fbpx
วิกิพีเดีย

สารประกอบอินทรีย์

อนินทรียสาร อนินทรียสาร หมายถึง สารประกอบเคมีที่อยู่ในสถานะใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ที่ประกอบด้วยโมเลกุลคาร์บอน ยกเว้นสารประกอบบางชนิดที่ไม่จัดว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์แม้ว่าจะมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบก็ตาม ตัวอย่างเช่น สารประกอบคาร์ไบน์, คาร์บอเนต, ออกไซด์ของคาร์บอนและไซยาไนด์ เช่นเดียวกับอัญรูปของคาร์บอน อย่างเช่น เพชรและแกรไฟต์ ซึ่งถูกจัดเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ความแตกต่างระหว่างสารประกอบคาร์บอนที่เป็นสารประกอบ "อินทรีย์" และ "อนินทรีย์" นั้น ถึงแม้ว่า "จะมีประโยชน์ในการจัดระเบียบวิชาเคมีอย่างกว้างขวาง... แต่ก็ค่อนข้างไร้เหตุผลอยู่เหมือนกัน"

มีเทนเป็นหนึ่งในสารประกอบอินทรีย์ที่เรียบง่ายที่สุด

เคมีอินทรีย์เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยทุกแง่มุมของสารประกอบอินทรีย์

ประวัติ

แต่เดิมนักเล่นแร่แปรธาตุในอดีตและนักวิทยาศาสตร์ในสมัยต่อมาเคยจัดให้สารที่มาจากสิ่งมีชีวิตเป็นสารอินทรีย์ แต่ต่อมาฟรีดริช เวอเลอร์สามารถสังเคราะห์ยูเรียขึ้นจากเกลืออนินทรีย์โพแทสเซียมไซยาเนตและแอมโมเนียมซัลเฟตได้สำเร็จในปี ค.ศ. 1828 เดิมยูเรียเคยถูกจัดให้เป็นสารประกอบอินทรีย์ เนื่องจากมันเป็นที่รู้จักกันว่าเกิดขึ้นเฉพาะในปัสสาวะของสิ่งมีชีวิต การทดลองของเวอเลอร์นั้นติดตามมาด้วยการสังเคราะห์สารอินทรีย์ที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นจากสารอนินทรีย์ได้โดยไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตใด ๆ

ปัจจุบันยังไม่มีการจำกัดความอย่างเป็นทางการ หนังสือเรียนบางเล่มจำกัดความไว้ว่าจะต้องเป็นสารที่มีพันธะ C-H หนึ่งตำแหน่งหรือมากกว่า ส่วนบางเล่มจำกัดความว่า สารประกอบอินทรีย์ทุกชนิดมีพันธะ C-C ส่วนหนังสือเล่มอื่นกล่าวว่าหากโมเลกุลของสารใดมีคาร์บอน สารนั้นจะเป็นสารอินทรีย์

ออกไซด์อย่างง่ายของคาร์บอนกับไซยาไนต์ เช่นเดียวกับอัญรูปของคาร์บอนและเฮไลด์คาร์บอนอย่างง่ายและซัลไฟต์ ซึ่งมักจะถูกจัดให้เป็นสารอนินทรีย์

กล่าวโดยสรุป คือ สารประกอบคาร์บอนส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์และสารประกอบส่วนใหญ่ที่มีพันธะ C-H เป็นสารอินทรีย์เช่นกัน แต่ไม่จำเป็นว่าสารประกอบอินทรีย์จะต้องมีพันธะ C-H เสมอไป อย่างเช่น ยูเรีย

การจำแนกประเภท

สารประกอบอินทรีย์สามารถจำแนกได้หลายวิธี การจำแนกแบบหนึ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ สารประกอบธรรมชาติกับสารประกอบสังเคราะห์ สารประกอบอินทรีย์ยังสามารถจำแนกประเภทหรือแยกย่อยจากการมีเฮเทโรอะตอม นั่นคือ สารประกอบโลหะอินทรีย์ ซึ่งมีพันธะระหว่างคาร์บอนกับโลหะและสารประกอบฟอสฟอรัสอินทรีย์ ซึ่งมีพันธะระหว่างคาร์บอนกับฟอสฟอรัส

การจำแนกประเภทอีกแบบหนึ่งนั้น แบ่งตามขนาดของสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งใช้แยกระหว่างโมเลกุลเล็กกับพอลิเมอร์

สารประกอบธรรมชาติ

สารประกอบธรรมชาติ หมายความถึง สารประกอบที่ผลิตขึ้นจากพืชหรือสัตว์ สารประกอบจำนวนมากยังคงถูกสกัดจากแหล่งธรรมชาติ เนื่องจากสารประกอบเหล่านี้จะแพงกว่ามากหากผลิตขึ้นโดยมนุษย์ ตัวอย่างเช่น น้ำตาลส่วนใหญ่ อัลคาลอยด์และเทอร์ปินอยด์บางชนิด สารอาหารบางชนิด เช่น วิตามินบี12 และโดยทั่วไปแล้วผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติเหล่านี้ที่มีโมเลกุลซับซ้อนขนาดใหญ่มักจะพบในความเข้มข้นพอสมควรในสิ่งมีชวิต

สารประกอบอื่นที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในชีวโมเลกุล คือ แอนติเจน, คาร์โบไฮเดรต, เอ็นไซม์, ฮอร์โมน, ลิพิตและกรดไขมัน, สารสื่อประสาท, กรดนิวคลีอิก, โปรตีน, เพปไทด์และกรดอะมิโน, เลกติน, วิตามินและไขมันและน้ำมัน

สารประกอบสังเคราะห์

สารประกอบที่ถูกจัดเตรียมขึ้นโดยการทำปฏิกิริยากับสารประกอบอื่นจะถูกเรียกว่า "สารประกอบสังเคราะห์" สารประกอบเหล่านี้อาจเป็นสารประกอบที่พบอยู่แล้วในพืชหรือสัตว์ (สารประกอบกึ่งสังเคราะห์) หรือสารที่ไม่พบตามธรรมชาติก็ได้ พอลิเมอร์ส่วนใหญ่ ซึ่งรวมไปถึงพลาสติกและยาง เป็นสารประกอบอินทรีย์สังเคราะห์หรือกึ่งสังเคราะห์

อ้างอิง

  1. L. Seager, Michael R. Slabaugh. Chemistry for Today: general, organic, and biochemistry. Thomson Brooks/Cole, 2004, p. 342. ISBN 0-534-39969-X
  2. S. A. Benner, K. G. Devine, L. N. Matveeva, D. H. Powell (2000). "The missing organic molecules on Mars". Proceedings of the National Academy of Sciences. 97 (6): 2425–2430. doi:10.1073/pnas.040539497. PMC 15945. PMID 10706606.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  3. Robert T. Morrison, Robert N. Boyd, and Robert K. Boyd, Organic Chemistry, 6th edition (Benjamin Cummings, 1992, ISBN 0-13-643669-2

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Organic Compounds Database (อังกฤษ)

สารประกอบอ, นทร, อน, นทร, ยสาร, อน, นทร, ยสาร, หมายถ, สารประกอบเคม, อย, ในสถานะใดก, ได, ไม, าจะเป, นของแข, ของเหลว, หร, อแก, ประกอบด, วยโมเลก, ลคาร, บอน, ยกเว, นสารประกอบบางชน, ดท, ไม, ดว, าเป, นแม, าจะม, คาร, บอนเป, นองค, ประกอบก, ตาม, วอย, างเช, สารประกอบคาร. xninthriysar xninthriysar hmaythung sarprakxbekhmithixyuinsthanaidkid imwacaepnkhxngaekhng khxngehlw hruxaeks thiprakxbdwyomelkulkharbxn ykewnsarprakxbbangchnidthiimcdwaepnsarprakxbxinthriyaemwacamikharbxnepnxngkhprakxbktam twxyangechn sarprakxbkharibn kharbxent xxkisdkhxngkharbxnaelaisyaind echnediywkbxyrupkhxngkharbxn xyangechn ephchraelaaekrift sungthukcdepnsarprakxbxninthriy khwamaetktangrahwangsarprakxbkharbxnthiepnsarprakxb xinthriy aela xninthriy nn thungaemwa camipraoychninkarcdraebiybwichaekhmixyangkwangkhwang aetkkhxnkhangirehtuphlxyuehmuxnkn 1 miethnepnhnunginsarprakxbxinthriythieriybngaythisud ekhmixinthriyepnaekhnnghnungkhxngwithyasastrthiwadwythukaengmumkhxngsarprakxbxinthriy enuxha 1 prawti 2 karcaaenkpraephth 2 1 sarprakxbthrrmchati 2 2 sarprakxbsngekhraah 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunprawti aekikhaetedimnkelnaeraeprthatuinxditaelankwithyasastrinsmytxmaekhycdihsarthimacaksingmichiwitepnsarxinthriy aettxmafridrich ewxelxrsamarthsngekhraahyueriykhuncakekluxxninthriyophaethsesiymisyaentaelaaexmomeniymsleftidsaercinpi kh s 1828 edimyueriyekhythukcdihepnsarprakxbxinthriy enuxngcakmnepnthiruckknwaekidkhunechphaainpssawakhxngsingmichiwit karthdlxngkhxngewxelxrnntidtammadwykarsngekhraahsarxinthriythisbsxnyingkhuncaksarxninthriyidodyimekiywkhxngkbsingmichiwitid pccubnyngimmikarcakdkhwamxyangepnthangkar hnngsuxeriynbangelmcakdkhwamiwwacatxngepnsarthimiphntha C H hnungtaaehnnghruxmakkwa swnbangelmcakdkhwamwa sarprakxbxinthriythukchnidmiphntha C C 2 swnhnngsuxelmxunklawwahakomelkulkhxngsaridmikharbxn sarnncaepnsarxinthriy 3 xxkisdxyangngaykhxngkharbxnkbisyaint echnediywkbxyrupkhxngkharbxnaelaehildkharbxnxyangngayaelaslift sungmkcathukcdihepnsarxninthriyklawodysrup khux sarprakxbkharbxnswnihyepnsarxinthriyaelasarprakxbswnihythimiphntha C H epnsarxinthriyechnkn aetimcaepnwasarprakxbxinthriycatxngmiphntha C H esmxip xyangechn yueriykarcaaenkpraephth aekikhsarprakxbxinthriysamarthcaaenkidhlaywithi karcaaenkaebbhnungthiehnidxyangchdecn khux sarprakxbthrrmchatikbsarprakxbsngekhraah sarprakxbxinthriyyngsamarthcaaenkpraephthhruxaeykyxycakkarmiehethorxatxm nnkhux sarprakxbolhaxinthriy sungmiphntharahwangkharbxnkbolhaaelasarprakxbfxsfxrsxinthriy sungmiphntharahwangkharbxnkbfxsfxrskarcaaenkpraephthxikaebbhnungnn aebngtamkhnadkhxngsarprakxbxinthriy sungichaeykrahwangomelkulelkkbphxliemxr sarprakxbthrrmchati aekikh sarprakxbthrrmchati hmaykhwamthung sarprakxbthiphlitkhuncakphuchhruxstw sarprakxbcanwnmakyngkhngthukskdcakaehlngthrrmchati enuxngcaksarprakxbehlanicaaephngkwamakhakphlitkhunodymnusy twxyangechn natalswnihy xlkhalxydaelaethxrpinxydbangchnid sarxaharbangchnid echn witaminbi12 aelaodythwipaelwphlitphnthcakthrrmchatiehlanithimiomelkulsbsxnkhnadihymkcaphbinkhwamekhmkhnphxsmkhwrinsingmichwitsarprakxbxunthimikhwamsakhyxyangyinginchiwomelkul khux aexntiecn kharobihedrt exnism hxromn liphitaelakrdikhmn sarsuxprasath krdniwkhlixik oprtin ephpithdaelakrdxamion elktin witaminaelaikhmnaelanamn sarprakxbsngekhraah aekikh sarprakxbthithukcdetriymkhunodykarthaptikiriyakbsarprakxbxuncathukeriykwa sarprakxbsngekhraah sarprakxbehlanixacepnsarprakxbthiphbxyuaelwinphuchhruxstw sarprakxbkungsngekhraah hruxsarthiimphbtamthrrmchatikid phxliemxrswnihy sungrwmipthungphlastikaelayang epnsarprakxbxinthriysngekhraahhruxkungsngekhraahxangxing aekikh L Seager Michael R Slabaugh Chemistry for Today general organic and biochemistry Thomson Brooks Cole 2004 p 342 ISBN 0 534 39969 X S A Benner K G Devine L N Matveeva D H Powell 2000 The missing organic molecules on Mars Proceedings of the National Academy of Sciences 97 6 2425 2430 doi 10 1073 pnas 040539497 PMC 15945 PMID 10706606 CS1 maint multiple names authors list link Robert T Morrison Robert N Boyd and Robert K Boyd Organic Chemistry 6th edition Benjamin Cummings 1992 ISBN 0 13 643669 2aehlngkhxmulxun aekikhOrganic Compounds Database xngkvs ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sarprakxbxinthriy amp oldid 9385770, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม