fbpx
วิกิพีเดีย

อะทอลล์

อะทอลล์ (อังกฤษ: atoll) เป็นเกาะปะการังรูปวงแหวนที่ล้อมรอบลากูน ที่อาจล้อมปิดลากูนโดยสมบูรณ์หรือล้อมรอบเป็นบางส่วนก็ได้

ภาพถ่ายจากดาวเทียมของอะทอลล์อาตาฟูในโตเกเลาในมหาสมุทรแปซิฟิก

ที่มาของคำ

คำว่าอะทอลล์มาจากภาษามัลดีฟส์ (ภาษาอินโด-อารยัน) เป็นภาษาที่ใช้พูดกันบนหมู่เกาะมัลดีฟส์ ออกเสียงว่า อะทอฬุ (ภาษามัลดีฟส์): އަތޮޅު, /'ət̪ɔɭu/)OED พบบันทึกเป็นภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี ค.ศ. 1625 เขียนว่า atollon อย่างไรก็ตามคำ ๆ นี้ถูกใช้โดยชาร์ลส์ ดาร์วิน (1842, หน้า 2) ซึ่งเป็นผู้บรรยายลักษณะของอะทอลล์ว่าเป็นลักษณะพิเศษของหมู่เกาะที่มีคุณสมบัติเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่มีแนวปะการังอาศัยอยู่ นิยามสมัยใหม่ของคำว่า อะทอลล์ เป็นไปตามที่แมคนีลอธิบายไว้ (1954, หน้า 396) ว่า "เป็นแนวปะการังรูปวงแหวนล้อมรอบลากูนที่ไม่มีส่วนของโหนกยื่นออกไปนอกเสียจากปะการังและเกาะเล็กเกาะน้อยที่ประกอบไปด้วยเศษชิ้นส่วนปะการัง" และการอธิบายของแฟร์บริดจ์ (1950 หน้า 341) ว่า "เป็นลักษณะเฉพาะของแนวปะการังรูปวงแหวนที่ล้อมรอบลากูนที่อยู่ตรงกลาง"

 
ภาพถ่ายดาวเทียมของอะทอลล์ในมัลดีฟส์โดยนาซ่า ด้วยจำนวนทั้งสิ้น 1,200 เกาะเรียงรายเป็นประเทศรวมแล้วประกอบไปด้วย 22 อะทอลล์

ขนาดและการกระจายตัว

การกระจายตัวของอะทอลล์ทั่วโลกพบอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก (หนาแน่นอยู่ในหมู่เกาะตูอาโมตู หมู่เกาะแคโรไลน์ หมู่เกาะมาร์แชลล์ หมู่เกาะทะเลคอรอล และกลุ่มของเกาะคิริบาตี ตูวาลู และโตเกเลา) และมหาสมุทรอินเดีย (อะทอลล์ของมัลดีฟส์ หมู่เกาะลักกาดีฟ หมู่เกาะชากอส และหมู่เกาะรอบนอกของเซเชลส์) อะทอลล์โบราณมีลักษณะเป็นเนินในพื้นที่หินปูนเรียกว่ารีฟนอล อะทอลล์ที่ใหญ่เป็นอันดับสองโดยคิดเฉพาะส่วนพื้นที่ที่เป็นบกคือเกาะอัลดาบราด้วยพื้นที่ 155 ตารางกิโลเมตร อะทอลล์ที่ใหญ่ที่สุดโดยคิดเป็นกลุ่มของเกาะคืออะทอลล์ฮูวาดุ อยู่ทางตอนใต้ของมัลดีฟส์รวมแล้วมีจำนวน 255 เกาะ

ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น ปะการังที่สร้างแนวปะการังสามารถอาศัยอยู่เจริญงอกงามได้ในเขตร้อนและกึ่งร้อนในทะเลที่มีน้ำอบอุ่น ดังนั้นอะทอลล์จึงพบได้เฉพาะในเขตร้อนและกึ่งร้อน อะทอลล์ที่อยู่ทางด้านเหนือสุดของโลกคืออะทอลล์เคอร์ที่ละติจูด 28° 24' เหนือใกล้ ๆ อะทอลล์อื่น ๆ ของหมู่เกาะฮาวายด้านตะวันตกเฉียงเหนือ อะทอลล์ทางด้านใต้สุดของโลกคือแนวปะการังเอลิซาเบธที่ละติจูด 29° 58' ใต้ ใกล้ ๆ กับแนวปะการังมิดเดิลตันที่ละติจูด 29° 29' ใต้ในทะเลแทสมันซึ่งทั้งสองอะทอลล์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนหมู่เกาะคอรอลซี อะทอลล์ทางซีกโลกใต้อื่น ๆได้แก่เกาะดูซีอยู่ในกลุ่มของหมู่เกาะพิตแคร์นที่ระดับละติจูด 24° 40' บางครั้งเกาะเบอร์มิวดาก็ถูกอ้างว่าเป็นอะทอลล์ที่อยู่ทางด้านเหนือสุดที่ระดับละติจูด 32° 24' ซึ่งที่ระดับละติจูดนี้แนวปะการังจะพัฒนาขึ้นมาไม่ได้ถ้าปราศจากกระแสน้ำอุ่นกัลฟสตรีม อย่างไรก็ตาม เบอร์มิวดาถือได้ว่าเป็นอะทอลล์เทียมด้วยรูปแบบทั่วไปของมันมีความละม้ายคล้ายคลึงกับอะทอลล์แต่มีการกำเนิดที่แตกต่างไปจากอะทอลล์เป็นอย่างมาก ทั้งนี้ไม่พบอะทอลล์ที่แนวเส้นศูนย์สูตรโดยตรง อะทอลล์ที่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรที่สุดคืออะรานูกะแห่งคิริบาติ ด้วยปลายด้านใต้สุดของมันห่างจากเส้นศูนย์สูตรไปทางทิศเหนือเพียง 12 กิโลเมตร

อะทอลล์ที่ใหญ่ที่สุดโดยรวมพื้นที่ทั้งหมด (ทั้งส่วนลากูนและส่วนพื้นดิน) คือ

  • ซาญา เดอ มาล์ฮา แบงค์ ทางด้านตะวันตกของมหาสมุทรอินเดีย (35,000 ตารางกิโลเมตร) (โดยไม่แยกนอร์ธแบงค์) จมลงไปแล้วอย่างน้อย 7 เมตร
  • แลนส์ดาวน์แบงค์ ทางตะวันตกของนิวแคลิโดเนีย (21,000 ตารางกิโลเมตร) จมลงไปแล้วอย่างน้อย 3.7 เมตร
  • เกรตชาโกสแบงค์ (12,642 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ส่วนที่เป็นพื้นดินเพียง 4.5 ตารางกิโลเมตร)
  • รีดแบงค์ หมู่เกาะสแปรตลี (8,866 ตารางกิโลเมตร) จมลงไปแล้ว 9 เมตร
  • แมคเคลสฟีลด์ ทะเลจีนใต้ (6,448 ตารางกิโลเมตร) จมลงไปแล้วอย่างน้อย 9.2 เมตร
  • นอร์ธแบงค์ (ริตชีแบงค์) ด้านเหนือของซาญา เดอ มาล์ฮา แบงค์) (5,800 ตารางกิโลเมตร) จมลงไปแล้วเกือบ 10 เมตร
  • เคย์ซาลแบงค์ บาฮามาส (5,226 ตารางกิโลเมตร มีส่วนที่เป็นพื้นดินเพียง 14.87 ตารางกิโลเมตร)
  • โรซาลินด์แบงค์ ทะเลแคริบเบียน (4,500 ตารางกิโลเมตร จมลงไปแล้วอย่างน้อย 7.3 เมตร
  • อะทอลล์ทิลแอดฮุนมาติ-มิลแอดฮุนมาดูลู มัลดีฟส์ (มีสองชื่อแต่มีโครงสร้างอะทอลล์เดียว) (3,850 ตารางกิโลเมตร ส่วนของพื้นดิน 51 ตารางกิโลเมตร)
  • หมู่เกาะเชสเตอร์ฟิลด์ นิวแคลิโดเนีย (3,500 ตารางกิโลเมตร ส่วนของพื้นดินน้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร)
  • อะทอลล์ฮูวาดุ มัลดีฟส์ (3,152 ตารางกิโลเมตร ส่วนของพื้นดิน 38.5 ตารางกิโลเมตร)
  • ตรักลากูน ชูค (3,130 ตารางกิโลเมตร)
  • หมู่เกาะซาบาลานา อินโดนีเซีย (2,694 ตารางกิโลเมตร)
  • ลิฮูรีฟ คอรอลซี (2,529 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดิน 1 ตารางกิโลเมตร)
  • บาสซาสเดอเปโดร (2,474.33 ตารางกิโลเมตร) จมลงไปแล้วประมาณ 16.4 เมตร
  • อาร์ดาเซียร์แบงค์ หมู่เกาะสแปรตลี (2,347 ตารางกิโลเมตร) มีเกาะขนาดเล็กทางด้านใต้
  • กาวาจาเลียน หมู่เกาะมาร์แชลล์ (2,304 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดิน 16.4 ตารางกิโลเมตร)
  • ไดมอนด์ไอเลตส์แบงค์ คอรอลซี (2,282 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดินน้อยกว่า 1 ตารางกิโลเมตร)
  • อะทอลล์นาโมนูอิโตะ ชูค (2,267 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดิน 4.4 ตารางกิโลเมตร)
  • อะทอลล์แอริ มัลดีฟส์ (2,252 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดิน 69 ตารางกิโลเมตร)
  • มาโรรีฟ หมู่เกาะฮาวายด้านตะวันตกเฉียงเหนือ 1934 ตารางกิโลเมตร
  • แรนจิโรเอ หมู่เกาะทัวโมตุ (1,762 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดิน 79 ตารางกิโลเมตร)
  • อะทอลล์กอลฮูมาดัลฮู มัลดีฟส์ (1,617 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดิน 79 ตารางกิโลเมตร)
  • แอททอลนอร์ธมาลี มัลดีฟส์ (1,565 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดิน 69 ตารางกิโลเมตร)
  • ออนตองจาวา หมู่เกาะโซโลมอน (1,500 ตารางกิโลเมตร มีส่วนของพื้นดิน 12 ตารางกิโลเมตร)

จากการเปรียบเทียบจะพบว่าส่วนที่เป็นพื้นดินของอะทอลล์จะเล็กกว่าพื้นที่ทั้งหมดมาก ๆ จาก ลิฟู (ขนาดพื้นดิน 1,146 ตารางกิโลเมตร) เป็นอะทอลล์ที่มีส่วนของปะการังยกขึ้นมาใหญ่ที่สุดของโลกตามด้วยเกาะเรนเนลล์ (660 ตารางกิโลเมตร) อย่างไรก็ตามจะพบว่าอะทอลล์ที่ใหญ่ที่สุดในแง่ของส่วนของพื้นดินคือคิริบาติซึ่งก็เป็นอะทอลล์ที่มีส่วนของปะการังยกขึ้นด้วย (ส่วนของพื้นดิน 321.37 ตารางกิโลเมตร และแหล่งข้อมูลอื่นให้ไว้ถึง 575 ตารางกิโลเมตร) ด้วยพื้นที่ลากูนหลัก 160 ตารางกิโลเมตร และลากูนอื่น ๆ 168 ตารางกิโลเมตร (แหล่งข้อมูลอื่นให้มีพื้นที่ลากูนทั้งหมด 319 ตารางกิโลเมตร)

การกำเนิด

 
ภาพเคลื่อนไหวนี้แสดงกระบวนการขั้นตอนการเกิดอะทอลล์ ส่วนของปะการังแสดงด้วยสีแทนและสีบานเย็นที่ยึดเจริญเติบโตอยู่บนเกาะกลางมหาสมุทรและเติบโตขึ้นเกิดเป็นแนวปะการังชายฝั่ง ในสภาพที่เหมาะสมแนวปะการังนี้จะขยายวงออกในขณะที่เกาะทางด้านในจะทรุดตัวลง ท้ายที่สุดเกาะก็จะจมลงไปอยู่ใต้ผิวน้ำโดยสมบูรณ์ปล่อยให้แนวปะการังรูปวงแหวนโตขึ้นและมีแอ่งน้ำเปิดเป็นลากูนในส่วนกลางของวงแหวน กระบวนการเกิดอะทอลล์นี้อาจใช้ระยะเวลายาวนานถึง 30 ล้านปี

ชาร์ลส์ ดาร์วิน ได้อธิบายการเกิดอะทอลล์ในมหาสมุทรแปซิฟิก (1842) จากการสังเกตเมื่อครั้งเดินเรือรอบโลกเป็นระยะเวลา 5 ปี HMS Beagle (1831–1836) คำอธิบายของเขาซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความถูกต้องโดยได้พิจารณาว่ามีความเกี่ยวข้องกับเกาะภูเขาไฟกลางมหาสมุทร ที่ได้พัฒนาเป็นแนวปะการังแล้วในที่สุดเป็นอะทอลล์ โดยมีลำดับของกระบวนการเกิดเริ่มต้นจากการทรุดตัวลงไปอย่างช้า ๆ ของเกาะภูเขาไฟ เขาให้เหตุผลว่าแนวปะการังชายฝั่งรอบ ๆ เกาะภูเขาไฟในทะเลเขตร้อนจะเติบโตขึ้นไปขณะที่เกาะจะจมลงและทำให้เกิดอะทอลล์ (เกาะแนวปะการัง) (อย่างที่พบในอายตูทากิ บาราบารา และอื่น ๆ) แนวปะการังชายฝั่งจะกลายเป็นแบริเออร์รีฟที่เป็นเหตุผลว่าด้านนอกของแนวปะการังจะดำรงตัวมันเองอยู่ได้ใกล้ ๆ ระดับทะเลที่มีการเจริญเติบโตต่อไปอย่างต่อเนื่องขณะที่ส่วนด้านในของแนวปะการังจะมีสภาพที่เสื่อมสภาพเกิดเป็นลากูนเนื่องจากมีสภาพที่ไม่เหมาะสมต่อตัวปะการังและสาหร่ายซึ่งเป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญยิ่งในการที่จะทำให้แนวปะการังมีการเติบโต ด้วยระยะเวลา ภูเขาไฟที่ดับแล้วจะจมตัวลงไปใต้น้ำทะเลขณะที่แนวปะการังจะเจริญเติบโตขึ้นมาปรากฏอยู่ และนี่ทำให้เกาะดังกล่าวกลายเป็นอะทอลล์

อะทอลล์ทั้งหลายเป็นผลผลิตมาจากการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตในทะเลเขตร้อน ดังนั้นอะทอลล์เหล่านี้จะพบได้เฉพาะในเขตที่น้ำทะเลมีความอบอุ่นเพียงพอเท่านั้น เกาะภูเขาไฟที่อยู่นอกเขตที่อุณหภูมิของน้ำมีความอบอุ่นเพียงพอซึ่งเป็นที่ต้องการของสิ่งมีชีวิตที่จะสร้างแนวปะการังได้นั้นจะพัฒนาไปเป็นซีเมาต์ด้วยการจมตัวลงไปใต้ทะเลและส่วนพื้นผิวก็ถูกกัดเซาะผุพังทำลายไป ส่วนเกาะที่อยู่ในเขตที่อุณหภูมิของน้ำมีความอบอุ่นเพียงพอแนวปะการังก็จะเติบโตขึ้นไปในอัตราเดียวกันกับอัตราการจมตัวของเกาะ เกาะที่อยู่ในตำแหน่งใกล้เข้าไปทางขั้วโลกจะพัฒนาไปเป็นซีเมาต์ ขณะที่เกาะที่อยู่ใกล้เข้าไปทางเส้นศูนย์สูตรจะพัฒนาไปเป็นอะทอลล์ (ดู อะทอลล์เคอร์)

รีจินัลด์ อัลด์เวิร์ธ ดาลี ได้อธิบายการเกิดอะทอลล์ที่ค่อนข้างจะแตกต่างไปจากการอธิบายของชาร์ล ดาร์วิน คือ เกาะภูเขาไฟทั้งหลายได้ถูกกัดเซาะทำลายไปโดยคลื่นและกระแสน้ำทะเลระหว่างยุคน้ำแข็งครั้งสุดท้ายซึ่งระดับทะเลในช่วงดังกล่าวอยู่ต่ำกว่าระดับปัจจุบันประมาณ 275 เมตร แล้วเกิดเป็นเกาะปะการัง (อะทอลล์) เมื่อทะเลค่อย ๆ เพิ่มระดับขึ้นจากการละลายของธารน้ำแข็ง มีการค้นพบร่องรอยของภูเขาไฟที่ลึกมากอยู่ใต้อะทอลล์หลายแห่ง (ดู อะทอลล์มิดเวย์) อย่างไรกตามยังมีข้อสงสัยอีกเล็กน้อยที่ว่าการเปลี่ยนแปลงระดับทะเลจะมีอิทธิพลต่ออะทอลล์และแนวปะการังอื่น ๆ จริงหรือ

อะทอลล์เป็นสถานที่ที่มีความสำคัญอีกแห่งหนึ่งด้วยเป็นบริเวณที่แร่แคลไซต์มีการเปลี่ยนไปเป็นแร่โดโลไมต์ ที่ระดับความลึกระดับหนึ่งของน้ำทะเลซึ่งมีสารละลายของแคลเซี่ยมคาร์บอเนตที่ไม่อิ่มตัวแต่จะอิ่มตัวสำหรับแร่โดโลไมต์ การไหลวนอันเกิดจากน้ำขึ้นน้ำลงและกระแสน้ำช่วยกระตุ้นให้เกิดกระบวนการนี้ นอกจากนี้กระแสไฮโดรเทอร์มอลที่เกิดจากภูเขาไฟด้านใต้ของอะทอลล์อาจมีบทบาทสำคัญนี้ด้วย

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

  • Darwin, C. 1842. The structure and distribution of coral reefs. London.
  • Dobbs, David. 2005. Reef Madness : Charles Darwin, Alexander Agassiz, and the Meaning of Coral. Pantheon. ISBN 0-375-42161-0
  • Fairbridge, R. W. 1950. Recent and Pleistocene coral reefs of Australia. J. Geol., 58(4): 330–401.
  • McNeil, F. S. 1954. Organic reefs and banks and associated detrital sediments. Amer. J. Sci., 252(7): 385–401.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Formation of Bermuda reefs

อะทอลล, งกฤษ, atoll, เป, นเกาะปะการ, งร, ปวงแหวนท, อมรอบลาก, อาจล, อมป, ดลาก, นโดยสมบ, รณ, หร, อล, อมรอบเป, นบางส, วนก, ได, ภาพถ, ายจากดาวเท, ยมของอาตาฟ, ในโตเกเลาในมหาสม, ทรแปซ, เน, อหา, มาของคำ, ขนาดและการกระจายต, การกำเน, างอ, เพ, แหล, งข, อม, ลอ, นท, มาของ. xathxll xngkvs atoll epnekaapakarngrupwngaehwnthilxmrxblakun thixaclxmpidlakunodysmburnhruxlxmrxbepnbangswnkidphaphthaycakdawethiymkhxngxathxllxatafuinotekelainmhasmuthraepsifik enuxha 1 thimakhxngkha 2 khnadaelakarkracaytw 3 karkaenid 4 xangxing 5 duephim 6 aehlngkhxmulxunthimakhxngkha aekikhkhawaxathxllmacakphasamldifs phasaxinod xaryn epnphasathiichphudknbnhmuekaamldifs xxkesiyngwa xathxlu phasamldifs އ ތ ޅ et ɔɭu OED phbbnthukepnphasaxngkvskhrngaerkinpi kh s 1625 ekhiynwa atollon xyangirktamkha nithukichodycharls darwin 1842 hna 2 sungepnphubrryaylksnakhxngxathxllwaepnlksnaphiesskhxnghmuekaathimikhunsmbtiepnexklksnechphaatwthimiaenwpakarngxasyxyu niyamsmyihmkhxngkhawa xathxll epniptamthiaemkhnilxthibayiw 1954 hna 396 wa epnaenwpakarngrupwngaehwnlxmrxblakunthiimmiswnkhxngohnkyunxxkipnxkesiycakpakarngaelaekaaelkekaanxythiprakxbipdwyesschinswnpakarng aelakarxthibaykhxngaefrbridc 1950 hna 341 wa epnlksnaechphaakhxngaenwpakarngrupwngaehwnthilxmrxblakunthixyutrngklang phaphthaydawethiymkhxngxathxllinmldifsodynasa dwycanwnthngsin 1 200 ekaaeriyngrayepnpraethsrwmaelwprakxbipdwy 22 xathxllkhnadaelakarkracaytw aekikhkarkracaytwkhxngxathxllthwolkphbxyuinmhasmuthraepsifik hnaaennxyuinhmuekaatuxaomtu hmuekaaaekhoriln hmuekaamaraechll hmuekaathaelkhxrxl aelaklumkhxngekaakhiribati tuwalu aelaotekela aelamhasmuthrxinediy xathxllkhxngmldifs hmuekaalkkadif hmuekaachakxs aelahmuekaarxbnxkkhxngesechls xathxllobranmilksnaepnenininphunthihinpuneriykwarifnxl xathxllthiihyepnxndbsxngodykhidechphaaswnphunthithiepnbkkhuxekaaxldabradwyphunthi 155 tarangkiolemtr xathxllthiihythisudodykhidepnklumkhxngekaakhuxxathxllhuwadu xyuthangtxnitkhxngmldifsrwmaelwmicanwn 255 ekaatamthiklawiwkhangtn pakarngthisrangaenwpakarngsamarthxasyxyuecriyngxkngamidinekhtrxnaelakungrxninthaelthiminaxbxun dngnnxathxllcungphbidechphaainekhtrxnaelakungrxn xathxllthixyuthangdanehnuxsudkhxngolkkhuxxathxllekhxrthilaticud 28 24 ehnuxikl xathxllxun khxnghmuekaahawaydantawntkechiyngehnux xathxllthangdanitsudkhxngolkkhuxaenwpakarngexlisaebththilaticud 29 58 it ikl kbaenwpakarngmidediltnthilaticud 29 29 itinthaelaethsmnsungthngsxngxathxlldngklawepnswnhnungkhxngdinaednhmuekaakhxrxlsi xathxllthangsikolkitxun idaekekaadusixyuinklumkhxnghmuekaaphitaekhrnthiradblaticud 24 40 bangkhrngekaaebxrmiwdakthukxangwaepnxathxllthixyuthangdanehnuxsudthiradblaticud 32 24 sungthiradblaticudniaenwpakarngcaphthnakhunmaimidthaprascakkraaesnaxunklfstrim xyangirktam ebxrmiwdathuxidwaepnxathxllethiymdwyrupaebbthwipkhxngmnmikhwamlamaykhlaykhlungkbxathxllaetmikarkaenidthiaetktangipcakxathxllepnxyangmak thngniimphbxathxllthiaenwesnsunysutrodytrng xathxllthixyuiklesnsunysutrthisudkhuxxaranukaaehngkhiribati dwyplaydanitsudkhxngmnhangcakesnsunysutripthangthisehnuxephiyng 12 kiolemtrxathxllthiihythisudodyrwmphunthithnghmd thngswnlakunaelaswnphundin khux 1 saya edx malha aebngkh thangdantawntkkhxngmhasmuthrxinediy 35 000 tarangkiolemtr odyimaeyknxrthaebngkh cmlngipaelwxyangnxy 7 emtr aelnsdawnaebngkh thangtawntkkhxngniwaekhliodeniy 21 000 tarangkiolemtr cmlngipaelwxyangnxy 3 7 emtr 2 ekrtchaoksaebngkh 12 642 tarangkiolemtr miphunthiswnthiepnphundinephiyng 4 5 tarangkiolemtr ridaebngkh hmuekaasaeprtli 8 866 tarangkiolemtr cmlngipaelw 9 emtr aemkhekhlsfild thaelcinit 6 448 tarangkiolemtr cmlngipaelwxyangnxy 9 2 emtr nxrthaebngkh ritchiaebngkh danehnuxkhxngsaya edx malha aebngkh 5 800 tarangkiolemtr cmlngipaelwekuxb 10 emtr ekhysalaebngkh bahamas 5 226 tarangkiolemtr miswnthiepnphundinephiyng 14 87 tarangkiolemtr orsalindaebngkh thaelaekhribebiyn 4 500 tarangkiolemtr cmlngipaelwxyangnxy 7 3 emtr xathxllthilaexdhunmati milaexdhunmadulu mldifs misxngchuxaetmiokhrngsrangxathxllediyw 3 850 tarangkiolemtr swnkhxngphundin 51 tarangkiolemtr hmuekaaechsetxrfild niwaekhliodeniy 3 500 tarangkiolemtr swnkhxngphundinnxykwa 10 tarangkiolemtr xathxllhuwadu mldifs 3 152 tarangkiolemtr swnkhxngphundin 38 5 tarangkiolemtr trklakun chukh 3 130 tarangkiolemtr 3 hmuekaasabalana xinodniesiy 2 694 tarangkiolemtr lihurif khxrxlsi 2 529 tarangkiolemtr miswnkhxngphundin 1 tarangkiolemtr bassasedxepodr 2 474 33 tarangkiolemtr cmlngipaelwpraman 16 4 emtr xardaesiyraebngkh hmuekaasaeprtli 2 347 tarangkiolemtr miekaakhnadelkthangdanit kawacaeliyn hmuekaamaraechll 2 304 tarangkiolemtr miswnkhxngphundin 16 4 tarangkiolemtr idmxndixeltsaebngkh khxrxlsi 2 282 tarangkiolemtr miswnkhxngphundinnxykwa 1 tarangkiolemtr xathxllnaomnuxiota chukh 2 267 tarangkiolemtr miswnkhxngphundin 4 4 tarangkiolemtr xathxllaexri mldifs 2 252 tarangkiolemtr miswnkhxngphundin 69 tarangkiolemtr maorrif hmuekaahawaydantawntkechiyngehnux 1934 tarangkiolemtr aernciorex hmuekaathwomtu 1 762 tarangkiolemtr miswnkhxngphundin 79 tarangkiolemtr xathxllkxlhumadlhu mldifs 1 617 tarangkiolemtr miswnkhxngphundin 79 tarangkiolemtr aexththxlnxrthmali mldifs 1 565 tarangkiolemtr miswnkhxngphundin 69 tarangkiolemtr xxntxngcawa hmuekaaosolmxn 1 500 tarangkiolemtr miswnkhxngphundin 12 tarangkiolemtr cakkarepriybethiybcaphbwaswnthiepnphundinkhxngxathxllcaelkkwaphunthithnghmdmak cak 4 lifu khnadphundin 1 146 tarangkiolemtr epnxathxllthimiswnkhxngpakarngykkhunmaihythisudkhxngolktamdwyekaaernenll 660 tarangkiolemtr xyangirktamcaphbwaxathxllthiihythisudinaengkhxngswnkhxngphundinkhuxkhiribatisungkepnxathxllthimiswnkhxngpakarngykkhundwy swnkhxngphundin 321 37 tarangkiolemtr aelaaehlngkhxmulxunihiwthung 575 tarangkiolemtr dwyphunthilakunhlk 160 tarangkiolemtr aelalakunxun 168 tarangkiolemtr aehlngkhxmulxunihmiphunthilakunthnghmd 319 tarangkiolemtr karkaenid aekikh phaphekhluxnihwniaesdngkrabwnkarkhntxnkarekidxathxll swnkhxngpakarngaesdngdwysiaethnaelasibaneynthiyudecriyetibotxyubnekaaklangmhasmuthraelaetibotkhunekidepnaenwpakarngchayfng insphaphthiehmaasmaenwpakarngnicakhyaywngxxkinkhnathiekaathangdanincathrudtwlng thaythisudekaakcacmlngipxyuitphiwnaodysmburnplxyihaenwpakarngrupwngaehwnotkhunaelamiaexngnaepidepnlakuninswnklangkhxngwngaehwn krabwnkarekidxathxllnixacichrayaewlayawnanthung 30 lanpi charls darwin idxthibaykarekidxathxllinmhasmuthraepsifik 1842 cakkarsngektemuxkhrngedineruxrxbolkepnrayaewla 5 pi HMS Beagle 1831 1836 khaxthibaykhxngekhasungidrbkaryxmrbwamikhwamthuktxngodyidphicarnawamikhwamekiywkhxngkbekaaphuekhaifklangmhasmuthr thiidphthnaepnaenwpakarngaelwinthisudepnxathxll odymiladbkhxngkrabwnkarekiderimtncakkarthrudtwlngipxyangcha khxngekaaphuekhaif ekhaihehtuphlwaaenwpakarngchayfngrxb ekaaphuekhaifinthaelekhtrxncaetibotkhunipkhnathiekaacacmlngaelathaihekidxathxll ekaaaenwpakarng xyangthiphbinxaytuthaki barabara aelaxun aenwpakarngchayfngcaklayepnaebriexxrrifthiepnehtuphlwadannxkkhxngaenwpakarngcadarngtwmnexngxyuidikl radbthaelthimikarecriyetibottxipxyangtxenuxngkhnathiswndaninkhxngaenwpakarngcamisphaphthiesuxmsphaphekidepnlakunenuxngcakmisphaphthiimehmaasmtxtwpakarngaelasahraysungepnxngkhprakxbthimikhwamsakhyyinginkarthicathaihaenwpakarngmikaretibot dwyrayaewla phuekhaifthidbaelwcacmtwlngipitnathaelkhnathiaenwpakarngcaecriyetibotkhunmapraktxyu aelanithaihekaadngklawklayepnxathxllxathxllthnghlayepnphlphlitmacakkarecriyetibotkhxngsingmichiwitinthaelekhtrxn dngnnxathxllehlanicaphbidechphaainekhtthinathaelmikhwamxbxunephiyngphxethann ekaaphuekhaifthixyunxkekhtthixunhphumikhxngnamikhwamxbxunephiyngphxsungepnthitxngkarkhxngsingmichiwitthicasrangaenwpakarngidnncaphthnaipepnsiematdwykarcmtwlngipitthaelaelaswnphunphiwkthukkdesaaphuphngthalayip swnekaathixyuinekhtthixunhphumikhxngnamikhwamxbxunephiyngphxaenwpakarngkcaetibotkhunipinxtraediywknkbxtrakarcmtwkhxngekaa ekaathixyuintaaehnngiklekhaipthangkhwolkcaphthnaipepnsiemat khnathiekaathixyuiklekhaipthangesnsunysutrcaphthnaipepnxathxll du xathxllekhxr ricinld xldewirth dali idxthibaykarekidxathxllthikhxnkhangcaaetktangipcakkarxthibaykhxngcharl darwin khux ekaaphuekhaifthnghlayidthukkdesaathalayipodykhlunaelakraaesnathaelrahwangyukhnaaekhngkhrngsudthaysungradbthaelinchwngdngklawxyutakwaradbpccubnpraman 275 emtr aelwekidepnekaapakarng xathxll emuxthaelkhxy ephimradbkhuncakkarlalaykhxngtharnaaekhng mikarkhnphbrxngrxykhxngphuekhaifthilukmakxyuitxathxllhlayaehng du xathxllmidewy xyangirktamyngmikhxsngsyxikelknxythiwakarepliynaeplngradbthaelcamixiththiphltxxathxllaelaaenwpakarngxun cringhruxxathxllepnsthanthithimikhwamsakhyxikaehnghnungdwyepnbriewnthiaeraekhlistmikarepliynipepnaerodolimt thiradbkhwamlukradbhnungkhxngnathaelsungmisarlalaykhxngaekhlesiymkharbxentthiimximtwaetcaximtwsahrbaerodolimt karihlwnxnekidcaknakhunnalngaelakraaesnachwykratunihekidkrabwnkarni nxkcaknikraaesihodrethxrmxlthiekidcakphuekhaifdanitkhxngxathxllxacmibthbathsakhynidwyxangxing aekikh 1 2 3 4 duephim aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb xathxllDarwin C 1842 The structure and distribution of coral reefs London Dobbs David 2005 Reef Madness Charles Darwin Alexander Agassiz and the Meaning of Coral Pantheon ISBN 0 375 42161 0 Fairbridge R W 1950 Recent and Pleistocene coral reefs of Australia J Geol 58 4 330 401 McNeil F S 1954 Organic reefs and banks and associated detrital sediments Amer J Sci 252 7 385 401 aehlngkhxmulxun aekikhFormation of Bermuda reefsekhathungcak https th wikipedia org w index php title xathxll amp oldid 9351756, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม