fbpx
วิกิพีเดีย

หลักการของเฮยเคินส์

หลักการของฮอยเกนส์ (ตามชื่อของนักฟิสิกส์ชาวดัตช์ คริสตียาน ฮอยเกนส์) เป็นวิธีการวิเคราะห์ปัญหาหน้าคลื่นของการแผ่ของคลื่น หลักการนี้ได้กล่าวว่า ที่แต่ละจุดของหน้าคลื่นที่กำลังเคลื่อนตัว จะกระทำตัวเสมือนเป็นจุดศูนย์กลางกำเนิดคลื่นใหม่ และหน้าคลื่นที่เคลื่อนตัวออกไปจะเสมือนกับเป็นผลรวมของคลื่นย่อย ซึ่งกำเนิดขึ้นจากจุดที่หน้าคลื่นเดิมได้วิ่งผ่าน มุมมองนี้มีส่วนช่วยให้สามารถทำความเข้าใจถึงปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของคลื่น เช่น การเลี้ยวเบนของคลื่น

การสะท้อนของคลื่นตามหลักของเฮยเคินส์

ตัวอย่างเช่น ถ้าห้องสองห้องนั้นเชื่อมต่อด้วยทางเดิน และมีการกำเนิดเสียงที่มุมหนึ่งของห้องหนึ่ง ผู้ที่อยู่ในอีกห้องหนึ่งจะสามารถได้ยินเสียงนี้ ราวกับว่าเสียงนี้มีจุดกำเนิดอยู่ที่ทางเดิน ซึ่งในความเป็นจริงการสั่นไหวของอากาศที่ทางเดินนี้เป็นแหล่งกำเนิดเสียงนี้นั่นเอง ในทำนองเดียวกันกับแสงวิ่งผ่านมุมของสิ่งกีดขวาง แต่ปรากฏการณ์นี้ยากที่จะสังเกตได้เนื่องมาจากแสงนั้นมีความยาวคลื่นที่สั้น

ปรากฏการณ์การแทรกสอดของแสง จากหน้าคลื่นของแสงจากจุดกำเนิดที่อยู่ห่างกัน ทำให้เกิดเป็นรูปแบบแถบสว่าง-มืดของการกระเจิง ดูตัวอย่างได้จากการทดลองช่องคู่ (double-slit experiment)

อ้างอิง

  1. http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/phyopt/huygen.html
  2. https://courses.lumenlearning.com/boundless-physics/chapter/diffraction

หล, กการของเฮยเค, นส, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกหล, กการของฮอยเกนส, ตามช, อของน, กฟ, กส, ชาวด, ตช, คร, สต, ยาน, ฮอยเกนส, เ. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkhlkkarkhxnghxyekns tamchuxkhxngnkfisikschawdtch khristiyan hxyekns epnwithikarwiekhraahpyhahnakhlunkhxngkaraephkhxngkhlun hlkkarniidklawwa thiaetlacudkhxnghnakhlunthikalngekhluxntw cakrathatwesmuxnepncudsunyklangkaenidkhlunihm aelahnakhlunthiekhluxntwxxkipcaesmuxnkbepnphlrwmkhxngkhlunyxy sungkaenidkhuncakcudthihnakhlunedimidwingphan 1 mummxngnimiswnchwyihsamarththakhwamekhaicthungpraktkarntang khxngkhlun echn kareliywebnkhxngkhlun 2 karsathxnkhxngkhluntamhlkkhxngehyekhins twxyangechn thahxngsxnghxngnnechuxmtxdwythangedin aelamikarkaenidesiyngthimumhnungkhxnghxnghnung phuthixyuinxikhxnghnungcasamarthidyinesiyngni rawkbwaesiyngnimicudkaenidxyuthithangedin sunginkhwamepncringkarsnihwkhxngxakasthithangedinniepnaehlngkaenidesiyngninnexng inthanxngediywknkbaesngwingphanmumkhxngsingkidkhwang aetpraktkarnniyakthicasngektidenuxngmacakaesngnnmikhwamyawkhlunthisnpraktkarnkaraethrksxdkhxngaesng cakhnakhlunkhxngaesngcakcudkaenidthixyuhangkn thaihekidepnrupaebbaethbswang mudkhxngkarkraecing dutwxyangidcakkarthdlxngchxngkhu double slit experiment xangxing aekikh http hyperphysics phy astr gsu edu hbase phyopt huygen html https courses lumenlearning com boundless physics chapter diffraction bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title hlkkarkhxngehyekhins amp oldid 9490870, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม