fbpx
วิกิพีเดีย

เพลี้ยแป้ง

เพลี้ยแป้ง
Maconellicoccus hirsutus, เพลี้ยแป้งชบาสีชมพู
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ชั้น: Insecta
อันดับ: Hemiptera
อันดับย่อย: Sternorrhyncha
วงศ์: Pseudococcidae
Heymons, 1915 
Genera
มีหลายสกุลดูในบทความ

เพลี้ยแป้ง เป็นแมลงที่อยู่ในตระกูลเดียวกันกับเพลี้ยหอย (Coccidae) เพลี้ยแป้งแบ่งออกเป็น 2 พวก คือ เพลี้ยแป้งหางสั้น และเพลี้ยแป้งหางยาว ลักษณะตัวเพลี้ยมีขนาดเล็ก และมีสีขาว เพราะถูกสารขี้ผึ้ง ซึ่งขับออกมาคลุมตัวเพลี้ยไว้ และมีขาอ่อนเจริญออกมารอบตัวทำให้เคลื่อนที่ไปมาได้แต่ช้า

เพลี้ยตัวผู้แต่ละตัวอยู่ที่ต้นชบา, Maconellicoccus hirsutus.
มด Formica fusca ดูแลฝูงเพลี้ยแป้ง

ลักษณะเฉพาะ

ลักษณะของเพลี้ยแป้งมีลำตัวเป็นข้อ ปล้อง รูปร่างกลมหรือยาวรี ส่วนหัวและขาอยู่ใต้ลำตัว มี 6 ขา ไม่มีปีก มีผงแป้งคลุมตัว ปากเป็นแบบดูดกิน ขยายพันธุ์ได้ทั้งโดยการใช้เพศและไม่ใช้เพศ (Thelytokous parthenogenesis) ซึ่งเพศเมียไม่จำเป็นต้องได้รับการผสมพันธุ์จากเพศผู้ มีทั้งประเภทออกลูกเป็นไข่ (Oviparous) หรือออกลูกเป็นตัว (Viviparous)

ไข่ เพลี้ยแป้งมีไข่เป็นฟองเดี่ยว สีเหลืองอ่อน ยาวรี บรรจุอยู่ในถุงไข่ซึ่งมีเส้นใยคล้ายสำลีหุ้มไว้

ตัวอ่อน เพลี้ยแป้งมีตัวอ่อนสีเหลืองอ่อน ตัวยาวรี ตัวอ่อนวัยแรก (Crawlers) เคลื่อนที่ได้ มีการลอกคราบ 3 – 4 ครั้ง

ตัวเต็มวัย เพศเมีย มีลักษณะลำตัวค่อนข้างแบน บนหลังและด้านข้างมีขนปกคลุมมาก ชนิดวางไข่จะสร้างถุงไข่ไว้ใต้ท้อง มีลักษณะเป็นเส้นใยคล้ายสำลีหุ้มไว้อีกชั้นหนึ่ง ส่วนชนิดออกลูกเป็นตัวลำตัวป้อม กลมรี ส่วนหลังและด้านข้างมีแป้งเกาะ เพศผู้ มีปีก 1 คู่ ลักษณะคล้ายแตนหรือแมลงหวี่ ขนาดเล็กกว่าเพศเมีย

การดำรงชีวิต ดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืช เพลี้ยแป้งมักอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ปกติทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สามารถเคลื่อนไหวได้บ้าง แต่จากลักษณะการกินและการทำลายพืช จึงมักเห็นอยู่นิ่งไม่ค่อยเคลื่อนที่

วงจรชีวิต

ตัวเมียของเพลี้ยแป้งของต้นส้มสามารถออกไข่ได้ประมาณ 600 ฟอง ซึ่งจะถูกวางในถุงคลุมไข่ ไข่จะฟักออกมาภายใน 10 วันเป็นตัวนิมพ์ตัวเล็ก ๆ ซึ่งจะเคลื่อนไปมาบนต้นไม้และตามหาแหล่งอาหาร มันสามารถแพร่พันธุ์ได้มากสูงสุด 6 ครั้งต่อปี

นิสัย

เพลี้ยแป้งสามารถกินพืชได้หลากหลายชนิด จึงทำให้พืชหยุดการเจริญเติบโต ทำให้ใบไม้ผิดรูปหรือร่วง ทำให้ใบเหลือง และในบางครั้งอาจทำให้ต้นไม้ตายได้ โดยที่เพลี้ยแป้งผลิตน้ำหวานจำนวนมากซึ่งจะใช้เคลือบที่ต้นไม้และพื้นผิวโดยรอบด้วยชั้นที่เหนียว

สกุล

  • Acaciacoccus
  • Acinicoccus
  • Acrochordonus
  • Adelosoma
  • Agastococcus
  • Albertinia
  • Allomyrmococcus
  • Allotrionymus
  • Amonostherium
  • Anaparaputo
  • Anisococcus
  • Annulococcus
  • Anthelococcus
  • Antonina
  • Antoninella
  • Antoninoides
  • Apodastococcus
  • Artemicoccus
  • Asaphococcus
  • Asphodelococcus
  • Asteliacoccus
  • Atriplicicoccus
  • Atrococcus
  • Australicoccus
  • Australiputo
  • Balanococcus
  • Bessenayla
  • Bimillenia
  • Birendracoccus
  • Boninococcus
  • Boreococcus
  • Bouhelia
  • Brasiliputo
  • Brevennia
  • Brevicoccus
  • Callitricoccus
  • Calyptococcus
  • Cannococcus
  • Capitisetella
  • Cataenococcus
  • Chaetococcus
  • Chaetotrionymus
  • Chileputo
  • Chlorococcus
  • Chnaurococcus
  • Chorizococcus
  • Chryseococcus
  • Cintococcus
  • Circaputo
  • Cirnecoccus
  • Clavicoccus
  • Coccidohystrix
  • Coccura
  • Coleococcus
  • Colombiacoccus
  • Conicosoma
  • Conulicoccus
  • Coorongia
  • Cormiococcus
  • Criniticoccus
  • Crisicoccus
  • Crocydococcus
  • Cryptoripersia
  • Cucullococcus
  • Cyperia
  • Cypericoccus
  • Cyphonococcus
  • Dawa
  • Delococcus
  • Delottococcus
  • Densispina
  • Discococcus
  • Distichlicoccus
  • Diversicrus
  • Drymococcus
  • Dysmicoccus
  • Eastia
  • Ehrhornia
  • Electromyrmococcus
  • Epicoccus
  • Erimococcus
  • Eriocorys
  • Erioides
  • Erium
  • Eucalyptococcus
  • Eumirococcus
  • Eumyrmococcus
  • Eupeliococcus
  • Euripersia
  • Eurycoccus
  • Exilipedronia
  • Farinococcus
  • Ferrisia
  • Ferrisicoccus
  • Fijicoccus
  • Fonscolombia
  • Formicococcus
  • Gallulacoccus
  • Geococcus
  • Glycycnyza
  • Gomezmenoricoccus
  • Gouxia
  • Greenoripersia
  • Grewiacoccus
  • Hadrococcus
  • Heliococcus
  • Heterococcopsis
  • Heterococcus
  • Heteroheliococcus
  • Hippeococcus
  • Hopefoldia
  • Humococcus
  • Hypogeococcus
  • Iberococcus
  • Idiococcus
  • Indococcus
  • Inopicoccus
  • Ityococcus
  • Kenmorea
  • Kermicus
  • Kiritshenkella
  • Lachnodiella
  • Lachnodiopsis
  • Lacombia
  • Laingiococcus
  • Laminicoccus
  • Lankacoccus
  • Lantanacoccus
  • Lenania
  • Leptococcus
  • Leptorhizoecus
  • Liucoccus
  • Lomatococcus
  • Londiania
  • Longicoccus
  • Maconellicoccus
  • Macrocepicoccus
  • Maculicoccus
  • Madacanthococcus
  • Madagasia
  • Madangiacoccus
  • Madeurycoccus
  • Malaicoccus
  • Malekoccus
  • Mammicoccus
  • Marendellea
  • Mascarenococcus
  • Maskellococcus
  • Mauricoccus
  • Melanococcus
  • Metadenopsis
  • Metadenopus
  • Miconicoccus
  • Mirococcopsis
  • Mirococcus
  • Miscanthicoccus
  • Misericoccus
  • Mizococcus
  • Mollicoccus
  • Mombasinia
  • Moystonia
  • Mutabilicoccus
  • Nairobia
  • Natalensia
  • Neochavesia
  • Neoclavicoccus
  • Neoripersia
  • Neosimmondsia
  • Neotrionymus
  • Nesococcus
  • Nesopedronia
  • Nesticoccus
  • Nipaecoccus
  • Novonilacoccus
  • Octococcus
  • Odacoccus
  • Ohiacoccus
  • Oracella
  • Orococcus
  • Orstomicoccus
  • Oxyacanthus
  • Palaucoccus
  • Palmicultor
  • Paludicoccus
  • Pandanicola
  • Papuacoccus
  • Paracoccus
  • Paradiscococcus
  • Paradoxococcus
  • Paraferrisia
  • Paramococcus
  • Paramonostherium
  • Paramyrmococcus
  • Parapaludicoccus
  • Parapedronia
  • Paraputo
  • Pararhodania
  • Paratrionymus
  • Parkermicus
  • Paulianodes
  • Pedrococcus
  • Pedronia
  • Peliococcopsis
  • Peliococcus
  • Pellizzaricoccus
  • Penthococcus
  • Peridiococcus
  • Phenacoccus
  • Phyllococcus
  • Pilococcus
  • Planococcoides
  • Planococcus
  • Pleistocerarius
  • Plotococcus
  • Poecilococcus
  • Polystomophora
  • Porisaccus
  • Porococcus
  • Prorhizoecus
  • Prorsococcus
  • Pseudantonina
  • Pseudococcus
  • Pseudorhizoecus
  • Pseudorhodania
  • Pseudoripersia
  • Pseudotrionymus
  • Puto
  • Pygmaeococcus
  • Quadrigallicoccus
  • Rastrococcus
  • Renicaula
  • Rhizoecus
  • Rhodania
  • Ripersia
  • Ritsemia
  • Rosebankia
  • Saccharicoccus
  • Sarococcus
  • Scaptococcus
  • Seabrina
  • Serrolecanium
  • Seyneria
  • Spartinacoccus
  • Sphaerococcus
  • Spilococcus
  • Spinococcus
  • Stachycoccus
  • Stemmatomerinx
  • Stipacoccus
  • Strandanna
  • Stricklandina
  • Strombococcus
  • Synacanthococcus
  • Syrmococcus
  • Tangicoccus
  • Tasmanicoccus
  • Telocorys
  • Tibetococcus
  • Tomentocera
  • Trabutina
  • Tridiscus
  • Trimerococcus
  • Trionymus
  • Trochiscococcus
  • Turbinococcus
  • Tylococcus
  • Tympanococcus
  • Ventrispina
  • Villosicoccus
  • Volvicoccus
  • Vryburgia
  • Xenococcus
  • Yudnapinna

เพลี้ยแป้งกับการปรับตัว

เพลี้ยแป้งสามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศร้อนชื้น และมักแพร่ระบาดในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ในสภาวะที่ไม่เหมาะสม ไม่มีพืชอาหารหลัก เพลี้ยแป้งจะอาศัยอยู่ในดินตามรากพืช โดยมีมดเป็นแมลงพาหะ โดยมดจะเข้ามากินสิ่งขับถ่ายของเพลี้ยแป้งซึ่งมีลักษณะเหมือนน้ำหวาน และเป็นตัวพาไปบริเวณต้นอื่นหรือไม้ชนิดอื่น จึงเป็นการแพร่กระจายเพลี้ยแป้งได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้สิ่งขับถ่ายของเพลี้ยแป้งยังเป็นแหล่งอาหารที่ดีของราดำ เราจึงพบเสมอว่าเมื่อใดเกิดการระบาดของเพลี้ยแป้ง ในช่วงเวลาต่อมาจะพบการระบาดของโรคราดำตามมาด้วยทำให้ใบของลีลาวดีมีสีดำด่าง เปรอะเปื้อนไม่สวยงาม

ลักษณะการระบาดและทำลายของเพลี้ยแป้ง

ลักษณะการระบาด

ปริมาณการระบาดของเพลี้ยแป้งจะพบมากในช่วงฤดูแล้งหรือฝนทิ้งเป็นเวลานาน เมื่อพืชฟื้นตัวในช่วงฤดูฝนปริมาณการระบาดของเพลี้ยแป้งก็จะลดลง จากงานวิจัยที่ผ่านมา พบว่า การระบาดของเพลี้ยแป้งจะพบปริมาณมากในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากเมื่อความต้องการน้ำของพืชถูกจำกัดลง ใบที่สร้างขึ้นในช่วงแล้ง พบว่า เป็นใบมีกระบวนการเมตาโบลิซึมสูง ทำให้ใบมีคุณค่าทางอาหารสูงด้วยเหมาะต่อสภาวะการเจริญเติบโตของเพลี้ยแป้ง หรืออาจกล่าวได้ว่าเพลี้ยแป้งชอบดูดน้ำเลี้ยงของใบที่สร้างในช่วงแล้งมากกว่าในช่วงฝน นอกจากนี้แมลงที่เป็นตัวห้ำและตัวเบียนมีปริมาณลดลงในช่วงนี้ด้วย เพลี้ยแป้งสามารถระบาดจากพื้นที่หนึ่งไปยังพื้นที่อื่นได้โดยการติดไปกับคน ท่อนพันธุ์ กระแสลม และมดเป็นพาหนะนำตัวเพลี้ยแป้งไปเลี้ยงเพื่อรอดูดกินมูลหวาน ความเสียหายจากการทำลายของเพลี้ยแป้งต่อผลผลิตขึ้นอยู่กับระยะการเจริญเติบโตของมันสำปะหลัง โดย การระบาดของเพลี้ยแป้งในช่วงระยะแรกของการเจริญเติบโต (1-4 เดือน) จะส่งผลกระทบต่อผลผลิตมากกว่าระยะกลาง (4-8 เดือน) และปลายของการเจริญเติบโต (8-12 เดือน) จากรายงานที่ผ่านมา พบว่า ในประเทศโคลอมเบียผลผลิตลดลง 68-88 เปอร์เซ็นต์ ส่วนประเทศในอัฟริกาผลผลิตลดลงมากถึง 80 เปอร์เซ็นต์

 
การทำลายของเพลี้ยแป้งด้วยการดูดน้ำเลี้ยงโดยใช้ส่วนของปากที่เป็นท่อยาวดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วน (ก) ลำต้น (ข) ใบ และ (ค) ยอดของมันสำปะหลัง

การทำลายของเพลี้ยแป้ง

ลักษณะการทำลายของเพลี้ยแป้ง คือ การดูดน้ำเลี้ยง โดยใช้ส่วนของปากที่เป็นท่อยาว ดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนยอด ใบ ตา และลำต้น บางครั้งอาจพบการดูดน้ำเลี้ยงในส่วนของรากมันสำปะหลัง เพลี้ยแป้งสามารถระบาดและทำลายมันสำปะหลังในทุกระยะการเจริญเติบโต โดยเพลี้ยแป้งจะขับถ่ายมูลที่มีลักษณะของเหลวข้นเหนียวมีรสหวาน ทำให้เกิดราดำปกคลุมปิดบังบางส่วนของใบพืช มีผลทำให้การสังเคราะห์แสงของพืชลดลง ส่วนในปากที่เป็นท่อยาวของเพลี้ยแป้งที่กำลังดูดน้ำเลี้ยง อาจมีฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโตถูกขับออกมาด้วย ทำให้ส่วนลำต้นที่ถูกทำลายด้วยเพลี้ยแป้ง มีข้อถี่มาก มีการแตกใบเป็นพุ่มหนาเป็นกระจุก โดยส่วนของยอด ใบ และลำต้นอาจแห้งตายไปในที่สุดหลังจากถูกเพลี้ยแป้งดูดน้ำเลี้ยง ส่วนของลำต้นที่ถูกเพลี้ยแป้งดูดน้ำเลี้ยง มีผลทำให้ท่อนพันธุ์แห้งเร็ว อายุการเก็บรักษาสั้น โดย ให้ความงอกต่ำและงอกช้ากว่าปกติมาก เพลี้ยแป้งบางชนิดอาจเป็นพาหนะของเชื้อไวรัสเข้าสู่พืชก็ได้

การป้องกันและการกำจัด

การป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้ง ใช้น้ำพ่นให้ถูกตัวอย่างแรง เพลี้ยแป้งก็จะหลุดจากต้นพืช สำหรับการใช้สารเคมี สามารถใช้มาลาไธออน 0.5 กิโลกรัม หรือ ไดอะซินอน 200 กรัม หรือ ทริไธออน 200 กรัม ผสมกับน้ำ 450 ลิตร พ่นทุก 3-4 สัปดาห์ต่อครั้ง ph จะประมาณ8.5-10.5

ชนิดของเพลี้ยแป้งแมลงศัตรูในมันสำปะหลังในไทย

เพลี้ยแป้งอยู่ในวงศ์ Pseudococcidae อันดับ Homoptera เป็นแมลงชนิดปากดูด (piercing-sucking type) เพลี้ยแป้งชนิดที่สำคัญที่พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังของประเทศไทย มี4 ชนิด ดังนี้คือ

 
รูปร่างเพลี้ยแป้งเพศเมียตัวเต็มวัยที่ระบาดในมันสำปะหลัง

1. เพลี้ยแป้งตัวลาย (striped mealybug) เพลี้ยแป้งชนิดนี้พบว่าระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมัน สำปะหลัง ที่ผ่านมามีระดับความรุนแรงไม่ถึงขั้นเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมโดยศัตรูตาม ธรรมชาติอย่างสมดุลจากตัวห้ำและตัวเบียน ลักษณะเด่นของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ก็คือ ลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสี เทาเข็ม มีไขแป้งปกคลุมลำตัว เส้นขนขึ้นหนาแน่น โดย ขนที่ปกคลุมลำตัวยาวและเป็นเงาคล้ายใยแก้ว มีแถบ ดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ที่ปลายท้องมีหาง คล้ายเส้นแป้ง 2 เส้นยาวครึ่งหนึ่งของความยาวลำตัว

2. เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug) เพลี้ยแป้งชนิดนี้พบว่าระบาดเฉพาะบางท้องที่ในพื้นที่ปลูก มันสำปะหลัง ลักษณะเด่นของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ก็คือ ลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีไขแป้ง สีขาวปก คลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งด้านข้างลำตัว

3. เพลี้ยแป้งสีชมพู (pink mealybug) เพลี้ยแป้งชนิดนี้พบว่าระบาดโดยทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ในปี พ.ศ. 2551 มีการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้อย่างรุนแรง มีผลเสียหายทางเศรษฐกิจในทุกภาค ของพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ลักษณะเด่นของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ก็คือ ลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีไขแป้งสีขาว ปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรืออาจไม่ปรากฏให้เห็นเลย เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น

 
ชีพจักรของเพลี้ยแป้งใช้เวลาโดยเฉลี่ย 60 วัน ตั้งแต่วางไข่ในถุงตั้งแต่ 50-600 ฟอง ฟักเป็นตัวอ่อน จนกลายเป็นเพลี้ยแป้งตัวเต็มวัยโดยตัวเต็มวัยเพศเมียไม่มีปีกมีจำนวนมากกว่าตัวเต็มวัยเพศผู้ที่มีปีกสามารถบินได้

4. เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-Beardsley mealybug) เพลี้ยแป้งชนิดนี้พบว่าระบาดโดยทั่วไปใน พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ลักษณะเด่นของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ก็คือ ลำตัวรูปไข่ค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีไขแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้น แป้งด้านข้างลำตัว

ชีวและนิเวศวิทยาของเพลี้ยแป้ง

เพลี้ยแป้งเพศเมียเต็มวัยสามารถขยายพันธุ์ได้ โดย ไม่ต้องผสมพันธุ์จากเพศผู้ มีทั้งสามารถออกลูกเป็นตัว และออกลูกเป็นไข่แล้วฟักเป็นตัวอ่อนได้ แต่ส่วนใหญ่ออกลูกเป็นไข่ โดย วางไข่เป็นเม็ด เวลาวางไข่จะสร้างถุงไข่ไว้ใต้ท้องมีลักษณะเป็นใยคล้ายสำลีหุ้มไข่ไว้อีกชั้นหนึ่ง มีขนาดกว้าง 0.20 มิลลิเมตร ยาว 0.40 มิลลิเมตร ถุงไขมีจำนวนไข่ ตั้งแต่ 50-600 ฟอง ใช้เวลาวางไข่ 7 วัน ไข่ มีลักษณะเป็นเม็ดเดียว สีเหลืองอ่อน รูปร่างยาวรี ส่วนตัวอ่อนวัยแรกที่ฟักออกจากไข่ มีสีเหลืองอ่อน ลำตัวยาวรี สามารถเคลื่อนที่ได้ หลังจากนั้นลอกคราบ 3-4 ครั้ง ระยะตัวอ่อนใช้เวลา 18-59 วัน ตัวอ่อนมีขนาดกว้าง 1.00 มิลลิเมตร ยาว 2.09 มิลลิเมตร โดย ตัวอ่อนเริ่มมีหาง สามารถสร้างแป้งและไขแป้งสีขาวห่อหุ้มรอบลำตัวได้ สำหรับตัวเมียเต็มวัย มีลักษณะตัวค่อนข้างแบน บนหลังและรอบลำตัวมีไขแป้งปกคลุมมาก มีขนาดกว้าง 1.83 มิลลิเมตร ยาว 3.03 มิลลิเมตร และหางยาว 1.57 มิลลิเมตร ตัวเมียเต็มวัยอายุประมาณ 10 วัน สามารถวางไข่หรือออกลูกได้ ส่วนตัวผู้เต็มวัยมีปีกบินได้และหนวดยาว ขนาดกว้าง 0.45 มิลลิเมตร ยาว 1.35 มิลลิเมตร ปีกยาว 1.57 มิลลิเมตร เพลี้ยแป้งบางชนิดเท่านั้นที่ไข่พัฒนาเป็นตัวเต็มวัยเพศผู้ รวมชีพจักรเพลี้ยแป้ง ตั้งแต่ 35-92 วัน

อ้างอิง

  1. "Pseudococcidae Heymons, 1915". ระบบข้อมูลการจำแนกพันธุ์แบบบูรณาการ.
  2. Encyclopedia of Life
  3. http://forecast.doae.go.th/web/2011-06-30-07-05-57/340-2011-06-30-07-58-40/1247-2011-07-04-01-51-57.html
  4. http://www.sotus.co.th/index.php?hl=th&p=340
  5. http://www.thaitapiocastarch.org/article20_th.asp
  6. http://www.tapiocathai.org/Articles/Year53/disaster_.Dr.opas%20.pdf
  7. http://www.thaitapiocastarch.org/article20_th.asp

เพล, ยแป, maconellicoccus, hirsutus, ชบาส, ชมพ, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, animaliaไฟล, arthropodaช, insectaอ, นด, hemipteraอ, นด, บย, อย, sternorrhynchaวงศ, pseudococcidae, heymons, 1915, generaม, หลายสก, ลด, ในบทความ, เป, นแมลงท, อย, ในตระก, ลเด,. ephliyaepngMaconellicoccus hirsutus ephliyaepngchbasichmphukarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Arthropodachn Insectaxndb Hemipteraxndbyxy Sternorrhynchawngs Pseudococcidae Heymons 1915 1 Generamihlayskulduinbthkhwam 2 ephliyaepng epnaemlngthixyuintrakulediywknkbephliyhxy Coccidae ephliyaepngaebngxxkepn 2 phwk khux ephliyaepnghangsn aelaephliyaepnghangyaw lksnatwephliymikhnadelk aelamisikhaw ephraathuksarkhiphung sungkhbxxkmakhlumtwephliyiw aelamikhaxxnecriyxxkmarxbtwthaihekhluxnthiipmaidaetcha ephliytwphuaetlatwxyuthitnchba Maconellicoccus hirsutus md Formica fusca duaelfungephliyaepng enuxha 1 lksnaechphaa 2 wngcrchiwit 3 nisy 4 skul 5 ephliyaepngkbkarprbtw 6 lksnakarrabadaelathalaykhxngephliyaepng 6 1 lksnakarrabad 6 2 karthalaykhxngephliyaepng 7 karpxngknaelakarkacd 8 chnidkhxngephliyaepngaemlngstruinmnsapahlnginithy 9 chiwaelaniewswithyakhxngephliyaepng 10 xangxinglksnaechphaa aekikhlksnakhxngephliyaepngmilatwepnkhx plxng ruprangklmhruxyawri swnhwaelakhaxyuitlatw mi 6 kha immipik miphngaepngkhlumtw pakepnaebbdudkin khyayphnthuidthngodykarichephsaelaimichephs Thelytokous parthenogenesis sungephsemiyimcaepntxngidrbkarphsmphnthucakephsphu mithngpraephthxxklukepnikh Oviparous hruxxxklukepntw Viviparous ikh ephliyaepngmiikhepnfxngediyw siehluxngxxn yawri brrcuxyuinthungikhsungmiesniykhlaysalihumiwtwxxn ephliyaepngmitwxxnsiehluxngxxn twyawri twxxnwyaerk Crawlers ekhluxnthiid mikarlxkkhrab 3 4 khrngtwetmwy ephsemiy milksnalatwkhxnkhangaebn bnhlngaeladankhangmikhnpkkhlummak chnidwangikhcasrangthungikhiwitthxng milksnaepnesniykhlaysalihumiwxikchnhnung swnchnidxxklukepntwlatwpxm klmri swnhlngaeladankhangmiaepngekaa ephsphu mipik 1 khu lksnakhlayaetnhruxaemlnghwi khnadelkkwaephsemiykardarngchiwit dudkinnaeliyngcakphuch ephliyaepngmkxyurwmknepnklum pktithngtwxxnaelatwetmwy samarthekhluxnihwidbang aetcaklksnakarkinaelakarthalayphuch cungmkehnxyuningimkhxyekhluxnthi 3 wngcrchiwit aekikhtwemiykhxngephliyaepngkhxngtnsmsamarthxxkikhidpraman 600 fxng sungcathukwanginthungkhlumikh ikhcafkxxkmaphayin 10 wnepntwnimphtwelk sungcaekhluxnipmabntnimaelatamhaaehlngxahar mnsamarthaephrphnthuidmaksungsud 6 khrngtxpinisy aekikhephliyaepngsamarthkinphuchidhlakhlaychnid cungthaihphuchhyudkarecriyetibot thaihibimphidruphruxrwng thaihibehluxng aelainbangkhrngxacthaihtnimtayid odythiephliyaepngphlitnahwancanwnmaksungcaichekhluxbthitnimaelaphunphiwodyrxbdwychnthiehniywskul aekikhAcaciacoccus Acinicoccus Acrochordonus Adelosoma Agastococcus Albertinia Allomyrmococcus Allotrionymus Amonostherium Anaparaputo Anisococcus Annulococcus Anthelococcus Antonina Antoninella Antoninoides Apodastococcus Artemicoccus Asaphococcus Asphodelococcus Asteliacoccus Atriplicicoccus Atrococcus Australicoccus Australiputo Balanococcus Bessenayla Bimillenia Birendracoccus Boninococcus Boreococcus Bouhelia Brasiliputo Brevennia Brevicoccus Callitricoccus Calyptococcus Cannococcus Capitisetella Cataenococcus Chaetococcus Chaetotrionymus Chileputo Chlorococcus Chnaurococcus Chorizococcus Chryseococcus Cintococcus Circaputo Cirnecoccus Clavicoccus Coccidohystrix Coccura Coleococcus Colombiacoccus Conicosoma Conulicoccus Coorongia Cormiococcus Criniticoccus Crisicoccus Crocydococcus Cryptoripersia Cucullococcus Cyperia Cypericoccus Cyphonococcus Dawa Delococcus Delottococcus Densispina Discococcus Distichlicoccus Diversicrus Drymococcus Dysmicoccus Eastia Ehrhornia Electromyrmococcus Epicoccus Erimococcus Eriocorys Erioides Erium Eucalyptococcus Eumirococcus Eumyrmococcus Eupeliococcus Euripersia Eurycoccus Exilipedronia Farinococcus Ferrisia Ferrisicoccus Fijicoccus Fonscolombia Formicococcus Gallulacoccus Geococcus Glycycnyza Gomezmenoricoccus Gouxia Greenoripersia Grewiacoccus Hadrococcus Heliococcus Heterococcopsis Heterococcus Heteroheliococcus Hippeococcus Hopefoldia Humococcus Hypogeococcus Iberococcus Idiococcus Indococcus Inopicoccus Ityococcus Kenmorea Kermicus Kiritshenkella Lachnodiella Lachnodiopsis Lacombia Laingiococcus Laminicoccus Lankacoccus Lantanacoccus Lenania Leptococcus Leptorhizoecus Liucoccus Lomatococcus Londiania Longicoccus Maconellicoccus Macrocepicoccus Maculicoccus Madacanthococcus Madagasia Madangiacoccus Madeurycoccus Malaicoccus Malekoccus Mammicoccus Marendellea Mascarenococcus Maskellococcus Mauricoccus Melanococcus Metadenopsis Metadenopus Miconicoccus Mirococcopsis Mirococcus Miscanthicoccus Misericoccus Mizococcus Mollicoccus Mombasinia Moystonia Mutabilicoccus Nairobia Natalensia Neochavesia Neoclavicoccus Neoripersia Neosimmondsia Neotrionymus Nesococcus Nesopedronia Nesticoccus Nipaecoccus Novonilacoccus Octococcus Odacoccus Ohiacoccus Oracella Orococcus Orstomicoccus Oxyacanthus Palaucoccus Palmicultor Paludicoccus Pandanicola Papuacoccus Paracoccus Paradiscococcus Paradoxococcus Paraferrisia Paramococcus Paramonostherium Paramyrmococcus Parapaludicoccus Parapedronia Paraputo Pararhodania Paratrionymus Parkermicus Paulianodes Pedrococcus Pedronia Peliococcopsis Peliococcus Pellizzaricoccus Penthococcus Peridiococcus Phenacoccus Phyllococcus Pilococcus Planococcoides Planococcus Pleistocerarius Plotococcus Poecilococcus Polystomophora Porisaccus Porococcus Prorhizoecus Prorsococcus Pseudantonina Pseudococcus Pseudorhizoecus Pseudorhodania Pseudoripersia Pseudotrionymus Puto Pygmaeococcus Quadrigallicoccus Rastrococcus Renicaula Rhizoecus Rhodania Ripersia Ritsemia Rosebankia Saccharicoccus Sarococcus Scaptococcus Seabrina Serrolecanium Seyneria Spartinacoccus Sphaerococcus Spilococcus Spinococcus Stachycoccus Stemmatomerinx Stipacoccus Strandanna Stricklandina Strombococcus Synacanthococcus Syrmococcus Tangicoccus Tasmanicoccus Telocorys Tibetococcus Tomentocera Trabutina Tridiscus Trimerococcus Trionymus Trochiscococcus Turbinococcus Tylococcus Tympanococcus Ventrispina Villosicoccus Volvicoccus Vryburgia Xenococcus Yudnapinnaephliyaepngkbkarprbtw aekikhephliyaepngsamarthecriyetibotiddiinsphaphxakasrxnchun aelamkaephrrabadinchwngeduxnminakhm phvsphakhm insphawathiimehmaasm immiphuchxaharhlk ephliyaepngcaxasyxyuindintamrakphuch odymimdepnaemlngphaha odymdcaekhamakinsingkhbthaykhxngephliyaepngsungmilksnaehmuxnnahwan aelaepntwphaipbriewntnxunhruximchnidxun cungepnkaraephrkracayephliyaepngidxyangrwderw nxkcaknisingkhbthaykhxngephliyaepngyngepnaehlngxaharthidikhxngrada eracungphbesmxwaemuxidekidkarrabadkhxngephliyaepng inchwngewlatxmacaphbkarrabadkhxngorkhradatammadwythaihibkhxnglilawdimisidadang eprxaepuxnimswyngam 4 lksnakarrabadaelathalaykhxngephliyaepng aekikhlksnakarrabad aekikh primankarrabadkhxngephliyaepngcaphbmakinchwngvduaelnghruxfnthingepnewlanan emuxphuchfuntwinchwngvdufnprimankarrabadkhxngephliyaepngkcaldlng caknganwicythiphanma phbwa karrabadkhxngephliyaepngcaphbprimanmakinchwngvduaelng enuxngcakemuxkhwamtxngkarnakhxngphuchthukcakdlng ibthisrangkhuninchwngaelng phbwa epnibmikrabwnkaremtaoblisumsung thaihibmikhunkhathangxaharsungdwyehmaatxsphawakarecriyetibotkhxngephliyaepng hruxxacklawidwaephliyaepngchxbdudnaeliyngkhxngibthisranginchwngaelngmakkwainchwngfn nxkcakniaemlngthiepntwhaaelatwebiynmiprimanldlnginchwngnidwy ephliyaepngsamarthrabadcakphunthihnungipyngphunthixunidodykartidipkbkhn thxnphnthu kraaeslm aelamdepnphahnanatwephliyaepngipeliyngephuxrxdudkinmulhwan khwamesiyhaycakkarthalaykhxngephliyaepngtxphlphlitkhunxyukbrayakarecriyetibotkhxngmnsapahlng ody karrabadkhxngephliyaepnginchwngrayaaerkkhxngkarecriyetibot 1 4 eduxn casngphlkrathbtxphlphlitmakkwarayaklang 4 8 eduxn aelaplaykhxngkarecriyetibot 8 12 eduxn cakraynganthiphanma phbwa inpraethsokhlxmebiyphlphlitldlng 68 88 epxresnt swnpraethsinxfrikaphlphlitldlngmakthung 80 epxresnt karthalaykhxngephliyaepngdwykardudnaeliyngodyichswnkhxngpakthiepnthxyawdudkinnaeliyngcakswn k latn kh ib aela kh yxdkhxngmnsapahlng karthalaykhxngephliyaepng aekikh lksnakarthalaykhxngephliyaepng khux kardudnaeliyng odyichswnkhxngpakthiepnthxyaw dudkinnaeliyngcakswnyxd ib ta aelalatn bangkhrngxacphbkardudnaeliynginswnkhxngrakmnsapahlng ephliyaepngsamarthrabadaelathalaymnsapahlnginthukrayakarecriyetibot odyephliyaepngcakhbthaymulthimilksnakhxngehlwkhnehniywmirshwan thaihekidradapkkhlumpidbngbangswnkhxngibphuch miphlthaihkarsngekhraahaesngkhxngphuchldlng swninpakthiepnthxyawkhxngephliyaepngthikalngdudnaeliyng xacmihxromnerngkarecriyetibotthukkhbxxkmadwy thaihswnlatnthithukthalaydwyephliyaepng mikhxthimak mikaraetkibepnphumhnaepnkracuk odyswnkhxngyxd ib aelalatnxacaehngtayipinthisudhlngcakthukephliyaepngdudnaeliyng swnkhxnglatnthithukephliyaepngdudnaeliyng miphlthaihthxnphnthuaehngerw xayukarekbrksasn ody ihkhwamngxktaaelangxkchakwapktimak ephliyaepngbangchnidxacepnphahnakhxngechuxiwrsekhasuphuchkid 5 karpxngknaelakarkacd aekikhkarpxngknaelakacdephliyaepng ichnaphnihthuktwxyangaerng ephliyaepngkcahludcaktnphuch sahrbkarichsarekhmi samarthichmalaithxxn 0 5 kiolkrm hrux idxasinxn 200 krm hrux thriithxxn 200 krm phsmkbna 450 litr phnthuk 3 4 spdahtxkhrng ph capraman8 5 10 5chnidkhxngephliyaepngaemlngstruinmnsapahlnginithy aekikhephliyaepngxyuinwngs Pseudococcidae xndb Homoptera epnaemlngchnidpakdud piercing sucking type ephliyaepngchnidthisakhythiphbrabadthwipinphunthiplukmnsapahlngkhxngpraethsithy mi4 chnid dngnikhux 6 ruprangephliyaepngephsemiytwetmwythirabadinmnsapahlng 1 ephliyaepngtwlay striped mealybug ephliyaepngchnidniphbwarabadthwipinphunthiplukmn sapahlng thiphanmamiradbkhwamrunaerngimthungkhnesiyhaythangesrsthkic enuxngcakmikarkhwbkhumodystrutam thrrmchatixyangsmdulcaktwhaaelatwebiyn lksnaednkhxngephliyaepngchnidnikkhux latwkhlaylim phnnglatwsi ethaekhm miikhaepngpkkhlumlatw esnkhnkhunhnaaenn ody khnthipkkhlumlatwyawaelaepnengakhlayiyaekw miaethb dabnlatw 2 aethbchdecn thiplaythxngmihang khlayesnaepng 2 esnyawkhrunghnungkhxngkhwamyawlatw2 ephliyaepngsiekhiyw Madeira mealybug ephliyaepngchnidniphbwarabadechphaabangthxngthiinphunthipluk mnsapahlng lksnaednkhxngephliyaepngchnidnikkhux latwrupikh phnnglatwsiekhiywxmehluxng miikhaepng sikhawpk khlumlatw dankhanglatwmiesnaepngsn esnaepngthiplayswnthxngyawkwaesnaepngdankhanglatw3 ephliyaepngsichmphu pink mealybug ephliyaepngchnidniphbwarabadodythwipinphunthiplukmnsapahlng inpi ph s 2551 mikarrabadkhxngephliyaepngchnidnixyangrunaerng miphlesiyhaythangesrsthkicinthukphakh khxngphunthiplukmnsapahlng lksnaednkhxngephliyaepngchnidnikkhux latwrupikh phnnglatwsichmphu miikhaepngsikhaw pkkhlumlatw dankhanglatwmiesnaepngsnhruxxacimpraktihehnely esnaepngthiplayswnthxngkhxnkhangsn chiphckrkhxngephliyaepngichewlaodyechliy 60 wn tngaetwangikhinthungtngaet 50 600 fxng fkepntwxxn cnklayepnephliyaepngtwetmwyodytwetmwyephsemiyimmipikmicanwnmakkwatwetmwyephsphuthimipiksamarthbinid 4 ephliyaepngaeckhebiydely Jack Beardsley mealybug ephliyaepngchnidniphbwarabadodythwipin phunthiplukmnsapahlng lksnaednkhxngephliyaepngchnidnikkhux latwrupikhkhxnkhangaebn phnnglatwsiethaxmchmphu miikhaepngsikhawpkkhlumlatw dankhanglatwmiesnaepngeriyngkncanwnmak esnaepngthiplayswnthxngyawkwaesn aepngdankhanglatwchiwaelaniewswithyakhxngephliyaepng aekikhephliyaepngephsemiyetmwysamarthkhyayphnthuid ody imtxngphsmphnthucakephsphu mithngsamarthxxklukepntw aelaxxklukepnikhaelwfkepntwxxnid aetswnihyxxklukepnikh ody wangikhepnemd ewlawangikhcasrangthungikhiwitthxngmilksnaepniykhlaysalihumikhiwxikchnhnung mikhnadkwang 0 20 milliemtr yaw 0 40 milliemtr thungikhmicanwnikh tngaet 50 600 fxng ichewlawangikh 7 wn ikh milksnaepnemdediyw siehluxngxxn ruprangyawri swntwxxnwyaerkthifkxxkcakikh misiehluxngxxn latwyawri samarthekhluxnthiid hlngcaknnlxkkhrab 3 4 khrng rayatwxxnichewla 18 59 wn twxxnmikhnadkwang 1 00 milliemtr yaw 2 09 milliemtr ody twxxnerimmihang samarthsrangaepngaelaikhaepngsikhawhxhumrxblatwid sahrbtwemiyetmwy milksnatwkhxnkhangaebn bnhlngaelarxblatwmiikhaepngpkkhlummak mikhnadkwang 1 83 milliemtr yaw 3 03 milliemtr aelahangyaw 1 57 milliemtr twemiyetmwyxayupraman 10 wn samarthwangikhhruxxxklukid swntwphuetmwymipikbinidaelahnwdyaw khnadkwang 0 45 milliemtr yaw 1 35 milliemtr pikyaw 1 57 milliemtr ephliyaepngbangchnidethannthiikhphthnaepntwetmwyephsphu rwmchiphckrephliyaepng tngaet 35 92 wn 7 xangxing aekikh Pseudococcidae Heymons 1915 rabbkhxmulkarcaaenkphnthuaebbburnakar Encyclopedia of Life http forecast doae go th web 2011 06 30 07 05 57 340 2011 06 30 07 58 40 1247 2011 07 04 01 51 57 html http www sotus co th index php hl th amp p 340 http www thaitapiocastarch org article20 th asp http www tapiocathai org Articles Year53 disaster Dr opas 20 pdf http www thaitapiocastarch org article20 th aspekhathungcak https th wikipedia org w index php title ephliyaepng amp oldid 8899441, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม