fbpx
วิกิพีเดีย

สปิน (ฟิสิกส์)

ในการศึกษาด้านกลศาสตร์ควอนตัมและฟิสิกส์อนุภาค สปิน (อังกฤษ: spin) คือคุณลักษณะพื้นฐานของอนุภาคมูลฐาน, อนุภาคประกอบ (ฮาดรอน) และนิวเคลียสอะตอม1

อนุภาคมูลฐานประเภทเดียวกันทุกตัวจะมี เลขควอนตัมสปิน เลขเดียวกัน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของสถานะควอนตัมของอนุภาค เมื่อรวมเข้ากับทฤษฎีสถิติของสปิน (spin-statistics theorem) สปินของอิเล็กตรอนจะส่งผลตามหลักการกีดกันของเพาลี อันเป็นตัวการเบื้องหลังของตารางธาตุ ทิศทางสปิน (บางครั้งก็เรียกย่อๆ ว่า "สปิน") ของอนุภาคหนึ่งเป็นองศาอิสระภายในที่สำคัญของอนุภาคนั้น

โวล์ฟกัง เพาลี เป็นบุคคลแรกที่เสนอแนวคิดเรื่องของสปิน แต่เขายังไม่ได้ตั้งชื่อให้กับมัน ปี ค.ศ. 1925 Ralph Kronig, George Uhlenbeck, และ Samuel Goudsmit นำเสนอการแปลความทางฟิสิกส์ของอนุภาคที่หมุนไปรอบแกนของตัวเอง เพาลีทำการศึกษาทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เชิงลึกในปี 1927 เมื่อพอล ดิแรกคำนวณกลศาสตร์ควอนตัมเชิงสัมพัทธ์ของเขาในปี 1928 นั้น สปินของอิเล็กตรอนมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งยวด

สปินเป็นโมเมนตัมเชิงมุมประเภทหนึ่ง โดยที่โมเมนตัมเชิงมุมมีนิยามตามแบบสมัยใหม่ว่าเป็น "ตัวกำเนิดการหมุน" แต่คำนิยามโมเมนตัมเชิงมุมแบบใหม่นี้ไม่ใช่อันเดียวกันกับคำนิยามในกลศาสตร์ดั้งเดิม L = r × p (คำนิยามแบบเดิมในประวัติศาสตร์นั้นไม่ได้หมายรวมถึงสปิน แต่มีชื่อเรียกจำเพาะเจาะจงว่า orbital angular momentum)

ในเมื่อสปินเป็นโมเมนตัมเชิงมุมประเภทหนึ่ง ดังนั้นมันจึงมีหน่วยวัดแบบเดียวกัน คือ J·s ตามระบบเอสไอ อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติแล้วเราไม่ค่อยใช้ระบบเอสไอในการอธิบายถึงสปิน แต่มักจะเขียนเป็นรูปตัวคูณของค่าคงตัวของพลังค์แบบลดรูป คือ ħ ตามหน่วยธรรมชาติแล้ว ħ นั้นไม่มีหน่วย ดังนั้นจึงยึดถือหลักเดียวกันกับสปินด้วย แต่ถ้าว่าตามนิยามของ "จำนวนควอนตัมของสปิน" แล้ว จะต้องไม่มีหน่วยเสมอ

เลขควอนตัมสปิน

เป็นชื่อที่ถูกเสนอให้ใช้, สปินในแนวความคิดแต่ดั้งเดิมนั้นเป็นการหมุนของอนุภาครอบแกนบางแกน ในอีกแง่หนึ่ง , สปินมีคุณสมบัติที่แปลกประหลาดบางอย่างที่แตกต่างจากวงโคจรของโมเมนตัมเชิงมุม:

  • เลขควอนตัมสปินอาจใช้เพียงค่าครึ่งหนึ่งของจำนวนเต็ม
  • แม้ว่าทิศทางของสปินสามารถเปลี่ยนแปลงได้, แต่อนุภาคมูลฐานนั้นไม่สามารถทำได้ในการหมุนให้เร็วขึ้นหรือช้าลง
  • สปินของอนุภาคประจุไฟฟ้ามีความเกี่ยวข้องกับโมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็กกับค่าแฟคเตอร์ g ที่แตกต่างกันตั้งแต่ 1 นี่อาจเกิดขึ้นได้ในฟิสิกส์แบบคลาสสิกถ้าประจุภายในของอนุภาคมีการกระจายที่แตกต่างจากมวลของมัน

คำนิยามทั่วไปของเลขควอนตัมปิน s คือ s = n/2, โดยที่ n สามารถเป็นจำนวนเต็มใด ๆ ที่ไม่เป็นลบ ดังนั้นค่าที่ยอมให้ของ s จึงเป็น 0, 1/2, 1, 3/2, 2, ฯลฯ ค่าของ s สำหรับอนุภาคมูลฐานขึ้นอยู่กับชนิดของอนุภาค, และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงในทางที่รู้จักกันใด ๆ (ในทางตรงกันข้ามกับทิศทางของสปินที่อธิบายไว้ด้านล่าง) โมเมนตัมเชิงมุมของสปิน S ของระบบทางกายภาพใด ๆ จะถูกควอนไทซ์ (quantised) ค่าที่ยอมให้ของ S คือ:

 

เมื่อ h คือ ค่าคงตัวของพลังค์ ในทางตรงกันข้าม, โมเมนตัมเชิงมุมของวงโคจรเท่านั้นที่สามารถใช้ค่าของ s เป็นจำนวนเต็ม, เมื่อค่าของ n เป็นจำนวนคู่

โมเมนต์แม่เหล็ก

 
เส้นแรงสนามแม่เหล็กรอบ "ขั้วคู่แม่เหล็กสถิตย์" (magnetostatic dipole); ขั้วคู่แม่เหล็กของตัวมันเองจะอยู่ที่จุดศูนย์กลางและถูกมองจากด้านข้าง

อนุภาคที่มีสปินสามารถมีโมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็ก (magnetic dipole moment)ได้, เช่นเดียวกับการหมุนของวัตถุมีประจุไฟฟ้าในทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า

เชิงอรรถ

หมายเหตุ 1: พึงสังเกตว่าคุณสมบัติภายในของอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอมที่เรียกว่า "สปิน" อันเป็นหัวข้อในบทความนี้ แม้จะเกี่ยวพันกันอยู่บ้าง แต่ก็ค่อนข้างแตกต่างกับแนวคิดของสปินในชีวิตประจำวันของเราอย่างมาก (เช่นการใช้คำว่า "สปิน" (การหมุน) ของลูกบอล) สปิน ที่นักฟิสิกส์อนุภาคใช้ในโลกควอนตัมนั้นคือคุณสมบัติหนึ่งของอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม ซึ่งมีคุณลักษณะที่แน่นอนและกระทำตัวตามกฎที่แน่นอน

อ้างอิง

  1. "Angular Momentum Operator Algebra", class notes by Michael Fowler
  2. A modern approach to quantum mechanics, by Townsend, p31 and p80

แหล่งข้อมูลอื่น

  • "Spintronics. Feature Article" in Scientific American, June 2002.
  • Goudsmit on the discovery of electron spin.
  • Nature: "Milestones in 'spin' since 1896."
  • ECE 495N Lecture 36: Spin Online lecture by S. Datta

สป, กส, ในการศ, กษาด, านกลศาสตร, ควอนต, มและฟ, กส, อน, ภาค, สป, งกฤษ, spin, อค, ณล, กษณะพ, นฐานของอน, ภาคม, ลฐาน, อน, ภาคประกอบ, ฮาดรอน, และน, วเคล, ยสอะตอม1อน, ภาคม, ลฐานประเภทเด, ยวก, นท, กต, วจะม, เลขควอนต, มสป, เลขเด, ยวก, งเป, นส, วนสำค, ญของสถานะควอนต, ม. inkarsuksadanklsastrkhwxntmaelafisiksxnuphakh spin xngkvs spin khuxkhunlksnaphunthankhxngxnuphakhmulthan xnuphakhprakxb hadrxn aelaniwekhliysxatxm1xnuphakhmulthanpraephthediywknthuktwcami elkhkhwxntmspin elkhediywkn sungepnswnsakhykhxngsthanakhwxntmkhxngxnuphakh emuxrwmekhakbthvsdisthitikhxngspin spin statistics theorem spinkhxngxielktrxncasngphltamhlkkarkidknkhxngephali xnepntwkarebuxnghlngkhxngtarangthatu thisthangspin bangkhrngkeriykyx wa spin khxngxnuphakhhnungepnxngsaxisraphayinthisakhykhxngxnuphakhnnowlfkng ephali epnbukhkhlaerkthiesnxaenwkhideruxngkhxngspin aetekhayngimidtngchuxihkbmn pi kh s 1925 Ralph Kronig George Uhlenbeck aela Samuel Goudsmit naesnxkaraeplkhwamthangfisikskhxngxnuphakhthihmuniprxbaeknkhxngtwexng ephalithakarsuksathvsdithangkhnitsastrechinglukinpi 1927 emuxphxl diaerkkhanwnklsastrkhwxntmechingsmphththkhxngekhainpi 1928 nn spinkhxngxielktrxnmibthbathsakhyxyangyingywdspinepnomemntmechingmumpraephthhnung odythiomemntmechingmumminiyamtamaebbsmyihmwaepn twkaenidkarhmun 1 2 aetkhaniyamomemntmechingmumaebbihmniimichxnediywknkbkhaniyaminklsastrdngedim L r p khaniyamaebbediminprawtisastrnnimidhmayrwmthungspin aetmichuxeriykcaephaaecaacngwa orbital angular momentum inemuxspinepnomemntmechingmumpraephthhnung dngnnmncungmihnwywdaebbediywkn khux J s tamrabbexsix xyangirkdiinthangptibtiaelweraimkhxyichrabbexsixinkarxthibaythungspin aetmkcaekhiynepnruptwkhunkhxngkhakhngtwkhxngphlngkhaebbldrup khux ħ tamhnwythrrmchatiaelw ħ nnimmihnwy dngnncungyudthuxhlkediywknkbspindwy aetthawatamniyamkhxng canwnkhwxntmkhxngspin aelw catxngimmihnwyesmx enuxha 1 elkhkhwxntmspin 2 omemntaemehlk 3 echingxrrth 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunelkhkhwxntmspin aekikhepnchuxthithukesnxihich spininaenwkhwamkhidaetdngedimnnepnkarhmunkhxngxnuphakhrxbaeknbangaekn inxikaenghnung spinmikhunsmbtithiaeplkprahladbangxyangthiaetktangcakwngokhcrkhxngomemntmechingmum elkhkhwxntmspinxacichephiyngkhakhrunghnungkhxngcanwnetm aemwathisthangkhxngspinsamarthepliynaeplngid aetxnuphakhmulthannnimsamarththaidinkarhmuniherwkhunhruxchalng spinkhxngxnuphakhpracuiffamikhwamekiywkhxngkbomemntkhwkhuaemehlkkbkhaaefkhetxr g thiaetktangkntngaet 1 nixacekidkhunidinfisiksaebbkhlassikthapracuphayinkhxngxnuphakhmikarkracaythiaetktangcakmwlkhxngmnkhaniyamthwipkhxngelkhkhwxntmpin s khux s n 2 odythi n samarthepncanwnetmid thiimepnlb dngnnkhathiyxmihkhxng s cungepn 0 1 2 1 3 2 2 l khakhxng s sahrbxnuphakhmulthankhunxyukbchnidkhxngxnuphakh aelaimsamarthepliynaeplnginthangthiruckknid inthangtrngknkhamkbthisthangkhxngspinthixthibayiwdanlang omemntmechingmumkhxngspin S khxngrabbthangkayphaphid cathukkhwxniths quantised khathiyxmihkhxng S khux S h 2 p s s 1 h 4 p n n 2 displaystyle S frac h 2 pi sqrt s s 1 frac h 4 pi sqrt n n 2 emux h khux khakhngtwkhxngphlngkh inthangtrngknkham omemntmechingmumkhxngwngokhcrethannthisamarthichkhakhxng s epncanwnetm emuxkhakhxng n epncanwnkhuomemntaemehlk aekikh esnaerngsnamaemehlkrxb khwkhuaemehlksthity magnetostatic dipole khwkhuaemehlkkhxngtwmnexngcaxyuthicudsunyklangaelathukmxngcakdankhang xnuphakhthimispinsamarthmiomemntkhwkhuaemehlk magnetic dipole moment id echnediywkbkarhmunkhxngwtthumipracuiffainthvsdiaemehlkiffaechingxrrth aekikhhmayehtu 1 phungsngektwakhunsmbtiphayinkhxngxnuphakhthielkkwaxatxmthieriykwa spin xnepnhwkhxinbthkhwamni aemcaekiywphnknxyubang aetkkhxnkhangaetktangkbaenwkhidkhxngspininchiwitpracawnkhxngeraxyangmak echnkarichkhawa spin karhmun khxnglukbxl spin thinkfisiksxnuphakhichinolkkhwxntmnnkhuxkhunsmbtihnungkhxngxnuphakhthielkkwaxatxm sungmikhunlksnathiaennxnaelakrathatwtamkdthiaennxnxangxing aekikh Angular Momentum Operator Algebra class notes by Michael Fowler A modern approach to quantum mechanics by Townsend p31 and p80aehlngkhxmulxun aekikh Spintronics Feature Article in Scientific American June 2002 Goudsmit on the discovery of electron spin Nature Milestones in spin since 1896 ECE 495N Lecture 36 Spin Online lecture by S Dattaekhathungcak https th wikipedia org w index php title spin fisiks amp oldid 9372331, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม