fbpx
วิกิพีเดีย

สรีรวิทยาไต

สรีรวิทยาไต เป็นการศึกษาสรีรวิทยาของไต อันครอบคลุมการทำหน้าที่ทุกอย่างของไต รวมถึงการดูดซึมกลับซึ่งกลูโคส กรดอะมิโน และสารโมเลกุลเล็กอื่น การกำกับแร่ธาตุโซเดียม โพแทสเซียมและอิเล็กโทรไลต์อื่น การกำกับสมดุลของเหลวและความดันเลือด การธำรงสมดุลกรด-เบส การผลิตฮอร์โมนหลายชนิด รวมถึงอีรีโทรปอยอีติน และการปลุกฤทธิ์วิตามินดี

สรีรวิทยาไตส่วนมากศึกษาที่ระดับหน่วยไต อันเป็นหน่วยทำหน้าที่เล็กที่สุดของไต แต่ละหน่วยเริ่มต้นด้วยส่วนกรองซึ่งกรองเลือดที่เข้าสู่ไต ของเหลวที่กรองได้จะไหลตามความยาวของหน่วยไต ซึ่งเป็นโครงสร้างรูปท่อบุด้วยเซลล์ที่เปลี่ยนไปทำหน้าที่เฉพาะชั้นเดียวและล้อมรอบด้วยหลอดเลือดฝอย หน้าที่หลักของเซลล์บุเหล่านี้ คือ การดูดน้ำและสารโมเลกุลเล็กจากของเหลวที่กรองได้กลับเข้าสู่เลือด และหลั่งของเสียจากเลือดออกมาเป็นปัสสาวะ

การทำหน้าที่ที่เหมาะสมของไตจำเป็นต้องได้รับและกรองเลือดอย่างเพียงพอ การกรองเกิดขึ้นในระดับที่เห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยหน่วยกรองหลายแสนหน่วย เรียก เม็ดไต (renal corpuscle) ซึ่งแต่ละหน่วยประกอบด้วยโกลเมอรูลัสและโบว์แมนแคปซูล การประเมินการทำหน้าที่ของไตสากลมักใช้การประมาณอัตราการกรอง เรียก อัตราการกรองของโกลเมอรูลัส (glomerular filtration rate; GFR)

หน้าที่ของไต

หน้าที่ของไตสามารถแบ่งได้เป็นสามกลุ่ม คือ การหลั่งฮอร์โมน การสร้างกลูโคส (gluconeogenesis) และภาวะธำรงดุลนอกเซลล์ของ pH และองค์ประกอบของเลือด หน่วยไตเป็นหน่วยที่ทำหน้าที่ของไต

การหลั่งฮอร์โมน

  • การหลั่งอีรีโทรปอยอีติน (erythropoietin) ซึ่งกำกับการผลิตเม็ดเลือดแดงในไขกระดูก
  • การหลั่งเรนิน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน-อัลโดสเตอโรน (renin-angiotensin-aldosterone system)
  • การหลั่งรูปกัมมันต์ของวิตามินดี (แคลซิไตรออล, calcitriol) และพรอสตาแกลนดิน (prostaglandin)

การสร้างกลูโคส

ไตในมนุษย์สามารถผลิตกลูโคสได้จากแลกเตด กลีเซอรอลและกลูตามีน ไตรับผิดชอบการสร้างกลูโคสเกือบครึ่งหนึ่งของทั้งหมดในมนุษย์ที่อดอาหาร การกำกับการผลิตกลูโคสในไตเป็นฤทธิ์ของอินซูลิน แคตีโคลามีนและฮอร์โมนอื่น การสร้างกลูโคสของไตเกิดขึ้นในไตส่วนนอก ส่วนไตส่วนในไม่สามารถผลิตกลูโคสได้เนื่องจากขาดเอ็นไซม์ที่จำเป็น

ภาวะธำรงดุลนอกเซลล์

ไตรับผิดชอบต่อการรักษาสมดุลของสารต่อไปนี้

สาร คำอธิบาย หลอดไตส่วนต้น ห่วงเฮนเล หลอดไตส่วนปลาย ท่อรวม
กลูโคส หากกลูโคสไม่ถูกไตดูดซึมกลับ กลูโคสจะปรากฏในปัสสาวะ เป็นภาวะปัสสาวะมีน้ำตาล ซึ่งสัมพันธ์กับเบาหวาน การดูดซัมกลับ (เกือบ 100%) ผ่าน โปรตีนขนส่งโซเดียม-กลูโคส (ยอด) และ GLUT (ฐานข้าง)
โอลิโกเปปไทด์, โปรตีน, และกรดอะมิโน ทั้งหมดถูกดูดซึมกลับแทบทั้งหมด การดูดซึมกลับ
ยูเรีย การกำกับออสโมแลลิตี แปรผันตาม ADH การดูดซึมกลับ (50%) โดย การลำเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน การหลั่ง การดูดซึมกลับในท่อรวมส่วนนอก
โซเดียม ใช้ แอนตีพอร์ต Na-H, ซิมพอร์ต Na-กลูโคส, ช่องไอออนโซเดียม (เล็กน้อย) การดูดซึมกลับ (65%, ออสโมลเสมอ) การดูดซึมกลับ (25%, ส่วนขึ้นหนา, ซิมพอร์ต Na-K-2Cl) การดูดซึมกลับ (5%, ซิมพอร์ตโซเดียม-คลอไรด์) การดูดซึมกลับ (5%, เซลล์พรินซิพอล), กระตุ้นโดย อัลโดสเตอโรน ผ่าน ENaC
คลอไรด์ มักตามโซเดียม ใช้พลังงาน (ผ่านเซลล์) และไม่ใช้พลังงาน (ข้างเซลล์) การดูดซึมกลับ การดูดซึมกลับ (ส่วนขึ้นบาง, ส่วนขึ้นหนา, ซิมพอร์ต Na-K-2Cl) การดูดซึมกลับ (ซิมพอร์ตโซเดียม-คลอไรด์)
น้ำ ใช้ช่องน้ำเอควาพอริน ดูเพิ่มที่ การขับปัสสาวะ การดูดตามออสโมติกร่วมกับสารละลาย การดูดซึมกลับ (ส่วนลง) การดูดซึมกลับ (กำกับโดย ADH ผ่าน ตัวรับอาร์จินีนวาโซเพรสซิน 2)
ไบคาร์บอเนต ช่วยรักษาสมดุลกรด-เบส การดูดซึมกลับ (80–90%) การดูดซึมกลับ (ส่วนขึ้นหนา) การดูดซึมกลับ (เซลล์แทรก ผ่าน แบนด์ 3 และ เพนดริน)
โปรตอน ใช้ โปรตอนเอทีพีเอสช่องว่าง การหลั่ง (เซลล์แทรก)
โพแทสเซียม แปรผันตามความต้องการอาหาร การดูดซึมกลับ (65%) การดูดซึมกลับ (20%, ส่วนขึ้นหนา, ซิมพอร์ต Na-K-2Cl) การหลั่ง (พบมาก, ผ่าน Na+/K+- เอทีพีเอส, เพิ่มขึ้นโดย อัลโดสเตอโรน), หรือการดูดซึมกลับ (พบน้อย, ไฮโดรเจนโพแทสเซียมเอทีพีเอส)
แคลเซียม ใช้แคลเซียมเอทีพีเอส, ตัวแลกโซเดียม-แคลเซียม การดูดซึมกลับ การดูดซึมกลับ (ส่วนขึ้นหนา) ผ่านการลำเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน การดูดซึมกลับสนองต่อ PTH และ ↑ การดูดซึมกลับด้วยยาขับปัสสาวะไทอะไซด์
แมกนีเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียมแย่งกัน และส่วนเกินของธาตุหนึ่งอาจนำไปสู่การหลั่งอีกธาตุหนึ่ง การดูดซึมกลับ การดูดซึมกลับ (ส่วนขึ้นหนา) การดูดซึมกลับ
ฟอสเฟต ขับออกในรูปกรดไทเทรตได้ การดูดซึมกลับ (85%) โดย ตัวส่งร่วมโซเดียม/ฟอสเฟต ยับยั้งโดย ฮอร์โมนพาราไทรอยด์
คาร์บอกซิเลต การดูดซึมกลับ (100%) ผ่าน ตัวส่งคาร์บอกซิเลต

อ้างอิง

  1. . lib.mcg.edu
  2. . lib.mcg.edu
  3. . lib.mcg.edu
  4. . lib.mcg.edu
  5. . lib.mcg.edu
  6. VI. Mechanisms of Salt & Water Reabsorption
  7. . lib.mcg.edu
  8. . lib.mcg.edu
  9. . lib.mcg.edu
  10. Walter F., PhD. Boron. Medical Physiology: A Cellular And Molecular Approaoch. Elsevier/Saunders. ISBN 1-4160-2328-3. Page 799

สร, รว, ทยาไต, เป, นการศ, กษาสร, รว, ทยาของไต, นครอบคล, มการทำหน, าท, กอย, างของไต, รวมถ, งการด, ดซ, มกล, บซ, งกล, โคส, กรดอะม, โน, และสารโมเลก, ลเล, กอ, การกำก, บแร, ธาต, โซเด, ยม, โพแทสเซ, ยมและอ, เล, กโทรไลต, การกำก, บสมด, ลของเหลวและความด, นเล, อด, การธำรง. srirwithyait epnkarsuksasrirwithyakhxngit xnkhrxbkhlumkarthahnathithukxyangkhxngit rwmthungkardudsumklbsungkluokhs krdxamion aelasaromelkulelkxun karkakbaerthatuosediym ophaethsesiymaelaxielkothriltxun karkakbsmdulkhxngehlwaelakhwamdneluxd kartharngsmdulkrd ebs karphlithxromnhlaychnid rwmthungxiriothrpxyxitin aelakarplukvththiwitamindisrirwithyaitswnmaksuksathiradbhnwyit xnepnhnwythahnathielkthisudkhxngit aetlahnwyerimtndwyswnkrxngsungkrxngeluxdthiekhasuit khxngehlwthikrxngidcaihltamkhwamyawkhxnghnwyit sungepnokhrngsrangrupthxbudwyesllthiepliynipthahnathiechphaachnediywaelalxmrxbdwyhlxdeluxdfxy hnathihlkkhxngesllbuehlani khux kardudnaaelasaromelkulelkcakkhxngehlwthikrxngidklbekhasueluxd aelahlngkhxngesiycakeluxdxxkmaepnpssawakarthahnathithiehmaasmkhxngitcaepntxngidrbaelakrxngeluxdxyangephiyngphx karkrxngekidkhuninradbthiehndwyklxngculthrrsnodyhnwykrxnghlayaesnhnwy eriyk emdit renal corpuscle sungaetlahnwyprakxbdwyoklemxrulsaelaobwaemnaekhpsul karpraeminkarthahnathikhxngitsaklmkichkarpramanxtrakarkrxng eriyk xtrakarkrxngkhxngoklemxruls glomerular filtration rate GFR enuxha 1 hnathikhxngit 1 1 karhlnghxromn 1 2 karsrangkluokhs 1 3 phawatharngdulnxkesll 2 xangxinghnathikhxngit aekikhhnathikhxngitsamarthaebngidepnsamklum khux karhlnghxromn karsrangkluokhs gluconeogenesis aelaphawatharngdulnxkesllkhxng pH aelaxngkhprakxbkhxngeluxd hnwyitepnhnwythithahnathikhxngit karhlnghxromn aekikh karhlngxiriothrpxyxitin erythropoietin sungkakbkarphlitemdeluxdaednginikhkraduk karhlngernin sungepnpccysakhyinrabbernin aexngcioxethnsin xlodsetxorn renin angiotensin aldosterone system karhlngrupkmmntkhxngwitamindi aekhlsiitrxxl calcitriol aelaphrxstaaeklndin prostaglandin karsrangkluokhs aekikh itinmnusysamarthphlitkluokhsidcakaelketd kliesxrxlaelaklutamin itrbphidchxbkarsrangkluokhsekuxbkhrunghnungkhxngthnghmdinmnusythixdxahar karkakbkarphlitkluokhsinitepnvththikhxngxinsulin aekhtiokhlaminaelahxromnxun karsrangkluokhskhxngitekidkhuninitswnnxk swnitswninimsamarthphlitkluokhsidenuxngcakkhadexnismthicaepn phawatharngdulnxkesll aekikh itrbphidchxbtxkarrksasmdulkhxngsartxipni sar khaxthibay hlxditswntn hwngehnel hlxditswnplay thxrwmkluokhs hakkluokhsimthukitdudsumklb kluokhscapraktinpssawa epnphawapssawaminatal sungsmphnthkbebahwan 1 kardudsmklb ekuxb 100 phan oprtinkhnsngosediym kluokhs 2 yxd aela GLUT thankhang oxliokeppithd oprtin aelakrdxamion thnghmdthukdudsumklbaethbthnghmd 3 kardudsumklb yueriy karkakbxxsomaelliti aeprphntam ADH 4 5 kardudsumklb 50 ody karlaeliyngaebbimichphlngngan karhlng kardudsumklbinthxrwmswnnxkosediym ich aexntiphxrt Na H simphxrt Na kluokhs chxngixxxnosediym elknxy 6 kardudsumklb 65 xxsomlesmx kardudsumklb 25 swnkhunhna simphxrt Na K 2Cl kardudsumklb 5 simphxrtosediym khlxird kardudsumklb 5 esllphrinsiphxl kratunody xlodsetxorn phan ENaCkhlxird mktamosediym ichphlngngan phanesll aelaimichphlngngan khangesll 6 kardudsumklb kardudsumklb swnkhunbang swnkhunhna simphxrt Na K 2Cl kardudsumklb simphxrtosediym khlxird na ichchxngnaexkhwaphxrin duephimthi karkhbpssawa kardudtamxxsomtikrwmkbsarlalay kardudsumklb swnlng kardudsumklb kakbody ADH phan twrbxarcininwaosephrssin 2 ibkharbxent chwyrksasmdulkrd ebs 7 kardudsumklb 80 90 8 kardudsumklb swnkhunhna 9 kardudsumklb esllaethrk phan aebnd 3 aela ephndrin oprtxn ich oprtxnexthiphiexschxngwang karhlng esllaethrk ophaethsesiym aeprphntamkhwamtxngkarxahar kardudsumklb 65 kardudsumklb 20 swnkhunhna simphxrt Na K 2Cl karhlng phbmak phan Na K exthiphiexs ephimkhunody xlodsetxorn hruxkardudsumklb phbnxy ihodrecnophaethsesiymexthiphiexs aekhlesiym ichaekhlesiymexthiphiexs twaelkosediym aekhlesiym kardudsumklb kardudsumklb swnkhunhna phankarlaeliyngaebbimichphlngngan kardudsumklbsnxngtx PTH aela kardudsumklbdwyyakhbpssawaithxaisd aemkniesiym aekhlesiymaelaaemkniesiymaeyngkn aelaswnekinkhxngthatuhnungxacnaipsukarhlngxikthatuhnung kardudsumklb kardudsumklb swnkhunhna kardudsumklb fxseft khbxxkinrupkrdithethrtid kardudsumklb 85 ody twsngrwmosediym fxseft 2 ybyngody hxromnpharaithrxyd kharbxksielt kardudsumklb 100 10 phan twsngkharbxksielt xangxing aekikh Sect 7 Ch 6 Characteristics of Proximal Glucose Reabsorption lib mcg edu 2 0 2 1 Sect 7 Ch 5 Cotransport Symport lib mcg edu Sect 7 Ch 6 Proximal Reabsorption of Amino Acids Site of Reabsorption lib mcg edu Sect 7 Ch 6 Proximal Reabsorption of Urea lib mcg edu V Excretion of Organic Molecules lib mcg edu 6 0 6 1 VI Mechanisms of Salt amp Water Reabsorption Sect 7 Ch 6 Proximal Reabsorption of Bicarbonate lib mcg edu Sect 7 Ch 12 Proximal Tubular Reabsorption of Bicarbonate lib mcg edu Sect 7 Ch 12 Bicarbonate Reabsorption Thick Limb of Henle s Loop lib mcg edu Walter F PhD Boron Medical Physiology A Cellular And Molecular Approaoch Elsevier Saunders ISBN 1 4160 2328 3 Page 799ekhathungcak https th wikipedia org w index php title srirwithyait amp oldid 9597064, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม