fbpx
วิกิพีเดีย

อายุรเวท

ระวังสับสนกับ อายุรศาสตร์

อายุรเวท เป็นระบบการแพทย์ทางเลือกที่มีที่มาทางประวัติศาสตร์ในอนุทวีปอินเดีย ทฤษฎีและวิถีปฏิบัติของอายุรเวททางการแพทย์นั้นถือว่าเป็นวิทยาศาสตร์ปลอม สมาคมแพทยศาสตร์อินเดีย (IMA) ได้กำหนดว่าการรักษาด้วยวิถีการแพทย์สมัยใหม่โดยผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์แบบอายุรเวทถือเป็นลักษณะหมอเถื่อน

พระธันวันตริ เทพเจ้าแห่งอายุรเวท ในภาพเป็นเทวรูปศิลปะทมิฬ

เอกสารและบันทึกเกี่ยวอายุรเวทจากยุคคลาสสิกที่สำคัญมักเริ่มต้นด้วยการบันทึกและการถ่ายทอดวิทยาการทางการแพทย์จากเทพเจ้า ไปยังฤษีหรือนักบวช และจากนั้นจึงมาถึงมนุษย์ที่เป็นแพทย์ ใน สุศรุตสังหีต นั้น สุศรุตะบันทึกว่าพระธันวันตริ เทพเจ้าแห่งอายุรเวทของศาสนาฮินดูได้อวตารลงมาเป็นกษัตริย์แห่งพาราณสีและได้ถ่ายทอดความรู้แพทยศาสตร์แก่กลุ่มแพทย์กลุ่มหนึ่ง ซึ่งหนึ่งในนั้นคือสุศรุตะ การรักษาแบบอายุรเวทมักมีพื้นฐานมาจากสารประกอบสมุนไพรที่ซับซ้อน, แร่ธาตุ และธาตุโลหะ (ซึ่งเป็นไปได้ว่าได้รับอิทธิพลมาจาก รสศาสตร์) Ancient ตำราอายุรเวทโบราณยังมีการสอนถึงวิธีปฏิบัติการศัลยกรรม เช่น การผ่าตัดเสริมจมูก, การกำจัดนิ่วในไต, การเย็บแผล และการกำจัดวัตถุแปลกปลอม อายุรเวทได้รับการพัฒนาและปรับให้เข้ากับความต้องการของตลาดตะวันตก โดยเฉพาะที่บาบาหริทาสได้ปรับอายุรเวทเข้ากับโลกตะวันตกในทศวรรษ 1970s และโดยกลุ่มมหาฤษีอายุรเวท ในทศวรรษ 1980s

แปดองค์

งานเขียนภาษาสันสกฤตบุคคบาสสิกที่เก่าแก่ที่สุดที่เกี่ยวกับอายุรเวทได้แบ่งการแพทย์ออกเป็นแปดองค์ประกอบ (องค์) (“อัษฏางค์”) การจัดรูปแบบให้วิชาแพทย์ประกอบด้วยแปดองค์ "การแพทย์ที่ซึ่งมีแปดองค์" (จิกิตสายาม อัษฏางคายาง चिकित्सायामष्टाङ्गायाम्) พบครั้งแรกในมหาภารตะ อัษฏางค์ (แปดองค์) นั้นประกอบด้วย:

  • กายจิกิตสา (Kāyachikitsā): แพทยศาสตร์ทั่วไป
  • กุมาร-ภฤตยะ (Kaumāra-bhṛtya): กุมารเวชศาสตร์
  • ศัลยตันตระ (Śalyatantra): ศัลยศาสตร์ และการผ่าวัตถุแปลกปลอมออก
  • ศาลากยตันตระ (Śhālākyatantra): เวชศาสตร์โสต สอ นาสิก และฟาริงซ์
  • ภูตวิทยา (Bhūtavidyā): การกำจัดวิญญาณร้ายที่สิงสู่ในร่าง
  • อคันทตันตระ/ หรือ วิษาคาร-ไวโรธตันตระ (พิษวิทยา): สารพิษและการระบาด
  • รสายันตันตระ (Rasāyantantra): การยืดอายุขัย
  • วาชีกรณตันตระ (Vājīkaraṇatantra): การศึกษาเกี่ยวกับการกระตุ้นทางเพศ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Meulenbeld, Gerrit Jan (1999). "Introduction". A History of Indian Medical Literature. Groningen: Egbert Forsten. ISBN 978-9069801247.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ kaufman
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ oxpsych
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Quack-2011
  5. "IMA Anti Quackery Wing". Indian Medical Association. The purpose of this compendium of court orders and various rules and regulations is to acquaint doctors regarding specific provisions and orders barring quackery by unqualified people, practitioners of Indian & Integrated Medicine to practice Modern Medicine.
  6. Zysk, Kenneth G. (1999). "Mythology and the Brāhmaṇization of Indian medicine: Transforming Heterodoxy into Orthodoxy". ใน Josephson, Folke (บ.ก.). Categorisation and Interpretation. Meijerbergs institut för svensk etymologisk forskning, Göteborgs universitet. pp. 125–145. ISBN 978-91-630-7978-8.
  7. Bhishagratna, Kaviraj Kunjalal (1907). An English Translation of the Sushruta Samhita Based on Original Sanskrit text. Calcutta: K. K. Bhishagratna. p. 1. สืบค้นเมื่อ 16 October 2015.
  8. Dhanvantari. (2010). In Encyclopædia Britannica. Retrieved 4 August 2010, from Encyclopædia Britannica Online
  9. Wujastyk, Dominik (2003). The Roots of Ayurveda: Selections from Sanskrit Medical Writings (3 ed.). London etc.: Penguin Books. ISBN 978-0-140-44824-5.
  10. Mukhopadhyaya, Girindranath (1913). The Surgical Instruments of the Hindus, with a Comparative Study of the Surgical Instruments of the Greek, Roman, Arab, and the Modern European Surgeons. Calcutta: Calcutta University. สืบค้นเมื่อ 16 October 2015.
  11. Ācārya, Yādava Trivikramātmaja, บ.ก. (1945). "Sūtrasthāna 1.7-9". Suśrutasaṃhitā. Bombay: Nirṇayasāgara Press. pp. 2–3.
  12. Ācārya, Yādava Trivikramātmaja, บ.ก. (1941). "Sūtrasthāna 30.28". The Carakasaṃhitā of Caraka, with the commentary by Cakrapāṇidatta, edited by Yadavaśarman Trivikarama Ācārya. Bombay: Nirṇayasāgara Press. p. 189.
  13. Wujastyk, Dominik (2003). "Indian Medicine". ใน Flood, Gavin (บ.ก.). The Blackwell Companion to Hinduism. Oxford: Blackwell. p. 394. ISBN 978-1405132510.
  14. Sharma, Priya Vrat (1999). Suśruta-Samhitā With English Translation of text…. 1. Varanasi: Chaukhambha Visvabharati. pp. 7–11.[ต้องการคำอ้างอิงเพื่อยืนยัน]
  15. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ GregoryFields
  16. Bhishagratna, Kaviraj Kunja Lal (1907). An English Translation of the Sushruta Samhita Based on Original Sanskrit Text. 1. Calcutta: The Author. pp. 2–6.
  17. Swami Sadashiva Tirtha (1998). The Ãyurveda Encyclopedia: Natural Secrets to Healing, Prevention & Longevity. ISBN 0-9658042-2-4.

อาย, รเวท, ระว, งส, บสนก, อาย, รศาสตร, เป, นระบบการแพทย, ทางเล, อกท, มาทางประว, ศาสตร, ในอน, ทว, ปอ, นเด, ทฤษฎ, และว, ปฏ, ของทางการแพทย, นถ, อว, าเป, นว, ทยาศาสตร, ปลอม, สมาคมแพทยศาสตร, นเด, ได, กำหนดว, าการร, กษาด, วยว, การแพทย, สม, ยใหม, โดยผ, ปฏ, การทางการแ. rawngsbsnkb xayursastr xayurewth epnrabbkaraephthythangeluxkthimithimathangprawtisastrinxnuthwipxinediy 1 thvsdiaelawithiptibtikhxngxayurewththangkaraephthynnthuxwaepnwithyasastrplxm 2 3 4 smakhmaephthysastrxinediy IMA idkahndwakarrksadwywithikaraephthysmyihmodyphuptibtikarthangkaraephthyaebbxayurewththuxepnlksnahmxethuxn 5 phrathnwntri ethphecaaehngxayurewth inphaphepnethwrupsilpathmil exksaraelabnthukekiywxayurewthcakyukhkhlassikthisakhymkerimtndwykarbnthukaelakarthaythxdwithyakarthangkaraephthycakethpheca ipyngvsihruxnkbwch aelacaknncungmathungmnusythiepnaephthy 6 in susrutsnghit nn susrutabnthukwaphrathnwntri ethphecaaehngxayurewthkhxngsasnahinduidxwtarlngmaepnkstriyaehngpharansiaelaidthaythxdkhwamruaephthysastraekklumaephthyklumhnung sunghnunginnnkhuxsusruta 7 8 karrksaaebbxayurewthmkmiphunthanmacaksarprakxbsmuniphrthisbsxn aerthatu aelathatuolha sungepnipidwaidrbxiththiphlmacak rssastr Ancient taraxayurewthobranyngmikarsxnthungwithiptibtikarslykrrm echn karphatdesrimcmuk karkacdniwinit kareybaephl aelakarkacdwtthuaeplkplxm 9 10 xayurewthidrbkarphthnaaelaprbihekhakbkhwamtxngkarkhxngtladtawntk odyechphaathibabahrithasidprbxayurewthekhakbolktawntkinthswrrs 1970s aelaodyklummhavsixayurewth inthswrrs 1980saepdxngkh aekikhnganekhiynphasasnskvtbukhkhbassikthiekaaekthisudthiekiywkbxayurewthidaebngkaraephthyxxkepnaepdxngkhprakxb xngkh xstangkh 11 12 karcdrupaebbihwichaaephthyprakxbdwyaepdxngkh karaephthythisungmiaepdxngkh cikitsayam xstangkhayang च क त स य मष ट ङ ग य म phbkhrngaerkinmhapharta 13 xstangkh aepdxngkh nnprakxbdwy 14 15 16 kaycikitsa Kayachikitsa aephthysastrthwip kumar phvtya Kaumara bhṛtya kumarewchsastr 17 slytntra Salyatantra slysastr aelakarphawtthuaeplkplxmxxk salakytntra Shalakyatantra ewchsastrost sx nasik aelafarings phutwithya Bhutavidya karkacdwiyyanraythisingsuinrang xkhnthtntra hrux wisakhar iworthtntra phiswithya sarphisaelakarrabad rsayntntra Rasayantantra karyudxayukhy wachikrntntra Vajikaraṇatantra karsuksaekiywkbkarkratunthangephsduephim aekikhkarfngekhm phraxswin karnwdkdaebbxayurewth xayurewth aephthysastr aelaslysastrbnthit phraiphschykhuru thatu xayurewth ohemoxphathi raychuxkarrksamaerngthiimaesdngphl ramuxnxangxing aekikh Meulenbeld Gerrit Jan 1999 Introduction A History of Indian Medical Literature Groningen Egbert Forsten ISBN 978 9069801247 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux kaufman xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux oxpsych xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Quack 2011 IMA Anti Quackery Wing Indian Medical Association The purpose of this compendium of court orders and various rules and regulations is to acquaint doctors regarding specific provisions and orders barring quackery by unqualified people practitioners of Indian amp Integrated Medicine to practice Modern Medicine Zysk Kenneth G 1999 Mythology and the Brahmaṇization of Indian medicine Transforming Heterodoxy into Orthodoxy in Josephson Folke b k Categorisation and Interpretation Meijerbergs institut for svensk etymologisk forskning Goteborgs universitet pp 125 145 ISBN 978 91 630 7978 8 Bhishagratna Kaviraj Kunjalal 1907 An English Translation of the Sushruta Samhita Based on Original Sanskrit text Calcutta K K Bhishagratna p 1 subkhnemux 16 October 2015 Dhanvantari 2010 In Encyclopaedia Britannica Retrieved 4 August 2010 from Encyclopaedia Britannica Online Wujastyk Dominik 2003 The Roots of Ayurveda Selections from Sanskrit Medical Writings 3 ed London etc Penguin Books ISBN 978 0 140 44824 5 Mukhopadhyaya Girindranath 1913 The Surgical Instruments of the Hindus with a Comparative Study of the Surgical Instruments of the Greek Roman Arab and the Modern European Surgeons Calcutta Calcutta University subkhnemux 16 October 2015 Acarya Yadava Trivikramatmaja b k 1945 Sutrasthana 1 7 9 Susrutasaṃhita Bombay Nirṇayasagara Press pp 2 3 Acarya Yadava Trivikramatmaja b k 1941 Sutrasthana 30 28 The Carakasaṃhita of Caraka with the commentary by Cakrapaṇidatta edited by Yadavasarman Trivikarama Acarya Bombay Nirṇayasagara Press p 189 Wujastyk Dominik 2003 Indian Medicine in Flood Gavin b k The Blackwell Companion to Hinduism Oxford Blackwell p 394 ISBN 978 1405132510 Sharma Priya Vrat 1999 Susruta Samhita With English Translation of text 1 Varanasi Chaukhambha Visvabharati pp 7 11 txngkarkhaxangxingephuxyunyn xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux GregoryFields Bhishagratna Kaviraj Kunja Lal 1907 An English Translation of the Sushruta Samhita Based on Original Sanskrit Text 1 Calcutta The Author pp 2 6 Swami Sadashiva Tirtha 1998 The Ayurveda Encyclopedia Natural Secrets to Healing Prevention amp Longevity ISBN 0 9658042 2 4 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xayurewth amp oldid 9190939, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม