fbpx
วิกิพีเดีย

อริยสัจ 4

อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยบุคคล หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ

  1. ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า) มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5
  2. สมุทัย คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 คือ กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความทะยานอยากในภพ ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความปราศจากภพ ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ
  3. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้นเชิง
  4. มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นำไปสู่หรือนำไปถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ 1. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ 3. สัมมาวาจา เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ 5. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ 7. สัมมาสติ ระลึกชอบ และ 8. สัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า "มัชฌิมาปฏิปทา" หรือทางสายกลาง

มรรคมีองค์แปดนี้สรุปลงในไตรสิกขา ได้ดังนี้ 1. อธิสีลสิกขา ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ 2. อธิจิตสิกขา ได้แก่ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ และ 3. อธิปัญญาสิกขา ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ

กิจในอริยสัจ 4

กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ต้องทำต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่

  1. ปริญญา - ทุกข์ ควรรู้ คือการทำความเข้าใจปัญหาหรือสภาวะที่เป็นทุกข์อย่างตรงไปตรงมาตามความเป็นจริง เป็นการเผชิญหน้ากับปัญหา
  2. ปหานะ - สมุทัย ควรละ คือการกำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ เป็นการแก้ปัญหาที่เหตุต้นตอ
  3. สัจฉิกิริยา - นิโรธ ควรทำให้แจ้ง คือการเข้าถึงภาวะดับทุกข์ หมายถึงภาวะที่ไร้ปัญหาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมาย
  4. ภาวนา - มรรค ควรเจริญ คือการฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อให้ถึงความดับแห่งทุกข์ หมายถึงวิธีการหรือทางที่จะนำไปสู่จุดหมาย

กิจทั้งสี่นี้จะต้องปฏิบัติให้ตรงกับมรรคแต่ละข้อให้ถูกต้อง การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณ

กิจญาณเป็นส่วนหนึ่งของญาณ 3 หรือญาณทัสสนะ (สัจญาณ, กิจญาณ, กตญาณ) ซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบ ญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ 12 ดังนี้

  1. สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า
    1. นี่คือทุกข์
    2. นี่คือเหตุแห่งทุกข์
    3. นี่คือความดับทุกข์
    4. นี่คือทางแห่งความดับทุกข์
  2. กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า
    1. ทุกข์ควรรู้
    2. เหตุแห่งทุกข์ควรละ
    3. ความดับทุกข์ควรทำให้ประจักษ์แจ้ง
    4. ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น
  3. กตญาณ หยั่งรู้ว่าได้ทำกิจที่ควรทำได้เสร็จสิ้นแล้ว
    1. ทุกข์ได้กำหนดรู้แล้ว
    2. เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว
    3. ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว
    4. ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว

อ้างอิง

  • ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. หน้า 65-66.
  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พุทธธรรม" มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546

อร, ยส, อร, ยส, หร, อจต, ราร, ยส, หร, เป, นหล, กคำสอนหน, งของพระโคตมพ, ทธเจ, แปลว, ความจร, งอ, นประเสร, ความจร, งของพระอร, ยบ, คคล, หร, อความจร, งท, ทำให, เข, าถ, งกลายเป, นอร, ยะ, อย, ประการ, กข, สภาพท, ทนได, ยาก, ภาวะท, ทนอย, ในสภาพเด, มไม, ได, สภาพท, บค, ได. xriysc hruxcturariysc hruxxriysc 4 epnhlkkhasxnhnungkhxngphraokhtmphuththeca aeplwa khwamcringxnpraesrith khwamcringkhxngphraxriybukhkhl hruxkhwamcringthithaihphuekhathungklayepnxriya mixyusiprakar khux thukkh khux sphaphthithnidyak phawathithnxyuinsphaphedimimid sphaphthibibkhn idaek chati karekid chra karaek kareka mrna kartay karslayip karsuysin karprasbkbsingxnimepnthirk karphldphrakcaksingxnepnthirk karprarthnasingidaelwimsmhwnginsingnn klawodyyx thukkhkkhuxxupathankhnth hruxkhnth 5 smuthy khux saehtuthithaihekidthukkh idaek tnha 3 khux kamtnha khwamthayanxyakinkam khwamxyakidthangkamarmn phwtnha khwamthayanxyakinphph khwamxyakepnonnepnni khwamxyakthiprakxbdwyphwthitthihruxssstthitthi aela wiphwtnha khwamthayanxyakinkhwamprascakphph khwamxyakimepnonnepnni khwamxyakthiprakxbdwywiphwthitthihruxxucechththitthi niorth khux khwamdbthukkh idaek dbsaehtuthithaihekidthukkh klawkhux dbtnhathng 3 idxyangsineching mrrkh khux aenwptibtithinaipsuhruxnaipthungkhwamdbthukkh mixngkhprakxbxyuaepdprakar khux 1 smmathithi khwamehnchxb 2 smmasngkppa khwamdarichxb 3 smmawaca ecrcachxb 4 smmakmmnta krathachxb 5 smmaxachiwa eliyngchiphchxb 6 smmawayama phyayamchxb 7 smmasti ralukchxb aela 8 smmasmathi tngicchxb sungrwmeriykxikchuxhnungidwa mchchimaptiptha hruxthangsayklangmrrkhmixngkhaepdnisruplnginitrsikkha iddngni 1 xthisilsikkha idaek smmawaca smmakmmnta aelasmmaxachiwa 2 xthicitsikkha idaek smmawayama smmasti aelasmmasmathi aela 3 xthipyyasikkha idaek smmathitthi aelasmmasngkppakicinxriysc 4 aekikhkicinxriysc khuxsingthitxngthatxxriysc 4 aetlakhx idaek priyya thukkh khwrru khuxkarthakhwamekhaicpyhahruxsphawathiepnthukkhxyangtrngiptrngmatamkhwamepncring epnkarephchiyhnakbpyha phana smuthy khwrla khuxkarkacdsaehtuthithaihekidthukkh epnkaraekpyhathiehtutntx scchikiriya niorth khwrthaihaecng khuxkarekhathungphawadbthukkh hmaythungphawathiirpyhasungepncudmunghmay phawna mrrkh khwrecriy khuxkarfukxbrmptibtitamthangephuxihthungkhwamdbaehngthukkh hmaythungwithikarhruxthangthicanaipsucudhmaykicthngsinicatxngptibtiihtrngkbmrrkhaetlakhxihthuktxng karruckkicinxriyscnieriykwakicyankicyanepnswnhnungkhxngyan 3 hruxyanthssna scyan kicyan ktyan sunghmaythungkarhyngrukhrbsamrxb yanthngsamemuxekhakhukbkicinxriyscthngsicungidepnyanthsnamixakar 12 dngni scyan hyngrukhwamcringsiprakarwa nikhuxthukkh nikhuxehtuaehngthukkh nikhuxkhwamdbthukkh nikhuxthangaehngkhwamdbthukkh kicyan hyngruhnathitxxriyscwa thukkhkhwrru ehtuaehngthukkhkhwrla khwamdbthukkhkhwrthaihpracksaecng thangaehngkhwamdbthukkhkhwrfukhdihecriykhun ktyan hyngruwaidthakicthikhwrthaidesrcsinaelw thukkhidkahndruaelw ehtuaehngthukkhidlaaelw khwamdbthukkhidpracksaecngaelw thangaehngkhwamdbthukkhidptibtiaelwxangxing aekikhrachbnthitysthan 2548 phcnanukrmsphthsasnasakl chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 2 aekikhephimetim krungethph xrunkarphimph hna 65 66 phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phuthththrrm mhaculalngkrnrachwithyaly 2546ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xriysc 4 amp oldid 9653734, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม