fbpx
วิกิพีเดีย

อหิงสา

อหิงสา หรือ อหึงสา (สันสกฤต: अहिंसा) หมายถึง การไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย คำว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง การไม่ใช้ความรุนแรง และในศาสนาแบบอินเดียหลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์

สัญลักษณ์ฝ่ามือและธรรมจักร สัญลักษณ์ของอหิงสาในศาสนาเชน

อหิงสาเป็นคุณธรรมหลักอย่างหนึ่งและเป็นความเชื่อสำคัญของศาสนาแบบอินเดียที่สำคัญ (ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธและศาสนาเชน) อหิงสาเป็นมโนทัศน์หลายมิติ ได้รับบันดาลใจจากข้อตั้งที่ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งปวงล้วนมีเสี้ยวหนึ่งของพลังงานวิญญาณเทวะ การทำร้ายสิ่งอื่นจึงเป็นการทำร้ายตนเอง อหิงสายังเกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ว่า ความรุนแรงใด ๆ มีผลกรรมสะท้อนกลับมา ขณะที่ปราชญ์ฮินดูสมัยโบราณบุกเบิกและพัฒนาหลักการอหิงสา มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมามีสถานะพิเศษในปรัชญาจริยธรรมของศาสนาเชน มหาตมา คานธี ขึ้นชื่อมากที่สุดว่าเป็นผู้เชื่อในหลักอหิงสาอย่างแรงกล้า

อ้างอิง

  1. Bajpai, Shiva (2011). The History of India - From Ancient to Modern Times, Himalayan Academy Publications (Hawaii, USA), ISBN 978-1-934145-38-8; see pages 8, 98
  2. Stephen H. Phillips & other authors (2008), in Encyclopedia of Violence, Peace, & Conflict (Second Edition), ISBN 978-0123739858, Elsevier Science, Pages 1347–1356, 701-849, 1867
  3. John Arapura in K. R. Sundararajan and Bithika Mukerji Ed. (1997), Hindu spirituality: Postclassical and modern, ISBN 978-8120819375; see Chapter 20, pages 392-417
  4. Chapple, C. (1990). Nonviolence to animals, earth and self in Asian Traditions (see Chapter 1). State University of New York Press (1993)

ดูเพิ่ม

อห, งสา, หร, อห, งสา, นสกฤต, अह, หมายถ, การไม, เบ, ยดเบ, ยน, การเว, นจากการทำร, าย, คำว, งหมายถ, การไม, ใช, ความร, นแรง, และในศาสนาแบบอ, นเด, ยหลายศาสนา, มโนท, ศน, งกล, าวใช, บส, งม, ตท, กชน, ดรวมท, งส, ตว, ญล, กษณ, าม, อและธรรมจ, กร, ญล, กษณ, ของในศาสนาเชน, เ. xhingsa hrux xhungsa snskvt अह स hmaythung karimebiydebiyn karewncakkartharay khawa xhingsa ynghmaythung karimichkhwamrunaerng aelainsasnaaebbxinediyhlaysasna monthsndngklawichkbsingmichiwitthukchnidrwmthngstw 1 sylksnfamuxaelathrrmckr sylksnkhxngxhingsainsasnaechn xhingsaepnkhunthrrmhlkxyanghnung 2 aelaepnkhwamechuxsakhykhxngsasnaaebbxinediythisakhy sasnahindu sasnaphuththaelasasnaechn xhingsaepnmonthsnhlaymiti 3 idrbbndaliccakkhxtngthiwasingmichiwitthngpwnglwnmiesiywhnungkhxngphlngnganwiyyanethwa kartharaysingxuncungepnkartharaytnexng xhingsayngekiywkhxngkbaenwkhidthiwa khwamrunaerngid miphlkrrmsathxnklbma khnathiprachyhindusmyobranbukebikaelaphthnahlkkarxhingsa monthsndngklawklaymamisthanaphiessinprchyacriythrrmkhxngsasnaechn 2 4 mhatma khanthi khunchuxmakthisudwaepnphuechuxinhlkxhingsaxyangaerngklaxangxing aekikh Bajpai Shiva 2011 The History of India From Ancient to Modern Times Himalayan Academy Publications Hawaii USA ISBN 978 1 934145 38 8 see pages 8 98 2 0 2 1 Stephen H Phillips amp other authors 2008 in Encyclopedia of Violence Peace amp Conflict Second Edition ISBN 978 0123739858 Elsevier Science Pages 1347 1356 701 849 1867 John Arapura in K R Sundararajan and Bithika Mukerji Ed 1997 Hindu spirituality Postclassical and modern ISBN 978 8120819375 see Chapter 20 pages 392 417 Chapple C 1990 Nonviolence to animals earth and self in Asian Traditions see Chapter 1 State University of New York Press 1993 duephim aekikhxhingsainsasnaechn bthkhwamekiywkbsasnaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy sasnaekhathungcak https th wikipedia org w index php title xhingsa amp oldid 8358475, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม