fbpx
วิกิพีเดีย

อำนาจอธิปไตยของปวงชน

อำนาจอธิปไตยของปวงชน (Sovereignty of the People or Popular Sovereignty) หมายถึงแนวคิดที่ว่าแหล่งที่มาของอำนาจสูงสุดของรัฐ หรือ อำนาจอธิปไตยมีที่มาจากพลเมืองทุกๆคนภายในรัฐ จึงทำให้บางครั้งแนวคิดนี้ถูกเรียกว่าอธิปไตยของมหาชน (popular sovereignty) ซึ่งก็มีความหมายในลักษณะเดียวกัน เพียงแต่เน้นให้เห็นถึงรากฐานของอำนาจอธิปไตยที่มีความโยงใยกับประชาชนจำนวนมากในสังคมในระบอบประชาธิปไตย หรือ ก็คือแนวคิดที่ว่า “อำนาจเป็นของปวงประชามหาชน” (power belongs to the people) (Kurian, 2011: 1580-1581)

อรรถาธิบาย

อันที่จริงแนวคิดเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยนั้นเริ่มก่อตัวมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ในงานเขียนเรื่อง “เดอะ รีพับลิค” (De Republica) ของ ฌอง โบแดง (Jean Bodin) ที่สนับสนุนให้รัฐบาลของรัฐสมัยใหม่ทุกรัฐ มีอำนาจสูงสุดที่เรียกว่า “อำนาจอธิปไตย” (sovereignty) ในการบริหารประเทศ (Franklin, 1973: 41-53) แต่สิ่งที่ทำให้แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยในศตวรรษที่ 17 แตกต่างจากแนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยในปัจจุบันอยู่ที่เรื่องของ “ที่มา” ของอำนาจอธิปไตย เพราะในศตวรรษที่ 17 ที่มาของอำนาจอธิปไตยมักหนีไม่พ้นที่จะต้องอ้างอิงจากพระผู้เป็นเจ้าตามอิทธิพลของแนวคิดเทวสิทธิ์ (divine rights) แต่เมื่อแนวคิดทฤษฎีสัญญาประชาคมเริ่มเข้ามามีอิทธิพลในการอธิบายที่มาของอำนาจรัฐ และการกำเนิดรัฐจึงเริ่มทำให้แหล่งที่มาของอำนาจอธิปไตยได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คือ จากพระผู้เป็นเจ้ามาเป็นหมู่มวลมหาชน ผ่านข้อตกลงร่วมกันของคนในสังคมที่เรียกว่าสัญญาประชาคม และสัญญาประชาคมนั่นเองที่ทำให้ประชาชนได้กลายมาเป็นองค์อธิปัตย์แทนที่พระผู้เป็นเจ้า (Hinsley, 1986: 143)

โดยนักคิดในสำนักทฤษฎีสัญญาประชาคมที่ได้รับการกล่าวขาน และอ้างอิงมากที่สุดถึงแนวคิดที่เกี่ยวกับเรื่องอำนาจอธิปไตยของปวงชนนั้นก็คือ ฌอง ฌากส์ รุสโซ ผ่านแนวคิดเรื่องเจตจำนงร่วม (general will) ที่สนับสนุนให้ประชาชนทุกๆคนนั้นมีอำนาจในการปกครองโดยตรง ผ่านการออกเจตจำนงร่วมซึ่งหมายถึงการตัดสินใจของปัจเจกบุคคลที่คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม หรือ ผลประโยชน์สาธารณะในฐานะที่ประชาชนแต่ละคนนั้นเป็นส่วนหนึ่งขององคาพยพ (holism) ทั้งหมดของสังคมที่ไม่สามารถแบ่งแยกออกจากกันได้ (ฌอง ฌากส์ รุสโซ, 2550: 179-181)

ในโลกตะวันตกโดยเฉพาะประเทศที่เรียกตัวเองว่าเป็นประเทศเสรีประชาธิปไตย แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยของปวงชนเป็นพื้นฐานประการแรกๆ ที่จะต้องมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญเหมือนๆกันในทุกประเทศ เพราะเป็นการตอกย้ำให้เห็นถึงความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยของพลเมืองทุกๆ คน ซึ่งหากปราศจากหลักการที่ว่านี้แล้ว ย่อมเป็นไปไม่ได้ที่พลเมืองทุกคนในรัฐจะมีความเท่าเทียม และความเสมอภาคได้เลย และหากประชาชนไม่มีความเสมอภาคเท่าเทียม หรือ เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ประเทศนั้นก็ไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นประเทศเสรีประชาธิปไตยนั่นเอง

โดยการแสดงออกถึงความเป็นเจ้าของ และแหล่งที่มาของอำนาจอธิปไตยของปวงชนนั้นโดยมากแล้วมักแสดงผ่านการที่ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้แทน นั้นก็คือการใช้สิทธิของประชาชนในฐานะเจ้าของอำนาจ ซึ่งสิ่งนี้ได้ทำให้การเลือกตั้งกลายเป็นสิ่งจำเป็นขั้นพื้นฐานในการแสดงออกซึ่งแนวคิดดังกล่าวของประเทศเสรีประชาธิปไตย ไม่ว่าจะมีรูปแบบรัฐบาลเป็นแบบระบบรัฐสภา หรือ ระบบประธานาธิบดี หรือ รูปแบบอื่นใดก็ตาม ดังนั้นผู้ที่จะขึ้นมาขับเคลื่อนกลไกของอำนาจรัฐทั้งในทางนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการของประเทศเสรีประชาธิปไตยจึงย่อมต้องมีที่มาหรืออย่างน้อยที่สุดจะต้องเกี่ยวโยงกับประชาชนซึ่งเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง

ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย

สำหรับประเทศไทยนั้น แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยสูงสุดได้มีขึ้นตั้งแต่สมัยการปฏิรูปการปกครองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 แต่ที่มาของอำนาจยังคงอยู่ที่พระมหากษัตริย์ จนกระทั่ง ร.ศ.130 แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยของปวงชนจึงเริ่มเกิดขึ้นจากความพยายามปฏิวัติรัฐบาลของพระมหากษัตริย์แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จนกระทั่งอีกยี่สิบปีถัดมา แนวคิดดังกล่าวจึงได้บังเกิดเป็นรูปเป็นร่างชัดเจนขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญใน พ.ศ.2475 ซึ่งได้ทำให้ที่มา หรือ แหล่งอ้างอิงอำนาจอธิปไตยสูงสุดในการปกครองประเทศได้เปลี่ยนแปลงจากพระมหากษัตริย์ลงไปสู่ปวงชนชาวไทยทุกคน ดังปรากฏในมาตราที่ 1 ของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พุทธศักราช 2475 ว่า “อำนาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย”

แต่ด้วยการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างกลุ่มทางการเมืองที่นิยมในระบอบเก่า กับกลุ่มที่นิยมประชาธิปไตยสมัยใหม่ของการเมืองไทยภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ก็ได้ทำให้แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยของปวงชนเกิดความคลุมเครือในสถานะความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยของปวงชน เพราะรัฐธรรมนูญของไทยฉบับถัดมาทุกฉบับ (17 ฉบับ) ได้ดัดแปลงข้อความให้เป็นไปในลักษณะที่ว่า “อำนาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย...” จึงทำให้เกิดแนวคิดการตีความว่า ประชาชนแม้จะเป็นแหล่งที่มาของอำนาจสูงสุด แต่ก็ได้ยกอำนาจสูงสุดนั้นให้แก่องค์พระมหากษัตริย์เพื่อทรงใช้อำนาจนั้นผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล เพราะหากอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนแล้ว พระมหากษัตริย์ก็ไม่อาจใช้อำนาจนั้นโดยที่ประชาชนมิได้ถวายให้ได้ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้สถานะความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยของปวงชนดูจืดจางลง จากการเปลี่ยนแปลงเรื่องอำนาจอธิปไตย “เป็นของ” หรือ “มาจาก” ประชาชนกันแน่ ซึ่งความคลุมเครือนี้สุดท้ายได้นำไปสู่กระแสการถวายคืนพระราชอำนาจ ในขบวนการต่อสู้ทางการเมืองไทย ซึ่งนับเป็นสิ่งที่ขัดกับหลักการอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนเป็นอย่างยิ่ง เพราะการที่ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นสิทธิที่ไม่มีใครสามารถพรากเอาไปได้ (unalienable rights) ดังนั้นพวกเขาจึงไม่สามารถคืนสิทธินั้นให้แก่ผู้ใดได้เลยนั่นเอง

อ้างอิง

  1. Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
  2. Franklin, Julian H. (1973). Jean Bodin and the rise of absolutist theory. Cambridge: Cambridge University Press.
  3. Hinsley, F. H. (1986). Sovereignty. Cambridge: Cambridge University Press.
  4. ฌอง ฌากส์ รุสโซ (2550). สัญญาประชาคม. กรุงเทพฯ: ทับหนังสือ.

อำนาจอธ, ปไตยของปวงชน, sovereignty, people, popular, sovereignty, หมายถ, งแนวค, ดท, าแหล, งท, มาของอำนาจส, งส, ดของร, หร, อำนาจอธ, ปไตยม, มาจากพลเม, องท, กๆคนภายในร, งทำให, บางคร, งแนวค, ดน, กเร, ยกว, าอธ, ปไตยของมหาชน, popular, sovereignty, งก, ความหมายในล, ก. xanacxthipitykhxngpwngchn Sovereignty of the People or Popular Sovereignty hmaythungaenwkhidthiwaaehlngthimakhxngxanacsungsudkhxngrth hrux xanacxthipitymithimacakphlemuxngthukkhnphayinrth cungthaihbangkhrngaenwkhidnithukeriykwaxthipitykhxngmhachn popular sovereignty sungkmikhwamhmayinlksnaediywkn ephiyngaetennihehnthungrakthankhxngxanacxthipitythimikhwamoyngiykbprachachncanwnmakinsngkhminrabxbprachathipity hrux kkhuxaenwkhidthiwa xanacepnkhxngpwngprachamhachn power belongs to the people Kurian 2011 1580 1581 1 xrrthathibay aekikhxnthicringaenwkhidekiywkbxanacxthipitynnerimkxtwmatngaetkhriststwrrsthi 17 innganekhiyneruxng edxa riphblikh De Republica khxng chxng obaedng Jean Bodin thisnbsnunihrthbalkhxngrthsmyihmthukrth mixanacsungsudthieriykwa xanacxthipity sovereignty inkarbriharpraeths Franklin 1973 41 53 2 aetsingthithaihaenwkhideruxngxanacxthipityinstwrrsthi 17 aetktangcakaenwkhideruxngxanacxthipityinpccubnxyuthieruxngkhxng thima khxngxanacxthipity ephraainstwrrsthi 17 thimakhxngxanacxthipitymkhniimphnthicatxngxangxingcakphraphuepnecatamxiththiphlkhxngaenwkhidethwsiththi divine rights aetemuxaenwkhidthvsdisyyaprachakhmerimekhamamixiththiphlinkarxthibaythimakhxngxanacrth aelakarkaenidrthcungerimthaihaehlngthimakhxngxanacxthipityidepliynaeplngipcakedim khux cakphraphuepnecamaepnhmumwlmhachn phankhxtklngrwmknkhxngkhninsngkhmthieriykwasyyaprachakhm aelasyyaprachakhmnnexngthithaihprachachnidklaymaepnxngkhxthiptyaethnthiphraphuepneca Hinsley 1986 143 3 odynkkhidinsankthvsdisyyaprachakhmthiidrbkarklawkhan aelaxangxingmakthisudthungaenwkhidthiekiywkberuxngxanacxthipitykhxngpwngchnnnkkhux chxng chaks rusos phanaenwkhideruxngectcanngrwm general will thisnbsnunihprachachnthukkhnnnmixanacinkarpkkhrxngodytrng phankarxxkectcanngrwmsunghmaythungkartdsinickhxngpceckbukhkhlthikhanungthungphlpraoychnswnrwm hrux phlpraoychnsatharnainthanathiprachachnaetlakhnnnepnswnhnungkhxngxngkhaphyph holism thnghmdkhxngsngkhmthiimsamarthaebngaeykxxkcakknid chxng chaks rusos 2550 179 181 4 inolktawntkodyechphaapraethsthieriyktwexngwaepnpraethsesriprachathipity aenwkhideruxngxanacxthipitykhxngpwngchnepnphunthanprakaraerk thicatxngmibyytiiwinrththrrmnuyehmuxnkninthukpraeths ephraaepnkartxkyaihehnthungkhwamepnecakhxngxanacxthipitykhxngphlemuxngthuk khn sunghakprascakhlkkarthiwaniaelw yxmepnipimidthiphlemuxngthukkhninrthcamikhwamethaethiym aelakhwamesmxphakhidely aelahakprachachnimmikhwamesmxphakhethaethiym hrux epnecakhxngxanacxthipity praethsnnkimxacklawidwaepnpraethsesriprachathipitynnexngodykaraesdngxxkthungkhwamepnecakhxng aelaaehlngthimakhxngxanacxthipitykhxngpwngchnnnodymakaelwmkaesdngphankarthiprachachnipichsiththieluxktngphuaethn nnkkhuxkarichsiththikhxngprachachninthanaecakhxngxanac sungsingniidthaihkareluxktngklayepnsingcaepnkhnphunthaninkaraesdngxxksungaenwkhiddngklawkhxngpraethsesriprachathipity imwacamirupaebbrthbalepnaebbrabbrthspha hrux rabbprathanathibdi hrux rupaebbxunidktam dngnnphuthicakhunmakhbekhluxnklikkhxngxanacrththnginthangnitibyyti brihar aelatulakarkhxngpraethsesriprachathipitycungyxmtxngmithimahruxxyangnxythisudcatxngekiywoyngkbprachachnsungepnecakhxngxanacxthipityimthangidkthanghnungtwxyangkarnaipichinpraethsithy aekikhsahrbpraethsithynn aenwkhideruxngxanacxthipitysungsudidmikhuntngaetsmykarptirupkarpkkhrxngkhxngphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwrchkalthi 5 aetthimakhxngxanacyngkhngxyuthiphramhakstriy cnkrathng r s 130 aenwkhideruxngxanacxthipitykhxngpwngchncungerimekidkhuncakkhwamphyayamptiwtirthbalkhxngphramhakstriyaetimprasbkhwamsaerc cnkrathngxikyisibpithdma aenwkhiddngklawcungidbngekidepnrupepnrangchdecnkhunphayhlngkarepliynaeplngkarpkkhrxngcakrabxbsmburnayasiththirachymaepnrabxbphramhakstriyphayitrththrrmnuyin ph s 2475 sungidthaihthima hrux aehlngxangxingxanacxthipitysungsudinkarpkkhrxngpraethsidepliynaeplngcakphramhakstriylngipsupwngchnchawithythukkhn dngpraktinmatrathi 1 khxngphrarachbyytithrrmnuykarpkkhrxngaephndinsyam chwkhraw phuththskrach 2475 wa xanacsungsudkhxngpraethsnnepnkhxngrasdrthnghlay aetdwykartxsuthangkaremuxngrahwangklumthangkaremuxngthiniyminrabxbeka kbklumthiniymprachathipitysmyihmkhxngkaremuxngithyphayhlngcakkarepliynaeplngkarpkkhrxnginpi ph s 2475 kidthaihaenwkhideruxngxanacxthipitykhxngpwngchnekidkhwamkhlumekhruxinsthanakhwamepnecakhxngxanacxthipitykhxngpwngchn ephraarththrrmnuykhxngithychbbthdmathukchbb 17 chbb idddaeplngkhxkhwamihepnipinlksnathiwa xanacxthipitymacakpwngchnchawithy cungthaihekidaenwkhidkartikhwamwa prachachnaemcaepnaehlngthimakhxngxanacsungsud aetkidykxanacsungsudnnihaekxngkhphramhakstriyephuxthrngichxanacnnphankhnarthmntri rthspha aelasal ephraahakxanacxthipityepnkhxngpwngchnaelw phramhakstriykimxacichxanacnnodythiprachachnmiidthwayihid dwyehtunicungthaihsthanakhwamepnecakhxngxanacxthipitykhxngpwngchnducudcanglng cakkarepliynaeplngeruxngxanacxthipity epnkhxng hrux macak prachachnknaen sungkhwamkhlumekhruxnisudthayidnaipsukraaeskarthwaykhunphrarachxanac inkhbwnkartxsuthangkaremuxngithy sungnbepnsingthikhdkbhlkkarxanacxthipityepnkhxngpwngchnepnxyangying ephraakarthiprachachnepnecakhxngxanacxthipitysungepnsiththithiimmiikhrsamarthphrakexaipid unalienable rights dngnnphwkekhacungimsamarthkhunsiththinnihaekphuididelynnexngxangxing aekikh Kurian George Thomas 2011 The encyclopedia of political science Washington CQ Press Franklin Julian H 1973 Jean Bodin and the rise of absolutist theory Cambridge Cambridge University Press Hinsley F H 1986 Sovereignty Cambridge Cambridge University Press chxng chaks rusos 2550 syyaprachakhm krungethph thbhnngsux ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xanacxthipitykhxngpwngchn amp oldid 7743731, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม