่งให้ใช้งานมากมาย ทำให้เขียนโปรแกรมง่าย และโปรแกรมมีขนาดเล็ก การทำงานของคำสั่งจะใช้ Microcode โดยคงความเข้ากันได้กับโปรเซสเซอร์รุ่นเก่า ทำให้ไม่ต้องเขียนโปรแกรมใหม่

SMP (Symmetric MultiProcessing) คือสถาปัตยกรรมของการใช้โปรเซสเซอร์ หลายตัว ที่ใช้ทรัพยากรของระบบเช่น บัส หน่วยความจำ I/O ร่วมกัน ไม่สามารถแบ่งเป็น partition ย่อยๆได้ และสมรรถนะของระบบจะลดลงเมื่อใช้โปรเซสเซอร์ มากกว่า 8 ตัว ความสามารถในการขยายสเกลยังจำกัด แต่สามารถใช้โปรแกรมแบบเดิมได้ไม่ต้องเขียนขึ้นใหม่

การแบ่งกันใช้งานและการติดต่อสื่อสาร

  1. Shared-bus topology คือการต่อโปรเซสเซอร์ หลายตัวให้ใช้งาน Frontside บัสเส้นเดียวร่วมกัน แต่มีข้อเสียคือ จะเกิดคอขวดที่เกิดจากรอคอยการใช้บัสร่วมกัน และทำให้เกิดประจุไฟฟ้าสะสมบนบัส ซึ่งจะเกิดการรบกวนสัญญาณข้อมูลซึ่งกันและกัน ทำให้สามารถใช้โปรเซสเซอร์ ได้สูงสุดไม่เกิน 4 ตัวมีใช้ใน บัส GTL+ ของ Intel x86 และ บัส MPX ของ SMP G4 (Apple)
  2. Point-to-point topology คือการต่อโปรเซสเซอร์ หลายตัวโดยให้โปรเซสเซอร์ แต่ละตัวมี Frontside บัสของตัวเองที่ต่อตรงไปยังชุดชิปหลัก จะแก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้ Shared-bus topology ได้ มีใช้ใน บัส EV6 ของ Athlon

Cache Coherence

คือการทำให้ข้อมูลที่มีอยู่ในแคชของโปรเซสเซอร์ ทุกตัวมีความสอดคล้องกับโปรเซสเซอร์ตัวอื่นๆ

  1. Snoop คือการจัดการให้แคชของโปรเซสเซอร์แต่ละตัว คอยฟังว่ามีการร้องขอข้อมูลในหน่วยความจำที่โปรเซสเซอร์กำลังใช้งานอยู่ของโปรเซสเซอร์ตัวอื่นๆทุกตัวหรือไม่ ซึ่งจะทำให้เกิดการติดต่อสื่อสารสถานะของข้อมูล เพื่อประสานงานการใช้ข้อมูลร่วมกันโดยเกิดข้อขัดแย้งน้อยที่สุด แต่จะเกิดปัญหาความล่าช้าบนระบบ Shared-bus เพราะการ snoop จะลด bandwidth ของบัสที่ใช้งานร่วมกัน แต่ในระบบ point-to-point จะมี snoop bus ต่างหาก ทำให้แคชสามารถทำงานโดยไม่ต้องไปรบกวนการทำงานของส่วนอื่นๆ
  2. Data Intervention คือเทคนิคที่เพิ่มความเร็วในการประสานการของทำงานของแคช โดยการที่แคชของโปรเซสเซอร์ต้องการอ่านข้อมูลเดียวกัน ที่กำลังใช้งานอยู่และเพิ่งจะเริ่มแก้ไข ก็จะส่งสัญญาณบอกโปรเซสเซอร์อีกตัวให้รอรับข้อมูลที่จะส่งไปให้ ไม่ต้องไปขอจากหน่วยความจำหลักให้เสียเวลา

MPP (Massively Parallel Processing) คือสถาปัตยกรรมของการใช้โปรเซสเซอร์หลายตัว โดยที่โปรเซสเซอร์แต่ละตัว จะมีทรัพยากรระบบ (I/O, หน่วยความจำ) ของตนเองเป็นหน่วยๆย่อยมีการควบคุมตนเอง การเชื่อมโยงจะใช้ hardware หรือ software ก็ได้ สามารถขยายสเกลได้ดีมาก แต่ต้องเขียนโปรแกรมใหม่ ไม่สามารถใช้ของเดิมได้

CMP (Cellular MultiProcessing) คือสถาปัตยกรรมของการใช้โปรเซสเซอร์หลายตัว ที่ผสมผสานข้อดีของ SMP และ Clustering เข้าด้วยกัน โดยแบ่งโปรเซสเซอร์ออกเป็นหน่วยเล็ก ที่เรียกว่า subpod (ประกอบด้วย โปรเซสเซอร์ 2 คู่ที่แต่ละคู่ใช้บัสแยกกัน และ cache แบบ L3 และสามารถใช้ระบบปฏิบัติการของตนเองหรือรวมกันเป็นหน่วยเดียวก็ได้) ที่ใช้ ทรัพยากรของระบบ (หน่วยความจำ, I/O) ร่วมกัน การเชื่อมโยงใช้ลักษณะการติดต่อแบบ Crossbar (เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดโดยตรง ที่สามารถกำจัดการขัดข้องที่จุดๆเดียวได้) สามารถขยายสเกลได้ดีมาก และสามารถใช้โปรแกรมแบบเดิมได้ไม่ต้องเขียนขึ้นใหม่

NUMA (Non-Uniform Memory Access) คือสถาปัตยกรรมของการใช้โปรเซสเซอร์หลายตัว ที่ผสมผสานข้อดีของ SMP และ MPP เข้าด้วยกัน โดยแบ่งเป็นหน่วยย่อยของหลายๆ โปรเซสเซอร์ ที่ใช้ทรัพยากรของระบบ (หน่วยความจำ, I/O) ร่วมกัน สามารถขยายสเกลได้ดีมาก และสามารถใช้โปรแกรมแบบเดิมได้ไม่ต้องเขียนขึ้นใหม่

Clustering คือ สถาปัตยกรรมของการเชื่อมโยงระบบเข้าด้วยกัน โดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อสร้างระบบที่ใหญ่ขึ้นและล้มเหลวยาก (ระบบจะไม่หยุดทำงานง่ายๆ)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • ISCA:proceddings of the International symposium on Computer Architecture
  • ASPLOS: international conference on Architectural Support for Programming languages and Operating Systems
  • ACM Transactions on Computer Systems
  • IEEE computer
  • IEEE Micro
  • Microprocessor Reports

อ้างอิง

  • Hennessy and Patterson (2006). Computer Architecture: A Quantitative Approach (Fourth Edition ed.). Morgan Kaufmann. ISBN 978-0-12-370490-0.
  • Tanenbaum, Andrew S. (1979). Structured Computer Organization. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall. ISBN 0-13-148521-0.

สถาป, ตยกรรมคอมพ, วเตอร, เป, นทฤษฎ, อย, ฉากหล, งของการออกแบบคอมพ, วเตอร, โดยท, วไปหมายถ, การออกแบบ, โครงสร, างของหน, วยประมวลผลกลาง, งก, การออกแบบจำนวนเรจ, สเตอร, จำเป, และหน, าท, จำเป, นของ, หน, วยควบค, มก, บหน, วยประมวลผลต, วเลข, ดของคำส, งเคร, อง, และการอ, . sthaptykrrmkhxmphiwetxr epnthvsdithixyuchakhlngkhxngkarxxkaebbkhxmphiwetxr odythwiphmaythung karxxkaebb okhrngsrangkhxnghnwypramwlphlklang sungkkhux karxxkaebbcanwnercisetxrthicaepn aelahnathithicaepnkhxng hnwykhwbkhumkbhnwypramwlphltwelkh chudkhxngkhasngekhruxng aelakarxanghnwykhwamca ethkhnikhxun echn karpramwlphlaebbippilnpraephthkhxngsthaptykrrmkarpramwlphlaebbkhnan khxngopressesxr SISD Single Instruction Single Data stream khux opressesxr thiichkarpramwlphldwychudkhxmulephiyngchudediyw aela thangandwykhasngediyw phayin 1 syyannalika MISD Multiple Instruction Single Data stream khux opressesxr thiichkarpramwlphldwychudkhxmulephiyngchudediyw aetthangandwyidhlaykhasng phayin 1 syyannalika mkcaimkhxymiikhrphthnaopressesxraebbni SIMD Single Instruction Multiple Data stream khux opressesxrthiichkarpramwlphldwychudkhxmulhlaychud aetthangandwykhasngediyw phayin 1 syyannalika aelaidphllphthhlaychud ichinopressesxraebb Pentium MMX MIMD Multiple Instruction Multiple Data stream khux opressesxrthiichkarpramwlphldwychudkhxmulhlaychud aelathangandwyidhlaykhasng phayin 1 syyannalikaRISC Reduced Instruction Set Computing hruxchipthimikarldthxnkhasng khux opressesxrthimichudkhasngthimirupaebbaelakhnadthiaennxn samarthpramwlphlidphayin 1 syyannalika karxangxinghnwykhwamcacaichkhasng Load aela Store thisamarthxangxinghnwykhwamcaidodytrngethann ichkarxangtaaehnngaebbtrng ngayodymirupaebbcakdxyu 2 aebb khux 1 aebbxangphan Register Register Indirect Register caekbkhataaehnngiw aelw thakarxangtaaehnngnnphan Register 2 inaebb Index caepnkarxangtaaehnngcakkhakhngthithimainkhasngnnelyCISC Complex Instruction Set Computing khuxsthaptykrrmkhxngopressesxr thiichkhasngsbsxnthimikhwamyawepliyniptamchnidkhxngkhasng mikhasngihichnganmakmay thaihekhiynopraekrmngay aelaopraekrmmikhnadelk karthangankhxngkhasngcaich Microcode odykhngkhwamekhaknidkbopressesxrruneka thaihimtxngekhiynopraekrmihmSMP Symmetric MultiProcessing khuxsthaptykrrmkhxngkarichopressesxr hlaytw thiichthrphyakrkhxngrabbechn bs hnwykhwamca I O rwmkn imsamarthaebngepn partition yxyid aelasmrrthnakhxngrabbcaldlngemuxichopressesxr makkwa 8 tw khwamsamarthinkarkhyayseklyngcakd aetsamarthichopraekrmaebbedimidimtxngekhiynkhunihm enuxha 1 karaebngknichnganaelakartidtxsuxsar 2 Cache Coherence 3 duephim 4 xangxing 5 xangxingkaraebngknichnganaelakartidtxsuxsar aekikhShared bus topology khuxkartxopressesxr hlaytwihichngan Frontside bsesnediywrwmkn aetmikhxesiykhux caekidkhxkhwdthiekidcakrxkhxykarichbsrwmkn aelathaihekidpracuiffasasmbnbs sungcaekidkarrbkwnsyyankhxmulsungknaelakn thaihsamarthichopressesxr idsungsudimekin 4 twmiichin bs GTL khxng Intel x86 aela bs MPX khxng SMP G4 Apple Point to point topology khuxkartxopressesxr hlaytwodyihopressesxr aetlatwmi Frontside bskhxngtwexngthitxtrngipyngchudchiphlk caaekpyhathiekidcakkarich Shared bus topology id miichin bs EV6 khxng AthlonCache Coherence aekikhkhuxkarthaihkhxmulthimixyuinaekhchkhxngopressesxr thuktwmikhwamsxdkhlxngkbopressesxrtwxun Snoop khuxkarcdkarihaekhchkhxngopressesxraetlatw khxyfngwamikarrxngkhxkhxmulinhnwykhwamcathiopressesxrkalngichnganxyukhxngopressesxrtwxunthuktwhruxim sungcathaihekidkartidtxsuxsarsthanakhxngkhxmul ephuxprasanngankarichkhxmulrwmknodyekidkhxkhdaeyngnxythisud aetcaekidpyhakhwamlachabnrabb Shared bus ephraakar snoop cald bandwidth khxngbsthiichnganrwmkn aetinrabb point to point cami snoop bus tanghak thaihaekhchsamarththanganodyimtxngiprbkwnkarthangankhxngswnxun Data Intervention khuxethkhnikhthiephimkhwamerwinkarprasankarkhxngthangankhxngaekhch odykarthiaekhchkhxngopressesxrtxngkarxankhxmulediywkn thikalngichnganxyuaelaephingcaerimaekikh kcasngsyyanbxkopressesxrxiktwihrxrbkhxmulthicasngipih imtxngipkhxcakhnwykhwamcahlkihesiyewlaMPP Massively Parallel Processing khuxsthaptykrrmkhxngkarichopressesxrhlaytw odythiopressesxraetlatw camithrphyakrrabb I O hnwykhwamca khxngtnexngepnhnwyyxymikarkhwbkhumtnexng karechuxmoyngcaich hardware hrux software kid samarthkhyaysekliddimak aettxngekhiynopraekrmihm imsamarthichkhxngedimidCMP Cellular MultiProcessing khuxsthaptykrrmkhxngkarichopressesxrhlaytw thiphsmphsankhxdikhxng SMP aela Clustering ekhadwykn odyaebngopressesxrxxkepnhnwyelk thieriykwa subpod prakxbdwy opressesxr 2 khuthiaetlakhuichbsaeykkn aela cache aebb L3 aelasamarthichrabbptibtikarkhxngtnexnghruxrwmknepnhnwyediywkid thiich thrphyakrkhxngrabb hnwykhwamca I O rwmkn karechuxmoyngichlksnakartidtxaebb Crossbar epnkarechuxmtxaebbcudtxcudodytrng thisamarthkacdkarkhdkhxngthicudediywid samarthkhyaysekliddimak aelasamarthichopraekrmaebbedimidimtxngekhiynkhunihmNUMA Non Uniform Memory Access khuxsthaptykrrmkhxngkarichopressesxrhlaytw thiphsmphsankhxdikhxng SMP aela MPP ekhadwykn odyaebngepnhnwyyxykhxnghlay opressesxr thiichthrphyakrkhxngrabb hnwykhwamca I O rwmkn samarthkhyaysekliddimak aelasamarthichopraekrmaebbedimidimtxngekhiynkhunihmClustering khux sthaptykrrmkhxngkarechuxmoyngrabbekhadwykn odyichthrphyakrrwmkn ephuxsrangrabbthiihykhunaelalmehlwyak rabbcaimhyudthanganngay duephim aekikhimokhrophressesxrxangxing aekikhISCA proceddings of the International symposium on Computer Architecture ASPLOS international conference on Architectural Support for Programming languages and Operating Systems ACM Transactions on Computer Systems IEEE computer IEEE Micro Microprocessor Reportsxangxing aekikhHennessy and Patterson 2006 Computer Architecture A Quantitative Approach Fourth Edition ed Morgan Kaufmann ISBN 978 0 12 370490 0 Tanenbaum Andrew S 1979 Structured Computer Organization Englewood Cliffs New Jersey Prentice Hall ISBN 0 13 148521 0 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sthaptykrrmkhxmphiwetxr amp oldid 8388728, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม